35
ระบบเครือข่าย และการสื่อสาร Network Computer And Communication

Network

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Network

ระบบเครือข่าย และการสื่อสาร

Network Computer And Communication

Page 2: Network

ระบบเครือข่าย

คอมพิวเตอร์สามารถน ามาประยุกต์ใช้งานด้านการ สื่อสารระหว่างกันได้ เช่นเดียวกันกับเครื่องมืออื่นเช่น โทรศัพท์ มือถือ เพจเจอร์ เป็นต้น

เราสามารถน าคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกัน เพื่อสามารถใช้สื่อสารระหว่างกันได้ และยังได้รับประโยชน์อีกมากมาย

Page 3: Network

การสื่อสารข้อมูลเป็นการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากต้นทาง

ไปยังปลายทางผ่านอุปกรณ์เชื่อมโยง (Channel) ซึ่งอาจ

เป็นสายเคเบิลหรืออุปกรณ์ไร้สาย

การสื่อสารข้อมูล (Communication)

Sending device

Communication Device Communication Device

Receiving device Communication Channel

Page 4: Network

การสื่อสารข้อมูล

ข้อมูล/ข่าวสาร (data/message) คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่ต้องการส่งไปยังผู้รับ โดยข้อมูล/ข่าวสาร อาจประกอบด้วย ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง วีดิทัศน์ หรือสื่อประสม ผู้ส่ง (sender) คือ คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวีดิทัศน์ เป็นต้น

ผู้รับ (receiver) คือ คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้รับข้อมูล/ข่าวสารที่ทางผู้ส่งข้อมูลส่งให้ ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เป็นต้น

สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmission media) คือ สิ่งที่ท าหน้าที่ในการรับส่งข้อมูล/ข่าวสารไปยังจุดหมายปลายทาง โดยสื่อกลางในการส่งข้อมูลจะมีทั้งแบบมีสาย เช่น สายเคเบิล สายยูทีพี สายไฟเบอร์ออพติก และสื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เป็นต้น

Page 5: Network

สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. สัญญาณแอนะล็อค (analog signal) เป็นสัญญาณที่มีขนาด แอมพลิจูด (amplitude) ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและเป็นค่าต่อเนื่อง เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เป็นต้น

2. สัญญาณดิจิทัล (digital signal) เป็นสัญญาณที่ไม่มีความต่อเน่ือง ที่เรียกว่า “ดิสครีต” (discrete) สัญญาณดิจิทัลถูกแทนด้วยระดับ

แรงดันไฟฟ้า 2 ระดับเท่านั้น โดยแสดงสถานะเป็น “0” และ “1” ซึ่ง ตรงกับรหัสตัวเลขฐานสอง

Page 6: Network

การถ่ายโอนข้อมูล

การถ่ายโอนข้อมูลเป็นการส่งสัญญาณออกจากอุปกรณ์ส่ง ไปยังอุปกรณ์รับ โดยจ าแนกได้ 2 แบบ คือ 1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน เป็นการส่งข้อมูลออกมาทีละหลายบิต

พร้อมกันจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ผ่านสื่อกลางน าสัญญาณที่มีช่องทางส่งข้อมูลหลายช่องทาง โดยทั่วไปจะเป็นสายหลายๆ เส้น ที่มีจ านวนสายส่งสัญญาณเท่ากับจ านวนบิตที่ต้องการส่งในแต่ละครั้ง

2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการสื่อกลางส าหรับการสื่อสารเพียงช่องทางเดียวหรือเพียงคู่สายเดียว ค่าใช้จ่ายในด้านของสายสัญญาณจะถูกกว่าแบบขนานส าหรับการส่งระยะทางไกลๆ

Page 7: Network

การถ่ายโอนข้อมูล

Parallel Port หรือพอร์ตขนาน Serial Port หรือพอร์ตอนุกรม

Page 8: Network

รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล

ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลแบบขนานหรืออนุกรมสามารถแบ่งได้ เป็น 3 แบบ ดังนี้ 1. การสื่อสารทางเดียว (simplex transmission) ข้อมูลสามารถส่งได้ทางเดียว โดยแต่ละฝ่ายจะท าหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เป็นผู้รับหรือผู้ส่ง 2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex transmission) สามารถส่งข้อมูลได้ทั้งสองฝ่าย แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้ 3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex transmission) สามารถส่งข้อมูลได้สองทางโดยที่ผูร้ับและผู้ส่งสามารถรับส่งข้อมลูได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์คู่สนทนาคยุโต้ตอบได้ในเวลาเดียวกัน

Page 9: Network

การสื่อสารข้อมูล ก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้

1.ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล 2.ความถูกต้องของข้อมูล 3.ความเร็วของการรับส่งข้อมูล 4.การประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล 5.ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร 6.ความสะดวกในการประสานงาน

7.ขยายบริการองค์กร 8.การสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย

Page 10: Network

ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบเครือข่าย

การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เช่น การใช ้

เครื่องพิมพ,์ scanner ร่วมกัน

แทนที่จะต้องซื้ออุปกรณ์หลายๆ ตัว

การสื่อสารได้ทั้งภาพและเสียง

เพื่อความสะดวก ปลอดภัย ดูแล

จัดการข้อมูล มักจะเก็บข้อมูลไว้ที่

ศูนย์กลาง (Server) หากใคร

ต้องการใช้ข้อมูลก็สามารถใช้ข้อมูล

จาก ศูนย์กลาง (Server) ได้

ประโยชน์

ใช้สื่อสารระหว่างบุคคล

แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เช่น

การส่งจดหมายอิเล็คทรอนิกส์

การประชุมระยะไกล เป็นต้น

Page 11: Network

ชนิดของระบบเครือข่าย

ระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็น 4 ชนิด

LAN MAN WAN Internet

Metropolitan

Area Network

Wide Area

Network

Internetworking

Local Area

Network

Page 12: Network

LAN (Local Area Network)

เป็นการน าคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน ในระยะใกล้ๆ เช่น ภายในห้องเดียวกัน ชั้นเดียวกัน หรือ อาคารเดียวกัน มีระยะไม่เกิน 2-3 กิโลเมตร

Page 13: Network

MAN (Metropolitan Area Network)

หรือเครือข่ายในเขตเมือง เป็นการน าคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน ซึ่งอาจจะเป็นการน าเอา LAN มาเชื่อมต่อกันในระยะกลาง ครอบคลุมพื้นที่ ในอ าเภอ หรือในจังหวัดเดียวกัน

MAN

Page 14: Network

WAN (Wide Area Network)

หรือเครือข่ายวงกว้าง เป็นการน าคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันซึ่งอาจจะเป็นการน าเอา LAN หรือ MAN มาเชื่อมต่อกัน ครอบคลุมพื้นที่ในระยะไกลเช่น ระดับภูมิภาคหรือประเทศเดียวกัน

Page 15: Network

Internet (Internetworking)

เป็นระบบเครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงคอมพวิเตอร์ ซึ่งอาจจะเป็นการน าเอา

LAN MAN หรือ WAN มาเชื่อมต่อกันครอบคลุมพืน้ที่ทั่วโลก

Page 16: Network

• ข้อมูลบนระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งเป็นส่วนย่อย (Packet) แล้วส่งไปยังปลายทาง แล้วที่ปลายทางจะท าการรวม Packet ที่ได้รับมาประกอบรวมกันขึ้นมา

• การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ (ซึ่งอาจต่างชนิดกัน) สามารถเข้าใจกันได้ทุกเครื่อง โดยใช้ภาษาหรือกฎเดียวกันหมดเรียกว่า Protocol เช่น TCP/IP IPX/SPX และ NetBEUI

Page 17: Network

อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย

Page 18: Network

อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย

รีพีทเตอร์ (Repeater) ท าหน้าที่ทวนสัญญาณ คือช่วยขยายสัญญาณไฟฟ้าที่ ส่งบนสาย LAN ให้แรงขึ้นและจัดรูปสัญญาณที่เพี้ยนไปให้กลับเหมือนเดิม จากนั้นจึงค่อยส่งต่อไป

ฮับ (HUB)คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ HUBรับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับ HUB จะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะท าให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง HUBที่ใช้ในระบบ LAN ตามมาตรฐานอีเทอร์เน็ตแบบ 10Base-Tและ 100Base-T ก็จัดเป็นอุปกรณ์ที่ท างานในลักษณะเดียวกับรีพีตเตอร์ด้วย

Bridge: การเชื่อมโยงระบบเครือข่ายแบบเดียวกัน (ใช้โปรโตคอลชนิดเดียวกัน) เข้าด้วยกัน เช่น Lan กับ Lan

HUB

Page 19: Network

อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย Gateway : การเชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่างชนิดกัน (ใช้โปรโตคอลต่างชนิดกัน) เข้าด้วยกัน เช่น LAN กับ MAN, LAN กับ Internet

Router: ตัวก าหนดเส้นทางการรับ-ส่งข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลจากผู้ส่งถึงผู้รับ ได้เร็วและถูกต้อง

Page 20: Network

อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย

สวิตซ์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ท าหน้าที่ใน

เรเยอร์ที่ 2 และท าหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และท าให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยมเชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล

Page 21: Network

อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย

โมเดม เป็นอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ ให้สามารถส่งสัญญาณผ่านสายโทรศัพท์เพื่อติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้โมเดมจะมีทั้งชนิดเชื่อมต่อภายนอก (External Modem)

และชนิดที่เป็นการ์ดอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Modem)

โมเดม (Modem)

Page 22: Network

วิธีการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย (Network Topology)

เป็นรูปแบบการน าคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงกัน แต่ละแบบมีความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกัน

• BUS Topology (เครือข่ายแบบบัส)

• Star Topology (เครือข่ายแบบดาว)

• Ring Topology (เครือข่ายแบบวงแหวน)

• Mesh Topology (เครือข่ายแบบเมช)

หมายเหต ุ โหนด (Node) หมายถึง อุปกรณ์ที่น ามาเชื่อมต่อ ในระบบเครือข่าย อาจเป็น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์และอ่ืน เป็นต้น

Page 23: Network

การเชื่อมต่อแบบบัส (BUS) โหนดแต่ละตัวจะเชื่อมเข้ากับบัส

ข้อดี - สามารถเพิ่มหรือลดจ านวนโหนดได้โดยไม่กระทบระบบ

- ถ้ามีโหนดเสียจะไม่กระทบการท างานของระบบ

ข้อเสีย - อาจเกิดการชนกันของข้อมูล (Collision) ถ้ามีการส่งพร้อมกัน

โปรโตคอล CSMA/CD เช่น Ethernet 10Mbps , Fast Ehternet100Mbps, 1 Gbps

Page 24: Network

การเชื่อมต่อแบบรูปดาว (STAR)

จะมีคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางการเชื่อมโยงของการรับส่งข้อมูล

ข้อดี - ไม่มีการชนกันของข้อมูล โปรโตคอล ARCnet

- ถ้ามีโหนดเสียจะไม่กระทบการท างานของระบบ

• ความเร็ว 100 Mbps, สามารถใช้สื่อ Fiber-optic ได้

ข้อเสีย - ถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียท าให้ระบบเสีย

Page 25: Network

การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING) การเชื่อมโยงของโหนดเป็นวงกลม ไม่มีคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางของการ รับส่งข้อมูล และต้องท าในทิศทางเดียวกัน

ข้อดี - ไม่มีการชนกันของข้อมูล โปรโตคอล Token ring

• ความเร็วประมาณ 4-16 Mbps

ข้อเสีย - ถ้ามีโหนดเสียจะมีกระทบการท างานของระบบ

Page 26: Network

การเชื่อมต่อแบบเมช (MESH) เป็นการเชื่อมต่อท่ีมีความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากถ้ามีเส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ใดคู่หนึ่งขาดจากกัน การติดต่อสื่อสารระหว่างคู่นั้นยังสามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (router) จะท าการเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไปยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ การเชื่อมต่อแบบนี้มักนิยมสร้างบนเครือข่ายแบบไร้สาย

Page 27: Network

ข้อตกลงในการสื่อสาร (Protocol)

Ethernet ใช้ในการเชื่อมต่อแบบบัส ความเร็ว 10 Mbps ใช้สาย 10base-2 10base-5 10base-T หรือ UTP

Fast Ethernet ใช้ในการเชื่อมต่อแบบบัส ความเร็ว 100-1000 Mbps ใช้สาย 100base-T

Token Ring ความเร็ว 4-16 Mbps ข้อมูลไม่ชนกัน เนื่องจากส่งในทิศทางเดียว

ARC Net

Page 28: Network

อุปกรณ์การเชื่อมโยง (Network Media and Hardware)

ใช้เชื่อมโยงโหนดแต่ตวัเข้ากับระบบเครือข่าย

แบบใช้สาย

Twisted Pair, Coaxial Cable, Fiber Optic

แบบไร้สาย

Infrared light, Microwave, Satellite, Broadcast Radio,

Bluetooth, Cellular Radio

Page 29: Network

อุปกรณ์เชื่อมโยงแบบใช้สาย (Cable)

Page 30: Network

A) Twisted pair: เป็นสายทองแดงบิดเกลียวหุ้มด้วยฉนวน

• ปกติจะใช้ชนิดที่เรียกว่า UTP ซึ่งย่อมาจาก Unshielded twisted-pair

• Twisted-pair แบบที่มี Shield เรียกว่า STP

• ข้อดี คือราคาถูก หาง่าย เช่น สายโทรศัพท์, CAT 5

• ข้อเสีย คือสัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย ความเร็วประมาณ 10-1000 เมกะบิต

ต่อวินาที

หัว RJ-45

Page 31: Network

B) Coaxial: เป็นสายทองแดงหุ้มด้วยฉนวน

• อาจเรียกว่า Coax ตย. สาย Cable TV

• แบ่งเป็นแบบ Thick และ Thin

• ข้อด ีรับ-ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบแรกประมาณ 200 เมกะบิตต่อวินาท ี

• ปัจจุบันใช้น้อยลง เนื่องจากความก้าวหน้าของ UTP ที่สามารถในการส่งข้อมูลได้เร็ว มีราคาถูก จึงเป็นที่นิยมมากกว่า

Page 32: Network

C) Fiber optic: เป็นใยแก้วที่มีขนาดเล็กกว่าเส้นผมของมนุษย์

• ใช้แสงในการน าข้อมลูจากต้นทางไปยังปลายทาง

• ข้อมูลอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอล (Digital) เท่านั้น

• มี Bandwidth ในการส่งข้อมูลสูงมาก = 1300 Mbps

• ไม่มีปัญหาสัญญาณรบกวน

• ข้อเสีย คือราคาแพง และติดตั้งยาก เนื่องจากไม่สามารถงอตามมุมเวลา เดินสายได้ อย่างไรก็ตามปัจจุบันราคาเริ่มถูกลง

Page 33: Network

แบบไร้สาย Wireless Links

• เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสาร โดยไม่ต้องเชื่อมแต่ละจุดด้วยสายอีกต่อไป เพราะในหลายกรณีไม่สารถเชื่อมโยงด้วยสายได้ เช่น ระยะทางห่างไกลกันมาก

A) Microwave: รับส่งสัญญาณผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูง โดยต้องมีตัวเชื่อมสัญญาณ ทุกๆ 30 ไมล ์

B) Satellite: เป็นการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม จากต้นทางไปยังปลายทาง โดยดาวเทียมจะอยู่เหนือผิวโลก ประมาณ 22,300 ไมล ์

Page 34: Network

ข้อดี คือ ความยืดหยุ่นและเคล่ือนย้ายได้ง่าย

ข้อเสีย คือ ส่งข้อมูลได้ช้าและสัญณาณถูกรบกวนได้ง่าย

D) Bluetooth การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สาย

E) Cellular Radio

F) Infrared (IR) กรณีที่ระยะใกล้กันมากเช่น ห่างกันไม่เกิน 5 เมตร ใช้เทคโนโลยีของ คลื่นระยะสั้นหรือแสงอินฟาเรดเช่น เมาส์ไร้สาย ปากกาไร้สาย ปาล์ม มือถือ Notebook Lan

C) Broadcast Radio สื่อสารโดยใช้สัญณาณวิทยุ เช่นคลื่น AM, FM, CB

Page 35: Network

www.themegallery.com