5
Module 1 – Introduction to Humanitarian Reform and CCCM Cluster 1. คําจํากัดความ ระบบโครงสรางการประสานงานเฉพาะดานได ถูกคณะทํางานระหวางองคการ (Inter-Agency Standing Committee) นํามาใช ในป 2548 เพื่อใหมีโครงสรางผูนําและการรับผิดชอบที่ชัดเจน เพิ่มศักยภาพในการใหความ ชวยเหลือ การประสานงาน และ การทํางานรวมกัน เปนที่ยอมรับกันวาการบริหารจัดการที่อยูอาศัยเปนเรื่องสําคัญในทุกเหตุการณฉุกเฉิน การกอตั้ง กลุมประสานงานการบริหาร จัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว’ (Camp Coordination Camp Management Cluster หรือ CCCM Cluster) จึงเปนปจจัยสําคัญตอ การดูแลคุณภาพชีวิตในการอยูรวมกัน และการหาทางออกอยางยั่งยืนใหแก กลุมคนที่มีความจําเปนตองโยกยายถิ่นที่อยูอาศัย กลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวระดับโลกมี IOM เปนผูนําในกรณีภัยพิบัติทางธรรมชาติ และ UNHCR ในเหตุการความขัดแย โดยแบงระดับการดูแลออกเปนสวนตางๆ ดังนีโลก - พัฒนานโยบาย รวบรวมความรู มาตรฐาน และสนับสนุนการทํางานระดับประเทศ ประเทศ - ผลักดันใหเกิดการพัฒนากรอบนโยบายและแผนการทํางานรวมกัน ทองถิ่น - ประสานงานระหวางศูนยตางๆ ภายในศูนย/คาย - บริหารจัดการภายในศู นยหรือคายอพยพ จุดประสงคหลักของกลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวคือการปรับปรุงสภาพความเปนอยูของ กลุมคนที่มีความจําเปนตองโยกยายจากถิ่นที่อยูอาศัยมาอยูรวมกันในพื้นที่พักพิงชั่วคราว และเนนไปที่การหาทาง ออกอยางยั่งยืนที่จะนําไปสูการปดตัวลงของศูนย ขอบเขตการทํางานของกลุมประสานงานนี้ครอบคลุมที่อยูอาศัยชั่วคราวสวนรวมทุกประเภท ไมวาจะเปนคายที่ออก แบบมาโดยเฉพาะ คายที่จัดตั้งขึ้นมาเองหรือศูนยพักพิงชั่วคราว แตไมรวมการเขาพัก กับญาติหรือเพื่อนเปนการ สวนตัว การตั้งศูนยพักพิงชั่วคราวนั้นถือเปนทางเลือกสุดทาย เมื่อไมมีทางออกอื่นแลวจริงๆ กลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว

Module 1 - Introduction to HR and CCCM HO_TH

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Module 1 - Introduction to HR and CCCM HO_TH

Module 1 – Introduction to Humanitarian Reform and CCCM Cluster

1. คําจํากัดความ

ระบบโครงสรางการประสานงานเฉพาะดานไดถูกคณะทํางานระหวางองคการ (Inter-Agency Standing Committee) นํามาใช ในป 2548 เพื่อใหมีโครงสรางผูนําและการรับผิดชอบที่ชัดเจน เพิ่มศักยภาพในการใหความ ชวยเหลือ การประสานงาน และ การทํางานรวมกัน เปนที่ยอมรับกันวาการบริหารจัดการที่อยูอาศัยเปนเรื่องสําคัญในทุกเหตุการณฉุกเฉิน การกอตั้ง ’กลุมประสานงานการบริหาร จัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว’ (Camp Coordination Camp Management Cluster หรือ CCCM Cluster) จึงเปนปจจัยสําคัญตอ การดูแลคุณภาพชีวิตในการอยูรวมกัน และการหาทางออกอยางยั่งยืนใหแก กลุมคนที่มีความจําเปนตองโยกยายถิ่นที่อยูอาศัย กลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวระดับโลกมี IOM เปนผูนําในกรณีภัยพิบัติทางธรรมชาติ และ UNHCR ในเหตุการความขัดแยง โดยแบงระดับการดูแลออกเปนสวนตางๆ ดังนี ้• โลก - พัฒนานโยบาย รวบรวมความรู มาตรฐาน และสนับสนุนการทํางานระดับประเทศ • ประเทศ - ผลักดันใหเกิดการพัฒนากรอบนโยบายและแผนการทํางานรวมกัน • ทองถิ่น - ประสานงานระหวางศูนยตางๆ • ภายในศูนย/คาย - บริหารจัดการภายในศูนยหรือคายอพยพ

จุดประสงคหลักของกลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวคือการปรับปรุงสภาพความเปนอยูของ กลุมคนที่มีความจําเปนตองโยกยายจากถิ่นที่อยูอาศัยมาอยูรวมกันในพื้นที่พักพิงชั่วคราว และเนนไปที่การหาทาง ออกอยางยั่งยืนที่จะนําไปสูการปดตัวลงของศูนย  ขอบเขตการทํางานของกลุมประสานงานนี้ครอบคลุมที่อยูอาศัยชั่วคราวสวนรวมทุกประเภท ไมวาจะเปนคายที่ออก แบบมาโดยเฉพาะ คายที่จัดตั้งขึ้นมาเองหรือศูนยพักพิงชั่วคราว แตไมรวมการเขาพัก กับญาติหรือเพื่อนเปนการ สวนตัว การตั้งศูนยพักพิงชั่วคราวนั้นถือเปนทางเลือกสุดทาย เมื่อไมมีทางออกอื่นแลวจริงๆ              การทํางานของ CCCM ครอบคลุมที่อยูอาศัยชั่วคราวสวนรวมทุกประเภท ไมวาจะเปนคายที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ คายที่จัดตั้งขึ้นมาเองหรือศูนยพักพิงชั่วคราว ,   but   does   not   include   host   families.   It   should   be   remembered   that   camps   and   communal  settlements  are  temporary  sites  that  should  be  established  only  as  a  last  resort.                    

กลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว

Page 2: Module 1 - Introduction to HR and CCCM HO_TH

Module 1 – Introduction to Humanitarian Reform and CCCM Cluster

และมีการตกลงหนาที่ความรับผิดชอบดังนี ้ กองอำนวยการกลาง (CA) กองอํานวยการกลางศูนยพักพิงชั่วคราวเปนบทบาทของภาครัฐรัฐบาลเปนผูรับผิดชอบหลักในกรณีที่เกิดการพลัดถิ่นภายใน ประเทศและการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับศูนยพักพิงชั่วคราวทั้งหมดในการใหความชวยเหลือและการใหความคุมครองสิทธิแกผูพลัดถิ่น หนาที่หลักของกองอํานวยการกลางไดแก:

• สรางและสงเสริมความปลอดภัยสําหรับศูนยพักพิงชั่วคราว

• ปกปองสิทธิมนุษยชนของผูพลัดถิ่นในประเทศ ปองกันการไลที่หรือการโยกยายซ้ําซอน

• อํานวยความสะดวกในการเขาสูศูนยพกัพิงชั่วคราวสําหรับการเขาใหความชวยเหลือ

• กําหนด เปดและปดศูนยพักพิงชั่วคราว และปกปองสิทธิการครอบครองอาคารหรือพื้นที่ในระยะเวลาที่จําเปน

• ออกเอกสารตางๆ ใหกับผูผลัดถิ่นในประเทศเมื่อจําเปน (เชน สูติบัตร บัตรประชาชน ฯลฯ) ฝายประสานงานกลาง (CC) ฝายประสานงานกลางมีหนาที่สนับสนุนการรางยุทธศาสตรทางออกสําหรับศูนยพักพิงชั่วคราว และผลักดันใหมีพื้นที่ที่พอเพียง สําหรับการใหความชวยเหลือและปกปองคุมครอง

• สงเสริมการมีสวนรวมของทุกฝายในตลอดระยะเวลาการทํางานของศูนย

• ใหความสนับสนุนหนวยงานภาครัฐ และสงเสริมใหรัฐเขามารับผิดชอบในนโยบายการใหความชวยเหลือและความคุมครอง ตอผูพักพิง

• คนหาและกําหนดทีมงานหรือองคกรที่จะเขามาทําหนาที่ผูจัดการศูนย ตรวจสอบการทํางานและการใหความชวยเหลือ

• จดฝกอบรมและใหคําแนะนําสําหรับทุกองคกรหรือหนวยงาน

• จัดตั้งและดูแลระบบสํารวจ ตรวจสอบ และจัดการขอมูล รวมทั้งเผยแพรขอมูลในระดับรวมเพื่อที่จะวิเคราะหสิ่งที่ขาดเหลือ และพื้นที่ทีไดความชวยเหลือมากเกินความจําเปน

ผูจัดการ (CM) ผูจัดการศูนยหรือคายมักเปนองคกรอิสระในประเทศหรือระหวางประเทศ การบริหารจดการภายในของที่อยูอาศัยชั่วคราวจะเนนไปที่การประสานงานระหวางผูที่เขามาใหความชวยเหลือ การจัดตั้งระบบปกครองภายในศูนย การดูแลรักษาโครงสรางพื้นฐาน การจัดเก็บและเผยแพรขอมูล การใหบริการสวัสดิการ และการตรวจสอบการใหความชวยเหลืออื่นๆ ผูที่เขามาทําหนาที่นี้จะตอง

• สนับสนุนฝายประสานงานกลางในการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วัดที่เหมาะสม

• เปนตัวแทนของทุกฝายในศูนยเพื่อประสานงานกับหนวยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่

• ประสานงานการใหความชวยเหลือภายในศูนยดวยการเก็บและวิเคราะหขอมูลที่จะชวยในการตัดสินใจของแตละฝาย

• และสงตอขอมูลไปยังฝายประสานงานกลาง หรือระบบขอมูลที่กลุมประสานงานใช

2. หลักการปฏิบัติ

ปจจัยสําคัญในการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวคือ

• อํานวยความสะดวกในการเขาสูพื้นที่พักพิงชั่วคราวเพื่อการใหความชวยเหลือ

• จัดตั้งระบบประสานการใหความชวยเหลือที่มีประสิทธิภาพตอการอยูรวมกันในศูนยหรือคายพักพิง

• วิเคราะหหาสิ่งที่ขาดเหลือและความตองการทั้งในดานความชวยเหลือและการใหความปกปองคุมครอง

• ผูรวมทํางานไดรับขอมูลอยางมีระบบ ทั้งขอมูลดานผูพักพิง (แยกตามเพศและอายุ) ดานความชวยเหลือที่ผานมาและดาน สิ่งที่ขาดแคลน

• ผลักดนัใหการใหความชวยเหลือเปนไปอยางทั่วถึงและเทาเทียม ตามแนวนโยบายและมาตรฐาน

Page 3: Module 1 - Introduction to HR and CCCM HO_TH

Module 1 – Introduction to Humanitarian Reform and CCCM Cluster

• ผลักดันใหผูพักพิงไดเขามามีสวนรวมในทุกๆ ดานของการดําเนินชีวิตในศูนย

• ผลักดันใหมีนโยบายรวมเพื่อการตอบสนองความตองการของที่พักพิงชั่วคราวทั้งหมด

• เชื่อมโยกความชวยเหลือในที่พกัพิงเขากับนโยบายการยายกลับถิ่นที่อยูอาศัยเมื่อเปนไปไดและการหาทางออกอยางยั่งยืน

• ผลักดันใหมีการพิจรณาปจจัยรวมในทุกๆการตัดสินใจ เชน สิทธิ สิ่งแวดลอม อายุ เพศ และความหลากหลายของกลุมคน ในที่พักพิง 3. ยุทธศาสตรและเปาหมาย

จุดประสงคหลักของกลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวคือการปรับปรุงสภาพความเปนอยูของกลุมคนที่มี ความจําเปนตองโยกยายจากถิ่นที่อยูอาศัยมาอยูรวมกันในพื้นที่พักพิงชั่วคราว และเนนไปที่การหาทางออกอยางยั่งยืนที่จะนํา ไปสูการปดตัวลงของศูนย เพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายและจุดประสงคที่ตั้งไว กลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวใหความสําคัญกับการให ความสนับสนุนทีมปฏิบัติงานในพื้นที่ การพัฒนาเครื่องมือ มาตรฐานและแนวทางที่เหมาะสม และการสรางและพัฒนาพันธมิตร ในทุกพื้นที่การทํางาน

! การสนับสนุนทีมงานในพื้นที่

กลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวใหความสนับสนุนตอทีมงานในพื้นที่ดวยการ

• ขับเคลื่อนและสงผูเชียวชาญลงพื้นที่ในกรณีฉุกเฉิน

• ใหคําแนะนําและแนวทางเทคนิคตอกลุมประสานงานภายในประเทศ

• สงผูเชี่ยวชาญเขาประเมิณความตองการทางดานเทคนิคในระยะเริ่มตน

• ดูแลทะเบียนรายชื่อผูฝกและจัดฝกอบรมการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ

! แนวทาง เครื่องมือและมาตรฐาน

การพัฒนาแนวทางและเครื่องมือเปนไปอยางตอเนื่องเพื่อตอบสนองความตองการของผูปฏิบัติการในพื้นที ่

ชุดแนวทางการบริหารจัดการที่อยูอาศัยไดมีการเผยแพรอยางกวางขวางทั้งในภาษาอังกฤษ อาราบิค ฝรั่งเศส และภาษา เสปน รวมทั้งฉบับแปลอยางไมเปนทางการในภาษาเนปาลและทามิล (ศรีลังกา) แนวทางตางๆ ที่กําลังไดรับการพัฒนา รวมไปถึง

• แนวทางการปดที่อยูอาศัยชั่วคราว

• แนวทางการบริหารจัดการศูนยพักพิงชั่วคราว

• รวมแมแบบการทํางานที่ดี

• เครื่องมือการประเมิณความตองการในที่อยูอาศัยชั่วคราว

• คูมือการเพิ่มศักยภาพภายในประเทศ

• ตารางสรุปความสัมพันธในหนาที่และความรับผิดชอบกับกลุมประสานงานดานอื่นๆ

Page 4: Module 1 - Introduction to HR and CCCM HO_TH

Module 1 – Introduction to Humanitarian Reform and CCCM Cluster

! การพัฒนาศักยภาพ

คณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อการฝกอบรม ซึ่งประกอบไปดวย IOM UNHCR และ NRC ไดรวมกันพัฒนาคูมือการฝกอบรม เพื่อชวยใหผูปฏิบัติการในพื้นที่สามารถสนับสนุนการสงเสริมศักยภาพในการเตรียมพรอม และเพิ่มศักยภาพการตอบรับ ตามแผนเผชิญภัยในแตละประเทศ ทะเบียนผูฝกอบรมขณะนี้มี 45 คน และสามารถจดทําการฝกอบรมไดทั้งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส อาราบิค และภาษาสเปน กลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวไดมีการพัฒนาหลักสูตรการอบรมขึ้นมา 3 หลักสูตร 1. การประสานงานที่อยูอาศัยชั่วคราว สําหรับองคกรหรือหนวยงานที่จะทําหนาที่ฝายประสานงานกลาง เพื่อเสริมสรางความรู ความเปนผูนํา และทักษะในการ ประสานงาน 2. การบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว สําหรับสมาชิกกลุมประสานงานที่อยูอาศัยชั่วคราว (รวมทั้งภาครัฐ) ที่ทํางานในที่พักพิงรวม เพื่อสงเสริมความเขาใจรวม ในหนาที่และความรับผิดชอบ มีการตกลงในโครงสรางการประสานงานที่มปีระสิทธิภาพ พิจรณาถึงปจจัยสําคัญในบริบทของ พื้นที่ทํางาน และการทําความเขาใจปญหาดานเทคนิคที่อาจเกิดขึ้น 3. การพัฒนาผูฝกอบรมในพื้นที่ สําหรับพนักงานและเจาหนาที่ในพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยพิบัติซ้ําซอน และมีความตองการในการเสริมสรางศักยภาพใน ประเทศ

! แนวรวมในการทํางาน

UNHCR และ IOM เปนผูนํารวมกันในกลุมประสานงานที่อยูอาศัยชั่วคราว โดยมีสมาชิกอื่นในกลุมดังนี ้

• CARE International

• Danish Refugee Council (DRC)

• Norwegian Refugee Council (NRC)

• International Rescue Committee (IRC)

• Lutheran World Federation (LWF)

• Shelter Centre

• OCHA

• Catholic Relief Service

กลุมประสานงานที่อยูอาศัยชั่วคราวมุงเนนที่จะสรางแนวรวมในการทํางานที่เขมแข็ง และมีสัญญาขอตกลงรวมกับ NRC DRC และ Shelter Centre สําหรับการสงผูเชี่ยวชาญเฉพาะไปสนับสนุนทีมงานในพื้นที่ การพัฒนาแนวทางและเครื่องมอื ตางๆ เปนผลมาจากการทํางานรวมกับสมาชิกทั้งหมด

Page 5: Module 1 - Introduction to HR and CCCM HO_TH

Module 1 – Introduction to Humanitarian Reform and CCCM Cluster

4. ขอมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว

แนวทางอื่นๆ ในการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวสามารถหาไดที่

• One Response http://oneresponse.info

• Camp Management Toolkit, 2008 (ชุดแนวทางการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว)

• IDP Key Resources CD-ROM, 2009 (ซีดีรวมเอกสารสําคัญที่เกี่ยวของกับผูพลัดถิ่นภายในประเทศ)

• CCCM Brief (บทสรุปการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว)

• CCCM section in the IASC Gender Handbook, 2006 (ภายในคูมือการดําเนินการดานเพศภาวะ)

• CCCM chapter in the IDP Protection Handbook, UNHCR (ภายในคูมือการคุมครองสิทธิ)

• CCCM Definitions (คําจํากัดความของการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราว) 5. ชองทางการติดตอกลุมประสานงานการบริหารจัดการที่อยูอาศัยชั่วคราวระดับโลก

Nuno Nunes CCCM Global Cluster Coordinator Preparedness and Response Division IOM Tel: +41 22 717 9459 Email: [email protected]

Kimberly Roberson Chief of Section Field Information and Coordination Support (FICSS) DPSM UNHCR Tel: +41 22 739 7408 Email: [email protected]