5
ภาคที4 บทสงทาย : การแปลงแผนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติการทางสังคม สุขภาวะของสังคมทั้งหมดจึงไมใชสิ่งที่เกิดขึ้นดวยมาตรการเฉพาะสวนที่แยกขาดจากกัน แต เปนผลลัพธมาจากสังคมที่ดีขึ้นอยางเปนองครวม เปนบูรณาการที่สังคมทุกระดับตั้งแตปจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบันตาง และสังคมโดยรวมมีโอกาสรวมกันในการเรียนรูได เติบโตและ ยกระดับภูมิจิตภูมิปญญาอยางทั่วถึงพรอม กัน ภารกิจเชนนี้เปนภารกิจที่ใหญและตองการการ รวมพลังของทั้งสังคมเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง เปนภารกิจที่ยากเกินกวาที่จะทําใหสําเร็จดวย กลไกหรือวิธีการใดเพียงกลไกหรือวิธีการเดียว จะตองเปนการปรับเปลี่ยนพรอมกันทั้งดานในของชีวิต และโครงสรางสังคม และจะเกิดขึ้นไดทามกลางการเรียนรูและปฏิบัติการทางสังคมที่ระดมภูมิปญญา และการมีสวนรวมที่หลากหลายของทุกภาคีและเครือขายสังคม สวนที่หนึ่ง แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติการ ดวยแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 เปนแผนยุทธศาสตรที่จัดทําขึ้นบนพื้นฐานความรู ทางวิชาการ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อชี้นําทิศทางการพัฒนาดานสุขภาพใหเปน เอกภาพ บรรลุเปาหมายใหสังคมไทยมีสุขภาวะอยางยั่งยืน สมดุล และกาวทันการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณโลก โดยที่ทุกภาคสวนในสังคมมีภาระหนาที่ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศ ดังนั้นเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวดังกลาว โดยมีการนํานโยบายและแผนไปสูการปฏิบัติให เกิดผลสําเร็จอยางแทจริง จึงจําเปนตองมีการกําหนดกลไกการบริหารแผน และการติดตาม กํากับ และประเมินผล โดยมีแนวทางดังนี(ดูรูปที2 และภาคผนวก 2 ตารางที2 และรูปที5) 1. การกําหนดโครงสรางการบริหารแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 อยางชัดเจน ดังนี1.1 ควรมีคณะกรรมการอํานวยการแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ เพื่อกําหนดกระบวนการ และกลไกในการบูรณาการระดับนโยบายและยุทธศาสตร รวมทั้งใชกลไกทางสังคมและกฎหมาย เพื่อใหมีการนําทิศทางและเปาหมายของแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติไปสูการปฏิบัติที่สอดคลอง เชื่อมโยงกับกลไกของทุกภาคสวนอยางมีเอกภาพ 1.2 ควรมีคณะกรรมการบริหารแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติรับผิดชอบในการสราง แนวทาง และกลไกการนํานโยบายและแผนไปสูการปฏิบัติในระดับตาง รวมทั้งการจัดระบบการ ติดตาม กํากับ ประเมินผลแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ โดยใหมีการกําหนดดัชนีชี้วัดการพัฒนาสุขภาพ หลักเกณฑและวิธีการ รวมทั้งการจัดใหมีระบบขอมูลที่มีประสิทธิภาพสําหรับการติดตาม กํากับและ ประเมินผล 53 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที10 .. 2550 - 2554

PH11#1 (เอกสารประกอบฯ4) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ4) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-4

ภาคที่ 4

บทสงทาย : การแปลงแผนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติการทางสังคม

สุขภาวะของสังคมทั้งหมดจึงไมใชส่ิงที่เกิดขึ้นดวยมาตรการเฉพาะสวนที่แยกขาดจากกัน แต

เปนผลลัพธมาจากสังคมที่ดีข้ึนอยางเปนองครวม เปนบูรณาการที่สังคมทุกระดับต้ังแตปจเจกบุคคล

ครอบครัว ชุมชน สถาบันตาง ๆ และสังคมโดยรวมมีโอกาสรวมกันในการเรียนรูได เติบโตและ

ยกระดับภูมิจิตภูมิปญญาอยางทั่วถึงพรอม ๆ กัน ภารกิจเชนนี้เปนภารกิจที่ใหญและตองการการ

รวมพลังของทั้งสังคมเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง เปนภารกิจที่ยากเกินกวาที่จะทําใหสําเร็จดวย

กลไกหรือวิธีการใดเพียงกลไกหรือวิธีการเดียว จะตองเปนการปรับเปลี่ยนพรอมกันทั้งดานในของชีวิต

และโครงสรางสังคม และจะเกิดขึ้นไดทามกลางการเรียนรูและปฏิบัติการทางสังคมที่ระดมภูมิปญญา

และการมีสวนรวมที่หลากหลายของทุกภาคีและเครือขายสังคม

สวนท่ีหน่ึง แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติการ

ดวยแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 เปนแผนยุทธศาสตรที่จัดทําขึ้นบนพื้นฐานความรู

ทางวิชาการ โดยยึดหลกัปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อช้ีนาํทิศทางการพัฒนาดานสุขภาพใหเปน

เอกภาพ บรรลุเปาหมายใหสังคมไทยมีสุขภาวะอยางยัง่ยืน สมดุล และกาวทนัการเปลี่ยนแปลงของ

สถานการณโลก โดยทีท่กุภาคสวนในสังคมมีภาระหนาที่ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศ

ดังนัน้เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวดังกลาว โดยมีการนํานโยบายและแผนไปสูการปฏิบัติให

เกิดผลสําเร็จอยางแทจริง จึงจาํเปนตองมีการกําหนดกลไกการบริหารแผน และการติดตาม กาํกับ

และประเมินผล โดยมีแนวทางดังนี้ (ดูรูปที่ 2 และภาคผนวก 2 ตารางที ่2 และรูปที ่5)

1. การกําหนดโครงสรางการบริหารแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 อยางชัดเจน ดังนี้

1.1 ควรมีคณะกรรมการอํานวยการแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติ เพื่อกําหนดกระบวนการและกลไกในการบูรณาการระดับนโยบายและยุทธศาสตร รวมทัง้ใชกลไกทางสังคมและกฎหมาย

เพื่อใหมกีารนาํทิศทางและเปาหมายของแผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติไปสูการปฏิบัติที่สอดคลอง

เชื่อมโยงกับกลไกของทุกภาคสวนอยางมเีอกภาพ

1.2 ควรมีคณะกรรมการบริหารแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติรับผิดชอบในการสรางแนวทาง และกลไกการนาํนโยบายและแผนไปสูการปฏิบัติในระดับตาง ๆ รวมทั้งการจัดระบบการ

ติดตาม กํากับ ประเมนิผลแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ โดยใหมกีารกาํหนดดัชนีชี้วดัการพฒันาสุขภาพ

หลักเกณฑและวิธีการ รวมทั้งการจัดใหมรีะบบขอมูลทีม่ีประสิทธิภาพสําหรับการติดตาม กํากบัและ

ประเมินผล

53 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 2: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ4) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-4

2. เสริมสรางบทบาทการมีสวนรวมของภาคีเครือขายการพัฒนาทางดานสุขภาพ ในการ

จัดทําแผนบูรณาการระดับตาง ๆ ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรการพัฒนาในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ

ฉบับที่ 10 โดยใชกลไกกระบวนการแผนยุทธศาสตร แผนบริหารราชการแผนดิน แผนปฏิบัติราชการ

4 ป แผนปฏิบัติราชการประจําปของสวนราชการ แผนปฏิบัติการระดับหนวยงาน/สถาบัน/องคกร

แผนทองถิ่น และแผนชุมชน ตลอดจนสรางกลไกในการผลักดันสูการปฏิบัติการในลักษณะหุนสวน

ทางยุทธศาสตรกับพันธมิตรดานสุขภาพ ที่มีสวนรวมการพัฒนาในทุกขั้นตอนอยางเปนเอกภาพ

เขมแข็งและยั่งยืน

3. จัดกลุมยุทธศาสตรการพัฒนาสุขภาพ โดยกําหนดเปน Result Cluster หรือ Area

Cluster และกําหนดองคกรภาคีที่เกี่ยวของ ซึ่งมีบทบาทในการพัฒนาจัดทําเปาหมาย ตัวชี้วัด และ

กลยุทธ/มาตรการการพัฒนารวมในระดับองคกรปฏิบัติการในทุกระดับ ทั้งภาครัฐ ภาคทองถิ่น

ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ตั้งแตระดับประเทศ ภาค จังหวัด และระดับชุมชนทองถิ่น ตลอดจน

พัฒนาระบบและรูปแบบการติดตามที่สอดคลองกับยุทธศาสตรและระบบงบประมาณแบบมุงเนน

ผลงานตามยุทธศาสตร

สวนท่ีสอง ขอเสนอบทบาทภาคีการพัฒนา การขับเคลื่อนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติการของแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

จําเปนตองมีการระดมพลังจากทกุภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคีการพฒันาตาง ๆ ใหมี

บทบาทหนาทีร่วมกันพัฒนาสุขภาพทีห่นนุเสริมสัมพนัธสอดคลองกันในทกุระดับ

1. ภาครัฐ กําหนดนโยบาย ปรับปรุงกฎหมายและมาตรการตาง ๆ ที่ใหเทาทันตอสถานการณ

ใหม ๆ รวมทั้งศึกษาหามาตรการใหม ๆ โดยเฉพาะมาตรการระดับประเทศและระหวางประเทศ เชน

การเจรจาตอรองในเวทีระดบัโลก

2. ภาครัฐ ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรางองคกรที่สามารถจัดการ การบริหารทรพัยากรให

เปนไปตามนโยบาย ประสานและระดมความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของรวมดําเนินการตาม

ยุทธศาสตรและมาตรการทีก่ําหนดใหมีประสิทธิภาพ

3. ภาครัฐใหการสนับสนนุและดําเนนิการดานการวิจยัและองคความรูเกีย่วกับปญหาสขุภาพ

และสงเสริมใหเกิดการจัดการความรูในทกุระดับ โดยระดมความรวมมือจากทุกฝายทีเ่กี่ยวของเขา

รวมดําเนินการ

4. ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน ประชาคมและภาคสุีขภาพมีบทบาทและมีสวนรวมใน

การพัฒนานโยบายและแผน โดยภาครัฐเปนผูสนับสนนุใหภาคประชาชนสามารถรวมตัวเปน

เครือขายที่เขมแข็งในการรวมพฒันา จดัหาบริการ และการเฝาระวัง ตรวจสอบใหการทํางานตาม

ยุทธศาสตรเปนไปอยางไดผล

54 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 3: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ4) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-4

5. สถาบันการศกึษา วิชาชพี นักวิชาการ ใหการสนับสนุนดานวิชาการ องคความรู การ

สรางกระบวนการเรียนรูที่สามารถนําไปใชในระดับตาง ๆ พัฒนาเครื่องมือ คูมือการทํางาน รวมทั้ง

พัฒนาระบบขอมูลขาวสาร

6. สถาบันทางวฒันธรรมและสังคมในระดับตาง ๆ ตั้งแตระดับครอบครัว สถาบันการศึกษา

ศาสนา องคกรสาธารณประโยชนที่เกีย่วของกับวฒันธรรมและสังคม มีบทบาทการปลูกฝง สงเสริม

คานิยม ทัศนคติที่ถกูตอง หลีกเลีย่งจนถึงละ เลิกอบายมุข มทีางออกที่ดีที่ไดรับการยอมรับและ

สนับสนนุใหมแีบบอยางที่ดี

7. ส่ือมวลชน เปนผูเฝาระวังภยัตาง ๆ ที่คุกคามตอสุขภาพ ตั้งแตระดบัขามชาติจากระบบ

ทุนนิยม การคาเสรี บริษัทขามชาติ โครงการขนาดใหญทั้งตางประเทศและในประเทศ ทาํใหเกิดการ

ตรวจสอบ และเวทกีลางใหกับสังคม และมีสวนในการสรางความตระหนกั การปลูกฝงคานยิม ความ

เขาใจ จิตสาํนกึรับผิดชอบตอชีวิตผูคนและสงัคม และการใหความใสใจกับสุขภาพของตนเองและ

สังคม

สวนท่ีสาม แนวทางการติดตาม กํากับ และประเมินผล จากการกําหนดกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติการ ภายใตบทบาทของภาคีการ

พัฒนาสุขภาพทุกภาคสวนในทุกระดับใหบังเกิดผลตามวิสัยทัศนและเปาหมายที่กาํหนดไว

จําเปนตองมีระบบการติดตามกาํกับและประเมินผลที่เปนระบบ ครบวงจร เชื่อมโยงจากระดับ

นโยบายสูระดบัปฏิบัติการ และจากระดับชาติไปสูจังหวัด พืน้ที ่ชุมชน และประชาชน

1. ระบบการติดตาม กาํกับ และประเมินผลแผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติ ควรครอบคลุมการ

ประเมินสุขภาวะประชาชน ระบบสุขภาพ และผลกระทบดานสุขภาพ และเชื่อมโยงกันทุกภาคสวน

รวมทัง้การจัดกลไกการประเมินผลที่ใหประชาชนและภาคเครือขายดานสุขภาพ ไดเขามามีสวนรวม

ในขณะเดียวกนัควรสอดคลองกับกลไกการบริหารแบบมุงเนนผลสัมฤทธิ์อ่ืน ๆ ของรัฐ เชน ระบบการ

ประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองฯ ของ ก.พ.ร. สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฯลฯ

และใหความสาํคัญในเรื่องกลไกการรายงานผลและการนําขอมูลไปใชประโยชน

2. ขอบเขตการติดตาม กาํกับ และประเมินผลแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ

2.1 ในชวงหนึ่งถึงสองปแรกหลงัประกาศใชแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ควรมกีาร

ประเมินผลการนําทิศทาง และเปาหมายของแผนพฒันาสุขภาพแหงชาติ ไปสูการปฏิบัติ วิเคราะห

สถานการณความเชื่อมโยงและการบูรณาการของการแปลงนโยบายไปสูแผนปฏิบัติงานของทกุภาค

สวน เพื่อทบทวนนโยบายหรือปรับปรุงการปฏิบัติงาน

55 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 4: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ4) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-4

2.2 ประเมินผลการบรรลุเปาหมายการพัฒนาสุขภาพในภาพรวม (Overall Goal

Attainment) ประเมินประสทิธิผล ประสิทธิภาพ และคณุภาพ ของระบบสุขภาพ ตลอดจนการพฒันา

องคกรและภาคีเครือขายดานสุขภาพ ในระยะครึ่งแผน และเมื่อส้ินสุดแผนพัฒนาสขุภาพแหงชาติ

2.3 ประเมนิผลสาํเร็จตามเปาหมายและยทุธศาสตรที่สําคัญ ๆ ในแตละชวงของ

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติในเชิงลกึ โดยวธิีวิจัยประเมินผล

2.4 ควรมีแผนติดตาม กาํกับ ประเมนิผลการดําเนินงานที่สําคัญตามยุทธศาสตรการ

พัฒนาสุขภาพของหนวยงาน และจัดทาํรายงานความกาวหนาการดําเนนิงานเสนอตอคณะกรรมการ

อํานวยการฯ คณะกรรมการบริหารแผนฯ ที่ประชุมผูบริหาร และรายงานตอสาธารณะเปนระยะ ๆ

เชน รายไตรมาส ราย 6 เดือน และเมื่อส้ินสุดปงบประมาณ

3. พัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อติดตามตรวจสอบการดําเนนินโยบาย การเปลี่ยนเปลงของ

สถานการณทีส่งผลกระทบตอระบบสุขภาพ การประเมนิผลการปฏิบตัิงานและการใชจายงบประมาณ

โดยเชื่อมโยงเครือขายขอมูลขาวสารที่ทนัสมัย ถูกตอง แมนยาํ และสะดวกตอการเขาถงึและใช

ประโยชนไดรวดเร็ว

56 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554

Page 5: PH11#1 (เอกสารประกอบฯ4) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10-4

บูรณาการ สมดุล

เอกภาพ ดุลยภาพ

มีเหตุผล รอบรู

รอบคอบ ระมัดระวัง

มีภูมิคุมกัน

พรอมรับการเปลี่ยนแปลง

นโยบายและยุทธศาสตรระดับชาติ

นโยบายรัฐบาล

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ

การขับเคลื่อนสูการปฏิบัติการ

แผนยุทธศาสตร

แผนบริหารราชการแผนดิน

แผนปฏิบัติราชการ

แผนปฏิบัติการ

แผนทองถ่ิน

แผนชุมชน

กระบวนการปฏิบัติ

การติดตาม กํากับ ประเมินผล

ผลผลิต/ผลงาน (Output) ผลข้ันตน (Effect) ผลลัพธ (Outcome) ผลกระทบ (Impact)

การวางแผน

(Planning)

ขอมูลปอนกลับ

การดําเนินงาน

(Implement)

ขอมูลปอนกลับ

ผลสัมฤทธ์ิ (Result)

คณะกรรมการอํานวยการฯ

คณะกรรมการบริหารฯ

ปจจัยนําเขา

ภาคีรวมพัฒนา/

การบริหาร/ทรัพยากร/

เทคโนโลยี/วิชาการ/

เเกณฑเปรียบเทียบ/การ

ประสิทธิภาพ

(Efficien

ประสิทธิผล

(Effective

การพัฒนา

องคกร

กาวหนา ทันการณ

ยั่งยืน

ประหยัด คุมคา

สมประโยชน

ประโยชนสูงสุด

คุณภาพ เปนธรรม

ซ่ือสัตย สุจริต โปรงใส

เพียงพอ พอดี

พอเหมาะ

มีความเพียร รับผิดชอบ

เขมแข็ง

รูปที่ 2 การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารการพัฒนา

ในแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10

57 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554