23
1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical Milking รูปที10.2ลักษณะเซลลสรางน้ํานมและภาพตัดขวางของเตานมกับหัวนมโค

Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

1

Physiology of Lactation 117 736 Preview milking

Preview milk systhesis Machanical Milking

รูปท่ี10.2ลักษณะเซลลสรางน้ํานมและภาพตัดขวางของเตานมกับหัวนมโค

Page 2: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

2

รูปที่10.3 แสดงระบบเลือดของโค

Page 3: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

3

รูปที่10.4 แสดงระบบประสาทและระบบน้ําเหลืองโค

Page 4: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

4

3. การหลัง่น้ํานม (secretion) “milk let down” -กระแสความรูสึก สงผานไปที่ hypothalamus เพื่อสั่งงานใหPosterior pituitary glandหล่ังฮอรโมน“Oxytocin” -Oxytocin สงผานกระแสเลือด ถึงเตานม -บริเวณถงุนม alveolar cell (ลักษณะคลายๆ ลูกโปรง) มีcell สังเคราะหน้ํานม secretory cell เรียงตัวเปนแถวเดี่ยว -ดานผิวนอกถุงนมมีกลามเนื้อ “myoepithelial cell” รวมทั้งเสนเลือดแดงและดํา -Oxytocin กระตุนให myoepithelial ทํางาน เกิดการบีบตัวทําใหถุงนมแฟบตัว -น้ํานมจากถุงนม หล่ังเขาในระบบทอสงน้ํานม -ผานมาที่แองน้ํานม (cistern) และหลั่งออกสูภายนอกผานหัวนม

-Oxytocin จะออกฤทธิ์ไดดีภายใน 8 นาที -โคนมเกิดstress ระบบประสาท จะสั่งใหตอมหมวกไต (Adrenal medulla) หล่ังฮอรโมน Epinephrine มาออกฤทธิ์ทําให myoepithelium cell หยุดการทํางาน -แมโคเกิดการอั้นน้ํานม

Page 5: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

5

6.1 เคร่ืองรีดน้ํานม (Machine milking) เคร่ืองรีดน้ํานมประกอบดวย Teat cups Claw Milk and air tube (line) Receiver jar / Bucket Pulsator Regulator/ Vacuum gauge Interceptor Vacuum pump

Page 6: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

6

ความดันสุญญากาศ หัวรีด ติดกับเตานมโคที่ความดันสูญญากาศ -45-(-50) kPa (kilo pascals)

จังหวะรีดนม เมื่อความดันในยางรีดกับ stainless cup เปนสภาพสุญญากาศ (vacuum) ยางรีดจะชิดเขาหา stainless cup ทําใหรูหัวนมเปด น้ํานมจะไหลมาทีส่ายยางรีด

จังหวะพักรีด/ จังหวะนวด จังหวะที่ความดันในยางรีดกับ stainless cup เปนสภาพมีอากาศ ยางรีดจะถูกดันมาชิดกับหัวนม รูของหัวนมจะปด จังหวะสภาพมีอากาศ หรือจังหวะนวดหัวนม (recovery milking phase) จะใชเวลานานกวาจังหวะรีดนม (milking phase) การเพิ่มเวลาของ vacuum เพื่อเรงใหน้ํานมไหลมากและนาน จะทําใหการรีดน้ํานมเร็วขึ้นจริง แตจะมีผลเสียทําใหหัวนมเปนอันตรายไดงาย

ชุดควบคุมจังหวะ (pulsator) อัตราสวนการรีด(Vac:Air) = 50 : 50 หรือต้ังแต 40 : 60 ถึง 50 : 20 ในจังหวะมาตรฐานน้ํานมจะไหลออกมา 1-2 kg/นาที สูงสุด 3-5 kg/นาที

รอบของ pulsator ทั่วไปใชรอบ 50-60 รอบ/นาที ต้ังจังหวะ pulsator ชา รูนมจะปดกอนจังหวะ Vacuum phase หมด ต้ังจังหวะ pulsator เร็ว ทําใหสภาพมีอากาศ (Air phase)ไมสมบูรณ ทําใหการปดของรูนมและระยะพักของหัวนมสั้น

Page 7: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

7

ตารางที่10.3 เปรียบเทียบ จังหวะของpulsationกับ อัตราสวนของการไหลสูงสดุของน้ํานม

ร10.13 ต10.3

รูปท่ี 10.11 แสดงการทํางานตามจังหวะการรีดนมของเครื่องรดี

Page 8: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

8

6.3 ความถีใ่นการรีด ตารางที่ 10.4 แสดงผลของชวงหางการรีดน้ํานมตอผลผลิตน้ํานม

Page 9: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

9

7. โรงรีดนม (Milking Parlour)

รูปที่10.12 ชุดรีดน้ํานมแบบกางปลา(Herringbone) แบบชุดรีดที่มีทั้งหมด 5 แบบ คือ 1. แบบยืนรีดในซอง (STANCHION BARN) 2. แบบซองรีดเปดขาง (SIDE OPENING PARLORS) 3. แบบแถวรีดกางปลา (HERRINGBONE PARLORS) 4. แบบแถวรีดเหลี่ยม (POLYGON PARLORS) 5. แบบรีดหมุนวงกลม (ROTARY PARLORS)

Page 10: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

10

ขนาดกิจการ 1. โครีดนม 5-50 ตัว ควรพิจารณาแบบยืนรีดในซอง ซึ่งมีทั้งแบบรีดใสถังและแบบรีดระบบทอสงนม 2.โครีดนม 50-100 ตัว ควรพิจารณาแบบยืนรีดในซอง แถวรีดกางปลา แถวรีดเปดขาง 3. โครีดนม 100-200 ตัว หรือมากกวา ควรพิจารณาควบคูกบัคาแรงงาน และประสิทธิภาพการใชแรงงาน มีแบบแถวรีดกางปลา แถวรีดเหลี่ยม แบบรีดหมุนวงกลม ตารางที่7.1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพโรงรีดน้ํานม .............................................................................................................................. แบบเครื่องรีด จํานวนคนรีด จํานวนชดุรีด จํานวนโครดี/ชม.

.............................................................................................................................. แบบยืนรีดในซอง (ใชถังรีดนม) 1 2 15-20 แบบยืนรีดในซอง (ใชทอสงนม) 1 3 20-25 แบบแถวรีดกางปลาคู 4 ชดุรีด 1 4 35-40 แบบแถวรีดกางปลาคู 8 ชุดรีด 2 8 70-80 แบบซองรีดเปดขางคู 4 ชุดรีด 2 8 52-64 แบบแถวรีดหลายเหลี่ยม 2 24 130-140 แบบรีดวงกลม 12 ชุดรีด 2 13 50-55

............................................................................................................................................................

Page 11: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

11

รูปที่8.3 แสดงแบบชุดรีดน้ํานม

Page 12: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

12

13.การสังเคราะหองคประกอบน้ํานม สารตั้งตนในเลือดและในน้ํานม synthesis blood alveolar cell ---------------------------------> Lumen (secretory cell) osmotic pressure secretion oxytocin Luminar----------------------------------> duct--------------> gland----------> teat myoepithelium cell contraction การสังเคราะหแลค็โตส (Lactose synthesis) ขั้นการเปลี่ยน glucose เปน galactose

UTP หรือuridine TP + glucose-1-P------------- UDP-glucose + PP UDP-glucose pyrophorylase

UDP-glucose + ATP----------------------------- UDP-galactose UDP-galactose-4-epimerase 2. ขั้นการรวม galactose กับ glucose ครั้งใหม UDP-galactose + glucose---------------------- Lactose + UDP Lactose synthase

Page 13: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

13

Page 14: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

14

รูปท่ี10.13 แสดงองคประกอบของเซลลสรางน้ํานม

ตารางที่10.7 เปรียบเทียบองคประกอบในเลือดและในน้ํานม

Page 15: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

15

ตารางที่10.8 เปรียบเทียบองคประกอบน้ํานมในสัตวชนดิตางๆ

Page 16: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

16

การสังเคราะหโปรตีนในน้ํานม Synthesis ขั้นตอนทั่วไปแบงเปน 1. ขั้นTranscription UTP+ ATP + CTP + UTP ---------------------------- mRNA DNA 2. ขั้น Translation amino acyl aynthetase amino acid + ATP ------------------------> AMP-amino acid+PP AMP-amino acid + tRNA-----------------------> amino acid-tRNA + AMP Ribosomes amino acid-tRNA -------------------------> milk protein mRNA, rRNA * ชนิดของ Enzyme และ tRNA จะเปนตัวกําหนดชนิดของโปรตีนนม Secretion milk protein---------> Micelles-----------> ปลอยเขา lumen ใน alveolus การสังเคราะหไขมันนม ไขมันน้ํานมมีคุณสมบัติ 1. มี short-chain fatty acid (c4-c14) มากกวา Long-chain fatty acid (c16-c20) กวาครึ่งหนึ่ง จึงทําให ไขมันนมมีความหอม ที่เรียกวา “หอมมันเนย” 2. เกิดจากการรวมตัวกันของ fatty acid กับ glycerol ทําใหเปน triglyceride.

Page 17: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

17

Synthesis

Secretion mix-triglyceride---------------> fat globules---------------> alveolus

Page 18: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

18

การเคลื่อนที่ของแรธาตุ ไวตามิน น้ําและไอออนตาง ๆ 1. การเคลื่อนผานรอยตอระหวางเซลล (Paracellular pathway) 2. การเคลื่อนผานเซลลโดยตรง (trancellular pathway) 1. การเคลื่อนผานรอยตอระหวางเซลล (Paracellular pathway, leaky junction pathway) มีสารไอออนขนาดเล็ก โดยผานชองระหวางcell ที่เรียกวาtight junction สวนสารขนาดใหญจะไปไมได -แตในภาวะผิดปกติเชนโคคลอดลูกใหม ผนังเซลลจะยอมให Ig ตาง ๆ ผาน -ปวยเปนโรคเตานมอักเสบ รางกายยอมใหเม็ดเลือดขาว เคลื่อนผานระหวางเซลล -และความเขมขนของโซเดียมกับคลอไรดในน้ํานมจะมากขึ้น ขณะที่โปตัสเซียมจะลดลง เพราะโปตัสเซี่ยมกับแล็คโตส จะเคลื่อนยอนกลับไปในเลือด 2. การเคลือ่นผานเซลลโดยตรง (transcellular pathway) สารตาง ๆจากเลือดผานเขาในเซลล โดยอาศัยความแตกตางของความเขมขนไอออนระหวางcell (active transport) และpassive transport เขาสู alveolus - สวนปลายผนังเซลล secretory ที่ติดกับ alveolus (apical membrane) จะยอมให

สารไอออนเคลื่อนเขาออกไดอยางอิสระจากกระบวนการ osmotic pressure - จึงทําใหมีสมดุลความเขมขนของไอออนในเซลล กับในน้ํานม (alveolus) - แตความเขมขนของโซเดียมกับโปตัสเซียมในน้ํานมจะมีความสัมพันธกับความ

เขมขนของแล็คโตสในน้ํานม

Page 19: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

19

- ทั้งนี้เพราะการเคลื่อนที่ของไอออนกับการสรางlactoseจะจํากัดปริมาณน้ําที่จะเขาสูgolgi และsecretory vesicles

รูปท่ี10.14 แสดงPathway การเคล่ือนท่ีผานเซลลสรางน้าํนมของไอออนตางๆ

Page 20: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

20

องคประกอบของน้ํานมโค (milk composition) น้ํานมโคมีเปอรเซ็นตการยอยไดสูงถึง 98% โดยมีเนื้อนมทั้งหมด (Total solid) 12.4% โปรตีน (Protein) 3.4% ไขมัน (Fat) 3.7% และน้ําตาลแล็คโตส (Lactose) 5% อีก 87.8% เปนน้ํา - ความเขมขนของนมน้ําเหลือง (colostrum) จะมมีากกวานมปกติ - โดยมีเนื้อนมรวมเขมขน 2 เทา โปรตีนเขมขน 5 เทา ไขมันเขมขน 2 เทา และน้ําตาล

แล็คโตสเขมขนครึ่งเทา - ภายใน 2-3 วันหลังคลอดความเขมขนจะลดลงและกลายเปนน้ํานมปกติภายใน 5-7 วัน

หลังคลอด - ในตลอดชวงการใหน้ํานม ความเขมขนของโปรตีนกับไขมันจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอีก - ในขณะที่ Lactose จะลดลง - สําหรับเนื้อนมรวมจะมากในชวงตนการใหนมและลดลงต่ําสุดในสัปดาหที่ 6-8 หลัง

คลอด - หลังจากนั้นเนื้อนมรวมจะคงที่ไปจนถึงระยะปลายการใหนม (เดือนที่ 8 ของการใหนม)

เนื้อนมรวมจึงเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้งหนึง่ - ในทางตรงขามโคที่ไมตั้งทอง เนื้อนมรวมจากระยะเดือนที่ 8 ไปจะมีแนวโนมลดลง

เรื่อยๆ ระดับของโปรตีนและแล็คโตสในน้ํานมทีร่ีดไดในแตละวันจะคอนขางสม่ําเสมอ

Page 21: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

21

ตารางที่10.8 แสดงองคประกอบของน้ํานมโคชนิดตางๆ

Page 22: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

22

ตารางที่ 10.9 องคประกอบน้ํานมของโคนม5พันธุ

ตารางที่ 10.10 ผลผลิตและโปรตีน ไขมันนมของโคนม5พันธุ

Page 23: Physiology of Lactation 117 736 - Khon Kaen … › virote › pdf › Lactation › Note-Lac1...1 Physiology of Lactation 117 736 Preview milking Preview milk systhesis Machanical

23

รูปท่ี 10.15 การเปล่ียนแปลงของน้ํานมในโคหลังคลอด ตามแตละคร้ังท่ีรีดนม