53

New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Page 2: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม คือ การทองเที่ยวเพ่ือชมสิ่งที่แสดงความเปนวัฒนธรรม เชน ปราสาท พระราชวัง วัด โบราณสถาน โบราณวัตถุ ประเพณี วิถีการดําเนินชีวิต ศิลปะทุกแขนง และสิ่งตาง ๆ ที่แสดงถึงความเจริญรุงเรืองที่มีการพัฒนาใหเหมาะสมกับ สภาพแวดลอม การดําเนินชีวิตของบุคคลในแตละยุคสมัย ผูทองเที่ยวจะไดรับทราบประวัติความเปนมา ความเชื่อ มุมมองความคิด ความศรัทธา ความนิยมของบุคคลในอดีตที่ถายทอดมาถึงคนรุนปจจุบันผานสิ่งเหลาน้ี

( TKC:Thailand ศูนยกลางความรูแหงชาติ กระทรวงเทศโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร )

Page 3: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ประเทศในอนุภาคลุมแมนํ้าโขง มีสภาพภูมิศาสตรและแนวพรหมแดนที่ติดกัน มี 6 ประเทศ ประกอบดวย ประเทศไทย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สหภาพพมา สาธารณรัฐประชาชนจีน (มณฑลยูนาน) และราชอาณาจักรกัมพูชา โดยดินแดนเหลาน้ีเปนดินแดนที่เปนบอเกิดของวัฒนธรรมประเพณีที่มีความหลากหลายมีอิทธิพลและมีความผูกพันธตอผูคนในพ้ืนที่เปนอยางมาก เพราะมีแมนํ้าโขงแมนํ้าสายวัฒนธรรมไหลผาน จนเมื่อมีโครงการที่จะเชื่อมโยงพ้ืนที่ในอนุภาคลุมแมนํ้าโขงเกิดขึ้น สงผลใหเกิดการเชื่อมโยงเมืองตางๆเขาหากัน โดยเสนทาง East-West Economic Corridor เกิดขึ้นโดยผานเวียดนาม ลาว ไทย และ พมา จึงเกิดสะพานขามแมนํ้าโขงเกิดขึ้นบริเวณจังหวัดมุกดาหาร การเกิดเสนทางน้ีสงใหเกิดเสนทางการคาใหม ผานแหลงวัฒนธรรมตางๆ กอใหเกิดการทองเที่ยวในเชิงวัฒนธรรมเกิดขึ้น

Page 4: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

โครงการศูนยสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทยลาวเวียดนาม จึงเกิดขึ้นเพ่ือเปนโครงการที่ตอนรับและใหคําแนะนําในดานการทองเที่ยวและวัฒนธรรม ของไทย ลาว และเวียดนาม โดยจะเนนการทองเที่ยวในเชิงการอนุรักษวัฒนธรรม ทั้งน้ีเพราะการเปดเสนทางเชื่อมโยงน้ีเกิดขึ้นยังขาดสถานที่ในการใหขอมูล และจัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยว

Page 5: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ศูนยสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทยลาวเวียดนาม เปนโครงการที่รองรับนโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 10 ที่ใหความสําคัญดานการเสริมสรางทุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยังยืน โดยการนําการคาและการรวมทุนมาผสมผสานกับวัฒนธรรมและความเปนไทยเพื่อสรางมูลคาของการบริการ และการทองเที่ยว ผนวกกับการสงเสริมการทองเที่ยวของภาครัฐในนโยบายเที่ยวไทยครึกครื้นเศรษฐกิจไทยคึกคัก และนโยบายโครงการพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบบเบ็ดเสร็จ ซึ่งในปจจุบันการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกําลังไดรับความนิยม รวมทั้งเสนทาง East-West Economic Corridor ที่เกิดขึ้นชวยสงเสริมการทองเที่ยวเปนอยางดี และนโยบายของจังหวัดที่มุงเนน การไดประโยชนจากสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 2 ผนวกกับจังหวัดมุกดาหารมีศักยภาพในดานการทองเที่ยวในดานวัฒนธรรม โครงการศูนยสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอนุภาคไทยลาวเวียดนาม จึงสามารถตอบนโยบายรัฐ และความตองการตางๆที่เกิดขึ้นได เพราะศูนยวัฒนธรรมแหงนี้จะเปนตัวสงเสริมและเปนแหลงทองเที่ยวทางดานวัฒนธรรมแหงหนึ่งของภาคอีสานที่ทํารายไดกระจายไปสูทองถิ่น

Page 6: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ศูนยสงเสริมการทองเที่ยว

นโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับท่ี 10

นโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับท่ี 10

นโยบายเท่ียวไทยครึกครื้นเศรษฐกิจไทยคึกคัก

นโยบายเท่ียวไทยครึกครื้นเศรษฐกิจไทยคึกคัก

East-West Economic Corridor

East-West Economic Corridor

โครงการพัฒนาพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบบเบ็ดเสร็จ

นโยบายของจังหวัดนโยบายของจังหวัด

กลุมสนุก

Page 7: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ประกอบดวยจังหวัด นครพนม สกลนคร กาฬสินธุและมุกดาหาร เรียกวา กลุมสนุก วิสัยทัศนของกลุมสนุก“สะพาน การคา ทองเที่ยว สูอินโดจีน”ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด1.การคาชายแดนและความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน2.การพัฒนาการทองเที่ยว3.การพัฒนาการเกษตร4.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

Page 8: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

โครงการวางแผนพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จบริเวณพ้ืนที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดกําหนดบทบาทของแตละจังหวัด ในกลุมจังหวัดของกลุมสนุกคือ

จังหวัดนครพนม มีความเหมาะสมที่จะเปนศูนยกลางการผลิต/อุตสาหกรรม จังหวัดสกลนคร เหมาะสมที่จะเปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย จัดตั้งเปน

นครวิทยาศาสตรการเกษตร จังหวัดกาฬสินธุ มีความเหมาะสมที่จะเปน นครอุตสาหกรรมสีเขียว หรือศูนยแปรรูป

ผลผลิตการเกษตร จังหวัดมุกดาหาร เหมาะที่จะเปนศูนยกลางธุรกิจจัดจําหนายสินคาตางๆหรือ นคร

การคาชายแดน

Page 9: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

การคา-การลงทุนตามเสนทาง East-West Economic Corridor

9

ทาเรือดานัง

ทาเรือกรังทาเรือตันจุง เพเลพาส

ทาเรือระนอง

ทาเรือทวาย

ทาเรือเมาะลําไย

ทาเรือเกาะกระเอกรอก

แมสอด-เมียวดี

แดนสวรรค-ลาวบาว

มุกดาหาร-สะหวันนะเขต

Page 10: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Page 11: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Page 12: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Page 13: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Page 14: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Page 15: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

มีจํานวนเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง จากในป 2535 มีจํานวนประมาณ 100,000 คน เพ่ิมเปนจํานวน 1,736,787 คน ในป 2551 นักทองเที่ยวสวนใหญมาจากภูมิภาคเอเชียแปซิฟก โดยเฉพาะประเทศไทย (891,448 คน หรือรอยละ 50) เวียดนาม (351,384 คน) ลาว (44,326คน) จีน (105,852 คน) และจากภูมิภาคอื่น อาทิ สหรัฐอเมริกา (54,717 คน) และฝรั่งเศส (39,077 คน)

ที่มา : องคการการทองเที่ยวแหงชาติ สปป.ลาว, แผนกทองเที่ยวแขวงสะหวันนะเขต จําปาสัก และคํามวน

Page 16: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

สถิตินักทองเที่ยวสปป.ลาวจําแนกตามสัญชาติ

ไทยเวียดนามลาวจีนอเมริกาฝรั่งเศสอื่นๆ

50%

20.2%

6%3.1%

2% 16.9%

2.5 %

Page 17: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

1.เพ่ือเปนการสงเสริมการทองเที่ยวระหวาง 3 ชาติ และเปนศูนยกลางการบริการจากนักทองเที่ยวจากเวียดนามและลาว

2.เพ่ือเปนการอนุรักษไวซ่ึงศิลปวัฒนธรรมของไทย ลาว และเวียดนาม 3.เพ่ือรองรับเสนทาง east-west corridor ที่จะเปนเสนทางการคา การ

ทองเที่ยวที่สําคัญในอนาคต 4.เพ่ือเปนศูนยกลางขอมูลการทองเที่ยวและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม ในเสนทาง

east-west corridor ไทย ลาว เวียดนาม 5.เพ่ือเปนการสงเสริมความสัมพันธระหวางประเทศ ไทย ลาว เวียดนาม ทั้งในอดีต

ปจจุบัน และ อนาคต 6.เพ่ือสงเสริมรายไดจากการทองเที่ยวใหแกประชาชนในทองถิ่น

Page 18: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

โครงการศูนยสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอนุภาคไทยลาวเวียดนาม จะเปนศูนยกลางทางดานการสงเสริมการทองเที่ยวของไทย ลาว เวียดนามโดยจะครอบคลุมในดานวัฒนธรรม ของ 3 ประเทศ

1.ศึกษาการทองเที่ยว -สถานที่และขอมูลการทองเที่ยวของไทย ลาว เวียดนาม -เสนทางการทองเที่ยวไทย ลาว เวียดนาม -สถิตินักทองเที่ยวที่เขามาทองเที่ยว ไทย ลาว เวียดนาม2.ศึกษาวัฒนธรรม -ประเพณี ความเชื่อ ทองถิ่นของ ไทย ลาว เวียดนาม3. ศึกษาตัวงานสถาปตยกรรม -ตัวอยางโครงการ (case study)

4.ศึกษาโครงสรางและระบบอาคาร5.ศึกษารูปแบบการทํางานของกงสุล

Page 19: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

6.ศึกษารูปแบบการจัดการแสดง -เวที แสงสีเสียง7.ศึกษานโยบายการทองเที่ยว -นโยบายรัฐ -นโยบายภาค -นโยบายจังหวัด

กลุมเปาหมาย-นักทองเที่ยว ประเทศไทย ลาว เวียดนาม และประเทศอ่ืนๆ

-ประชาชนทั่วไปที่สนใจในวัฒนธรรม

Page 20: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ศูนยสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทยลาวเวียดนาม มีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงขอมูลแกนักทองเที่ยวและผูที่สนใจวัฒนธรรม ดังนั้นศูนยสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทยลาวเวียดนามจึงมีสวนครอบคลุมถึง

1.สวนสํานักงาน ประกอบดวย ฝายบริหาร ฝายธุรการ ฝายวิชาการ2.สวนจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบดวยสวนนิทรรศการดานวัฒนธรรมของ ไทย ลาว เวียดนาม3.สวนกิจกรรมการแสดง ประกอบดวยการแสดงของ ไทย ลาว เวียดนาม4.สวนใหขอมูลการทองเที่ยว จะใหขอมูลการทองเที่ยวของ ไทย ลาว เวียดนาม5.สวนของกงสุล จะมีของไทย ลาว เวียดนาม ใหบริการหนังสือเดินทางและการขออนุญาตเขาเมือง และใหบริการรับเรื่องรองทุกขจากประชาชนของตน

6.สวนบริการดานการทองเที่ยว จะครอบคลุมถึง การบริการรถเชา เรือลองแมน้ํา จุดบริการรูปถาย หองพัก รานอาหาร อินเตอรเน็ต รานขายของที่ระลึก ตํารวจทองเที่ยว ไกดนําเที่ยว หองประชุมสัมมนาสําหรับนักวิชาการและนักธุรกิจ

Page 21: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

1.สวนสํานักงาน -ฝายบริหาร ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ ของ ไทย ลาว เวียดนาม เลขานุการ -ฝายธุรการ ประชาสัมพันธ ใหขอมูลการทองเที่ยวรวมกันของทั้ง 3 ชาติ ทะเบียนและพัสดุ บัญชีการเงิน -ฝายวิชาการ หองประชุม/สัมมนา รวบรวมและจัดพิมพเอกสารการทองเที่ยว

Page 22: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

2.สวนกิจกรรมการแสดง -เวทีการแสดงวัฒนธรรมของทั้ง 3 ชาติ อาทิ ไทย หมอลํา เซิ้งกระติบขาว เซิ้งสวิง เซิ้งบองไฟ เซิ้งแหยไขมดแดง ฟอนภูไท รําลาวกระทบไม รําอาไย ลาว ละครหุนกระบองลาว ฟอนสาละวัน หมอลําลาว เซิ้งแคน ขับทุม ขับโสม ขับลื้อ เวียดนาม ละครหุนกระบอกน้ํา ระบําเวียดนาม ง้ิวเวียดนาม

Page 23: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

3. นิทรรศการ

-นิทรรศการถาวร ภายใน ไทย เดือนอาย บุญขาวกรรม เดือนยี่ บุญคูณลาน เดือนสาม บุญขาวจี่ เดือนสี่บุญ พระเวส เดือนหา บุญสงกรานต เดือนหก บุญบังไฟ เดือนเจ็ด บุญซําฮะ เดือนแปด บุญเขาพรรษา เดือนเกา บุญขาวประดับดิ เดือนสิบบุญ ขาวสาก เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา เดือนสิบสอง บุญกฐิน

เดือนอาย บุญขาวกรรม เดือนยี่ บุญคูณลาน เดือนสาม บุญขาวจี่ เดือนสี่บุญ พระเวส เดือนหา บุญสงกรานต เดือนหก บุญบังไฟ เดือนเจ็ด บุญซําฮะ เดือนแปด บุญเขาพรรษา เดือนเกา บุญขาวประดับดิ เดือนสิบบุญ ขาวสากเดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา เดือนสิบสอง บุญกฐิน

ลาว เวียดนามกาเว การตอนรับแขกดวยการลงเรือลอยลําสําราญ เมืองเวการลอยกระทงสะเดาะเคาะห เมืองเววัน Keo Pagoda วันแสวงบุญ เมืองเวเทศกาล เว ฉลองเมืองโบราณ เมืองเวเทศกาลคืนพระจันทรเต็มดวง ฮอยอัน เมืองกวงนัมพิธีลางอนุสาวรียเทพี เมืองเวเทศกาลเต็ด แขงทําอาหารบนเรือ ภาคกลางของเวียดนาม

Page 24: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

-นิทรรศการถาวรภายนอก หมูบานวัฒนธรรมจําลองของ ไทย ลาว เวียดนาม -สวนสาธิตการทําผลิตภัณฑ -สวนคาขายผลิตภัณฑพื้นถ่ิน -สวนสาธิตภูมิปญญาชาวบานตางๆ -นิทรรศการช่ัวคราวภายใน สวนแสดงงานศิลป ของศิลปน ไทย ลาว เวียดนาม -ภาพเขียน -ประติมากรรม -นิทรรศการช่ัวคราวภายนอก การจัดงานประเพณีตางๆท่ีเกิดในรอบปของไทย ลาว เวียดนาม -การแขงเรือออกพรรษา -ประเพณีสงกรานตสองฝงโขง สามแผนดิน -Countdown สองฝงโขงสามแผนดิน -งานเฉลิมฉลองพระธาตุอิงฮัง สะหวันนะเขต -hue festival จ.เว เวียดนาม -full moon hoi an ฮอยอัน จ.กวงนัม เวียดนาม

Page 25: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

4.สวนสงเสริมการทองเที่ยว -กงสุลไทย -บริการหนังสือเดินทางและการขออนุญาตเขาเมือง -บริการรับเรื่องรองทุกขจากประชาชนของไทย

-กงสุลลาว -บริการหนังสือเดินทางและการขออนุญาตเขาเมือง -บริการรับเรื่องรองทุกขจากประชาชนของไทย

-กงสุลเวียดนาม -บริการหนังสือเดินทางและการขออนุญาตเขาเมือง -บริการรับเรื่องรองทุกขจากประชาชนของไทย

Page 26: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

5.สวนบริการดานการทองเที่ยว - การบริการรถเชา - เรือลองแมนํ้า - รานถายรูป - รานอินเตอรเน็ต - รานขายของที่ระลึก - รานอาหาร - หองพัก - หองประชุมสัมมนาสําหรับนักวิชาการและนักธุรกิจ - ไกดนําเที่ยว - ตํารวจทองเที่ยว

Page 27: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

6.สวนบริการและสนับสนุนโครงการ -งานดูแลระบบและซอมบํารุง -งานรักษาความปลอดภัย -งานรักษาความสะอาด7.สวนจอดรถ -ที่จอดรถประจําผูบริหารและพนักงานประจํา รถสวนตัว จักรยานยนตร -ที่จอดรถประเภทชั่วคราว จากนักทองเที่ยว และคณะทัวร รถบัส (กรุปทัวร) รถสวนตัว

Page 28: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

รัฐบาล

กระทรวงตางประเทศ กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม

ศูนยสงเสริมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม

ผูอํานวยการ

รอง ผอ.ไทย รอง ผอ.ลาว รอง ผอ.เวียดนาม

ฝายสํานักงาน ฝายจัดการแสดง ฝายนิทรรศการ ฝายกงสุล ฝายบริการการทองเที่ยว ฝายสนับสนุนโครงการ

เลขานุการ

Page 29: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ประวัติความเปนมานับแตครั้งกรุงธนบุรีเปนราชธานี เดิมงานนี้มีช่ือเรียกวา “งานบุญ สวงเฮือ” เมื่อสมัยอดีตกาลท่ียังเปนเมืองมุกดาหารในปหนึ่งๆ เจาเมืองกินรีจะมีการจัดใหมีพิธีดื่มน้ําพิพัฒนสัตยาปละ 2 ครั้ง คือในวันตรุษสงกรานตตรงกับเดือน 5 ข้ึน 15 ค่ําและในวันสารท ข้ึน 15 ค่ําเดือน 11 ผูรับราชการสนองพระเดชพระคุณทุกหมูบาน ทุกตําบล และทุกหัวเมืองนอยใหญ จะตองมารวมประกอบพิธีดังกลาว จะขาดเสียมิไดเพราะถือมีความผิดรายแรง และในการเดินทางมารวมพิธีนั้น สวนใหญจะเดินทางดวยเรือซึ่งเปนยานพาหนะท่ีสําคัญในยุคสมัยนั้น เนื่องจากมีความสะดวกมากกวาทางบกท่ีจะใชวัวเทียมเกวียนหรือรถมารวมท้ังชางเปนยานพาหนะในการเดินทาง

โดยเฉพาะในวันข้ึน 15 เดือน 11 ค่ํา ซึ่งตรงกับชวงวันออกพรรษาพอดี น้ําในแมน้ําโขงอยูในชวงสูงข้ึนปริ่มฝงปราศจากเกาะแกง ประชาชนสวนใหญกําลังวางจากฤดูทํานา เมื่อประชาชนทุกหมูบานมารวมกันจํานวนมากจึงไดเกิดความคิด ในการจัดเรือท่ีเปนพาหนะในการเดินทางมาประชันแขงขันพายเรือแหเรือกันเพื่อความสนุกสนาน เปนการสมานความสามัคคีระหวางหัวเมืองนอยใหญในขอบขันธสีมา การแขงขันจะตองจัดพิธีสักการะ บวงสรวงดวงวิญญาณบรรพบุรุษและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิคูบานคูเมืองท้ังบนบกและในน้ําเพื่อความเปนศิริมงคล กอนเริ่มพิธีการแขงขันทางน้ําเรือนับรอยลําทุกลําจะตองเขาขบวนเรือ “ตีชางน้ํานอง” ซึ่งนับวาเปนพิธีการบวงสรวง สักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ แมพระคงคา เทวดา พญานาค บนคุงน้ําแหงนี้ เพื่อใหเกิดความสงบรมเย็นเปนสุขของเหลาผองพี่นองประชาชนท่ีหาอยูหากินในลําน้ําโขง

Page 30: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ประเพณี “ตีชางนํ้านอง” กําเนิดขึ้นที่จังหวัดมุกดาหารเปนแหงแรกแหงเดียวของประเทศไทย ดังน้ัน ประเพณี “ตีชางนํ้านอง” จึงเปนงานประเพณีที่สําคัญ ในงานแขงเรืออออกพรรษาในลํานํ้าโขงและไดมีการพัฒนาการจัดงานประเพณีสืบสานตํานานเดิมเร่ือยมา นับวาเปนงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญระดับประเทศที่ทั้งสองเมืองมุกดาหารและสะหวันนะเขต ยังคงสืบสานปฏิบัติรวมกันมานานนับรอยปจวบจนปจจุบัน

Page 31: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Page 32: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

วัฒนธรรมประเพณีที่สําคัญของชาวสองฝงแมนํ้าโขง ที่สําคัญและกระทําโดยทั่วไป คือ“ฮีตสิบสอง และ ครองสิบสี่”

ประเพณฮีีตสิบสอง คือประเพณีที่ประชาชนชาวอีสานไดปฏิบัติสืบตอกันมาในโอกาสตางๆ ทั้งสิบสองเดือนในแตละป ประเพณีทั้งสิบสองเดือนที่ชาวอีสานถือปฏิบัติกันมาน้ันลวนเปนประเพณีที่สงเสริมใหคนในชุมชน ไดออกมารวมกิจกรรมพบปะสังสรรคกัน เพ่ือความสนุกสนานร่ืนเริงและเพ่ือความสมานสามัคคีมีความรักใครกัน ของคนในทองถิ่น ซ่ึงเปนการสืบทอดสิ่งที่ดีงามมาจวบจนปจจุบัน

ประเพณีครองสิบสี่หรือรัฐธรรม 14 คือ ขอวัตรหรือแนวทางที่ประชาชนทุกระดับ นับตั้งแตพระมหากษัตริย ขาราชการ ผูมีหนาที่ปกครองบานเมือง และคนธรรมดาสามัญพึงปฏิบัติ 14 ขอ คลองสิบสี่อาจสรุปได 2 สวน คือ สําหรับพระมหากษัตริยและผูปกครองบานเมืองพึงปฏิบัติ และสําหรับบุคคลธรรมดาสามัญพึงปฏิบัติ เพ่ือใหประชาชนอยูกันดวยความสงบและเปนระเบียบเรียบรอย โดยยึดขอปฏิบัติทางศาสนาเปนหลัก

Page 33: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ประเพณฮีีตสิบสอง เดือนอาย บุญขาวกรรม เดือนยี่ บุญคูณลาน เดือนสาม บุญขาวจ่ี เดือนสี่บุญ พระเวส เดือนหา บุญสงกรานต เดือนหก บุญบังไฟ เดือนเจ็ด บุญซําฮะ เดือนแปด บุญเขาพรรษา เดือนเกา บุญขาวประดับดิ เดือนสิบบุญ ขาวสาก เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา เดือนสิบสอง บุญกฐิน

เมื่อพืชผลสุกแลวตองนําไปทําบุญเสียกอน อยาโลภอยาโกงอยาหยาบคาย ชวยกันดูแลวัดและบานและบูชาเทวดา ลางเทากอนขึ้นบาน วันศีล 7-8 ค่ําใหขมากอนเสา แมคีไฟ บันได ประตู

บาน หญิงลางเทาสามีกอนเขานอน เมื่อถึงวันศลีเอาดอกไมขมาสามี พอแมตนเอง วันศีลเพ็งเจาหัวคูมาสวดมงคลและทําบุญ เมื่อพระมาอยาใหคอย และอยาใสเกิบ เมื่อพระมา ใหนั่งลงและไหวกอนแลวคอยเจรจา อยาเหยียบเงาพระภิกษุ สามเณร อยาเอาเศษอาหารท่ีตนกินเหลือใหพระสงฆและสามี

ทาน อยาเสพกามคุณในวันเขาพรรษา ออกพรรษา

มหาสงกรานต

ประเพณีครองสิบสี่

Page 34: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ประเพณีบุญหรือบุญพระเวสเดือนสี่(เดือนมีนาคม)

ประเพณีสงกรานต เดือนหา (เดือนเมษายน)

ประเพณีบุญบังไฟ เดือนหก (เดือนพฤษภาคม)

ประเพณีออกพรรษา 15ค่ํา เดือน 11

Page 35: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

การเคารพบรรพบุรุษเปนความเชื่อและประเพณีสืบทอดมาจากรุนสูรุน กลายมาเปนสิ่งสําคัญจําเปนและเปนหลักในการดําเนินชีวิตของคนชาวเวียดนามไปตั้งแตเกิดจนถึงตาย ซ่ึงแรกเร่ิมน้ันเปนเพียงการแสดงความเคารพตอบรรพบุรุษเมื่อครบรอบวันสิ้นอายุ จนกระทั้งกลายมาเปนการแสดงความเคารพและการขอพร บอกกลาวใหปกปองคุมครองในไมวาจะในโอกาสใดใด แตวันสําคัญที่ลูกหลานตองจุดบูชาบรรพบุรุษและขาดไมไดคือวันครบรอบวันสิ้นอายุ

งานวันตรุษเวียดนามน้ีอาจถือไดวาเปนวันที่รวบรวมสมาชิกภายในครอบครัวทุกคน ทุกๆ คนตองมาพรอมหนาซ่ึงไมวาจะทํางานหรืออาศัยอยูที่อื่นที่ไมใชบานเกิด ไมวาจะมีสารทุกขสุขดิบ ณ ที่แหงไหนก็ตองกลับมาที่บานเกิดเพ่ือจุดธูปบูชาบรรพบุรุษและไปเยี่ยมหลุมฝงศพซ่ึงถือวาเปนเทศกาลที่สําคัญมากของเวียดนาม

Page 36: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ตรุษญวนในภาษาเวียดนามเรียกวา เตด เหงวียน ดาน แปลวาเทศกาลตอนรับแสงรุงอรุณของปใหม ในการเฉลิมฉลองเทศการตรุษญวนจะเริ่มขึ้นในวันท่ี 23 เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติของเวียดนาม (เจ็ดวันกอนตรุษญวน) วันนี้จะมีการไหวเทพเจาแหงเตาไฟ ในภาษาเวียดนามเรียกวา องตาว หรือ ตาวเกวิน เทพเจาเตาเปนเทพเจาท่ีคอยสอดสองดูแลความเปนไปทุกอยางภายในบาน เทพเจาเตาของเวียดนามมีสามองค พอถึงวันท่ี 23 เดือน 12 จะมีการเซนไหวเทพเจาโดยวัตถุประสงคคือเพ่ือสงเทพเจาขึ้นสวรรค ในพิธีจะมีการไหวปลาคราฟ ซึ่งเทพเจาจะขึ้นสวรรคโดยขี่ปลาคราฟนี้ พอไหวเสร็จก็จะนําปลาคราฟไปปลอยในแมน้ําหรือหนองน้ําเพราะเช่ือวาปลาคราฟจะแปลงกลายเปนมังกรพาเทพเจาขึ้นสูสวรรค หลังจากนั้นจะมีการทําความสะอาดบานเรือนประดับตกแตงสวยงานเพ่ือตอนรับเทศกาลตรุษญวนท่ีจะมาถึง

หลังจากไหวเทพเจาเตาในวันท่ี 23 เดือน 12 แลว พอถึงวันท่ี 30 เดือน 1 ตามปฏิทินจันทรคติของเวียดนาม (กอนตรุษจีนหนึ่งวัน) จะมีการไหวบรรพบุรุษเพ่ือเชิญบรรพบุรุษกลับมารวมเฉลิมฉลองในเทศกาลตรุษญวน โดยญาติพ่ีนองทุกคนท่ีอยูไกลบานจะตองกลับมาเพ่ือรวมกันพรอมหนาพรอมตาในวันปใหม การไหวบรรพบุรุษจะเริ่มขึ้นในชวงบาย การไหวมีสองแบบคือ

แบบท่ีหนึ่ง คือไหวแบบไปเชิญวิญญาณบรรพบุรุษท่ีสุสานคือลูกหรือหลานชายจะตองนําของไหวไปไหวเชิญวิญญาณบรรพบุรุษท่ีสุสานบริเวณหลุมศพของบรรพบุรุษทุกคน จากนั้นพูดเชิญวิญญาณกลับบาน ในระหวางทางมีขอหามวาหามพูดจากับใครเด็ดขาด พอถึงบานก็เริ่มพิธีไหวตอนรับบรรพบุรุษท่ีบาน

แบบท่ีสอง คือไหวแบบไมไปเชิญวิญญาณบรรพบุรุษท่ีสุสาน โดยจะไมมีการนําของไหวไปไหวท่ีสุสานแตจะไหวท่ีเชิญวิญญาณท่ีบานพรอมกับไหวตอนรับบรรพบุรุษ

หลังจากไหวตอนรับบรรพบุรุษกลับมาบานเสร็จ ลูกหลานทุกคนก็รวมกันเฉลิมฉลองรับประทานอาหารรวมกันอยางพรอมหนา

Page 37: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

วันตรุษของเวียดนามกลาง วันพระจันทรเต็มดวง

วัน Keo Pagoda (วันแสวงบุญ)

พิธีลางอนุสาวรียเทพี

Page 38: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

หมูบานวัฒนธรรม

วัดศรีมงคลใต

หอยสมัยหิน พระพุทธสิงหสองวัดภูดานแต

วัดสองคอน

Page 39: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

วัดโอกาสศรีบัวบาน

พระธาตุเชิงชุม

พิพิธภัณฑพระอาจารยม่ัน

วัดสองคอนพระธาตุยาคู

พระธาตุพนม

หมูบานวัฒนธรรมผูไทยโคกโกง สะพานมิตรภาพหมูบานวัฒนธรรม

Page 40: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

สะหวันนะเขต

ฮอยอันนครเว - เวียดนาม

ดงฮา

Page 41: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ลองติจูดที่ 17 แยกเวียดนามเหนือ - ใต

Quang tri เมืองเกา

แดนลาวบาง

Museum memorial

นครเว อดีตเมืองหลวง

ดานัง เมืองตากอากาศและการคา

Hoi an หมูบานวัฒนธรรมหมิเซิน (จามปาเกา) พิพิธภัณฑจามปา

Page 42: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

1. ถนนนเสนความทรงจําในสงครามเวียดนาม (แดนลาวบาง) 2. Dong ha สะพานท่ีขามแมน้ํา Ben Hai ช่ือ Cau Hien Luong ลองติจูดท่ี 17 แยกเวียดนามเหนือ - ใต 3. Quang tri เมืองเกา 4. เว อดีตเมืองหลวงโบราณ 5. Da nang ตากอากาศ การคา 6. Hoi an หมูบานวัฒนธรรม 7. หมิเซิน (จามปาเกา)

1.00 ชม. 4.30 ชม. 1.30 ชม. 0.30 ชม. 1.30 ชม. 2.30 ชม. 0.30 ชม.

มุกดาหาร สะวันเขต ลาวบาง ดงฮา ควางตรี เว ดานัง ฮอยอัน

Page 43: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย

วัตถุประสงคของโครงการ 1.เพ่ือเปนศูนยกลางในการจัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมดานตางๆของไทยและสากล 2.เปนศูนยกลางในการแลกเปล่ียนศิลปวัฒนธรรม ท้ังในระดับภูมิภาคระดับชาติ และนานาชาติ 3.เปนสถานท่ีสําหรับประชาชน และเยาวชนไดแสดงออกถึงกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมองคประกอบหลักของโครงการ 1.หอประชุมใหญ 2000 ท่ีนั่ง 2.หอประชุมเล็ก 3.เวทีกลางแจง 4.อาคารนิทรรศการและบริการการศึกษา

Page 44: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

หอศิลปวัฒนธรรม จ.ขอนแกน

วัตถุประสงคของโครงการ 1.เพ่ือเปนศูนยกลางในการจัดแสดง นิทรรศการ กิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม และงานอ่ืนๆท่ีเก่ียวของ 2.เพ่ือเปนศูนยกลางเผยแพรความรูทางศิลปกรรม ในรูปแบบนิทรรศการหมุนเวียนและพิพิธภัณฑเพ่ือการศึกษา 3.เพ่ือเปนศูนยกลางเผยแพรความรูทางศิลปกรรม หัตถกรรมทองถิ่น การบริการจําหนายของท่ีระลึก ผลงาน ศิลปหัตถกรรม และส่ิงพิมพทางดานศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น องคประกอบหลักของโครงการ 1.สวนพิพิธภัณฑ -พิพิธภัณฑถาวร -พิพิธภัณฑชั่วคราว 2.สวนบริหาร 3.สวนลานแสดงกลางแจง

Page 45: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ศูนยสงเสริมการทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร

Page 46: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

1.บริเวณพ้ืนที่เทศบาลมุกดาหาร ขนาด 240 ม. X 180 ม. 43,200 ตรม. 28.25 ไร

Page 47: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

2.บริเวณใกลสะพานมิตรภาพไทย ลาว 2 ขนาด 300 ม. X 120 ม. 36,000 ตรม. 22.5 ไร

Page 48: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

3.บริเวณหัวมุมสามแยก ทางเขากอนถึงดานผานแดน ขนาด 110 ม. x 100 ม. 11,000 ตรม. 6.875 ไร

Page 49: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

รัฐบาล

กระทรวงตางประเทศ กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม

ศูนยสงเสริมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม

ผูอํานวยการ

รอง ผอ.ไทย รอง ผอ.ลาว รอง ผอ.เวียดนาม

ฝายสํานักงาน ฝายจัดการแสดง ฝายนิทรรศการ ฝายกงสุล ฝายบริการการทองเที่ยว ฝายสนับสนุนโครงการ

เลขานุการ

Page 50: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ฝายบริหาร ตําแหนง หนาท่ีและความรับผิดชอบในโครงการ ผอ.ศูนย บริหารงานและควบคุมงานท้ังหมด จัดแผนงานตางๆใหมีประสิทธิภาพ รอง ผอ.ศูนย ไทย เปนผูชวยในการบริหารงานและควบคุมดูแลการทํางานของฝายตางๆ รอง ผอ.ศูนย ลาว เปนผูชวยในการบริหารงานและควบคุมดูแลการทํางานของฝายตางๆ และติดตอประสานงานกับทาง สปป.ลาว รอง ผอ.ศูนย เวียดนาม เปนผูชวยในการบริหารงานและควบคุมดูแลการทํางานของฝายตางๆ และติดตอประสานงานกับทาง เวียดนาม เลขานุการ ทําหนาท่ีดูแลรับผิดชอบงานเลขานุการ เจาหนาท่ีธุรการ ทําหนาท่ีดูแลรับผิดชอบงานธุรการ รับระเบียบ ราชการ ตางๆจากราชการ เจาหนาท่ีประชาสัมพันธ ทําหนาท่ีเผยแพร ประชาสัมพันธเกี่ยวกับศูนยและการทองเท่ียว ไทย ลาว เวียดนาม เจาหนาทะเบียนและพัสดุ รับผิดชอบงานจัดสงพัสดุ และดูแลคลังพัสดุ เจาหนาบัญชีการเงิน รับผิชอบงานบัญชีและเงินงบประมาณการดําเนินการตางๆเกี่ยวกับศูนย เจาหนาท่ีวิชาการ ควบคุมดูแลงานวิชาการ เจาหนาท่ีรวบรวมและจัดพิมพเอกสารการทองเท่ียว ทําหนาท่ีรวบรวมและจัดพิมพเอกสารการทองเที่ยว

Page 51: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ฝายกิจกรรมการแสดง ตําแหนง หนาท่ีและความรับผิดชอบในโครงการ เจาหนาท่ีประสานงานติดตอ รับผิดชอบการประสานงานและดําเนินการเกี่ยวกับ การจัดงานพิธีและการแสดงตางๆ เจาหนาท่ีดานเทคนิค รับผิดชอบดานเวทีการแสดง แสง สี เสียง เจาหนาท่ีดูแลอุปกรณการแสดง รับผิดชอบดูแลอุปกรณการแสดง เสื้อผา เครื่องดนตรี เจาหนาท่ีจําหนายบัตร จําหนายบัตรเขาชมการแสดงฝายนิทรรศการ หัวหนานิทรรศการ ควบคุมดูแลงานนิทรรศการท้ังหมด เจาหนาท่ีนิทรรศการ ควบคุมการจัดนิทรรศการ ดูแลผลการดําเนินการ เจาหนาท่ีรับฝากของ ทําหนาท่ีดูแลทรัพยสินของผูเขาชมฝายสงเสริมการทองเท่ียว เจาหนาท่ีกงสุลไทย ใหบริการหนังสือเดินทางและการขออนุญาตเขาเมือง และใหบริการรับเรื่องรองทุกขจากประชาชนของไทย เจาหนาท่ีกงสุลลาว ใหบริการหนังสือเดินทางและการขออนุญาตเขาเมือง และใหบริการรับเรื่องรองทุกขจากประชาชนของลาว เจาหนาท่ีกงสุลเวียดนาม ใหบริการหนังสือเดินทางและการขออนุญาตเขาเมือง และใหบริการรับเรื่องรองทุกขจากประชาชนของเวียดนาม

Page 52: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ฝายบริการดานการทองเที่ยว ตําแหนง หนาที่และความรับผิดชอบในโครงการ เจาหนาที่ใหบริการรถเชา รับผิดชอบใหบริการเชารถ เจาหนาที่บริการเรือลองแมนํ้า รับผิดชอบใหบริการเรือลองแมนํ้า เจาหนาที่รานถายรูป รับผิดชอบใหบริการเก่ียวกับการถายรูป ลางรูป พนักงานรานอินเตอรเน็ต รับผิดชอบใหบริการอินเตอรเน็ต พนักงานขายของที่ระลึก รับผิดชอบขายของที่ระลึก พนักงานรานอาหาร รับผิดชอบใหบริการดานอาหาร เจาหนาที่บริการหองพัก รับผิดชอบใหบริการหองพักแกนักทองเที่ยว เจาหนาที่ไกดนําเที่ยว รับผิดชอบใหบริการนําเที่ยว ตํารวจทองเที่ยว รับผิดชอบใหบริการดูแลเกนักทองเที่ยว

Page 53: New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ฝายบริการและสนับสนุนโครงการ ตําแหนง หนาที่และความรับผิดชอบในโครงการ ชางซอมบํารุง ปฏิบัติงานดานงานระบบตางๆ เชนไฟฟา ประปา หัวหนารักษารักษาความปลอดภัย ดูแลบังคับบัญชายาม พนักงานรักษาความปลอดภัย เฝาระวังรักษาความปลอดภัย พนักงานรักษาความสะอาด รักษาความสะอาดในโครงการ พนักงานดูแลสวน ทําหนาที่ดูแลสวนและภูมิทัศนรอบอาคาร