89

princeple of design

Embed Size (px)

DESCRIPTION

หลักการออกแบบ และพื้นฐานทางการออกแบบ

Citation preview

Page 1: princeple of design
Page 2: princeple of design

1

การออกแบบเบื้องตน

1.1 ความหมายและลักษณะของการออกแบบ 1.1.1 คุณคาของการออกแบบกับการดํารงชีวิต

นับแตกลุมชนในอดีตท่ีอยูอาศัยในถํ้า มนษุยไดรวมกันพฒันาวิถีการดํารงชีวิตของตนตลอดเวลา พัฒนาวัตถุท่ีตนเก่ียวของ จากถํ้ามาสู เพิง กระทอม และบานเรือนอันม่ันคงแข็งแรง จากเคร่ืองมือหินมาสูเคร่ืองมือเคร่ืองใชมากมายหลายส่ิงในปจจบัุน ตลอดเวลามนุษยไดพัฒนาท้ังความคิดและการปฏิบัติไปพรอมกัน ส่ิงใดส่ิงหนึ่งท่ีมนุษยเราทําการพฒันาหรือสรางข้ึน ตองมีการวางแผน คิดคํานึงถึงวัสดุ ประโยชนใชสอย และปรับปรุงเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา ซ่ึงส่ิงเหลานี้คือ ตนเหตุของการออกแบบทั้งหลาย การออกแบบอาจจะออกแบบในความคิดคํานึง เชน การวางแผนงานตางๆ การกําหนดความคิด หรือออกแบบเปนรูปแผนงานท่ีจะสราง เชน การออกแบบเคร่ืองจกัรกล โตะ เกาอ้ี หรือการออกแบบไปพรอมกบัการสรางสรรคอารมณ ความรูสึกนึกคิดเลนก็ได เชน การออกแบบทางจิตรกรรม ประติมากรรม เปนตน อยางไรก็ตาม โดยทั่วไปแลวการออกแบบทางทัศนศิลป (Visual Art) ยอมตองปรากฏเปนผลงานหรือส่ือสารท่ีรับรูไดดวยประสาทตา ไมใชเปนเพียงความคิดคํานึง การดํารงชีวิตประจําวนัของเรา ตองผูกพันอยูกับโลกของวัตถุ เม่ือวัตถุไดรับการพัฒนาการมากเทาใด คนเราก็ตองผูกพันอยูกับงานออกแบบมากข้ึนเปนเงาตามตัว เพราะการกาวหนาหรือเติบโตทางวัตถุ ยอมตองกาวหนาหรือเติบโตไปพรอมกับการออกแบบ ซ่ึงอาจกลาวไดวา ไมมีวัตถุส่ิงของเคร่ืองใชหรือเคร่ืองอํานวยความสะดวกใดๆ ท่ีเราสรางข้ึนมาแลวไมเปนผลมาจากการออกแบบ ไมวาจะเปนบานเรือน โตะ เกาอ้ี เคร่ืองบิน จอบ งอบ ยอมตองผานการออกแบบลักษณะใดลักษณะหน่ึงมาแลวท้ังส้ิน เม่ือเปนเชนนี้ การออกแบบจึงทีสภาพเปนตัวการสําคัญอยางหนึ่งในสังคม ในอันท่ีจะผลักดันใหสังคมมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา จากแนวความคิดหนึง่เปล่ียนไปสูอีกแนวความคิดหนึ่ง และจากรูปแบบหนึ่งไปสูอีกรูปแบบหนึ่ง คุณคาของการออกแบบกับการดํารงชีวิต

1. คุณคาทางกาย คุณคาของงานออกแบบท่ีมีผลทางกาย คือ คุณคาท่ีมีประโยชนใชสอยในชีวิตประจําวันโดยตรง เชน ไถมีไวสําหรับไถนา แกวมีไวสําหรับใสน้ํา บานมีไวสําหรับอยูอาศัย เปนตน

2. คุณคาทางอารมณความรูสึก คุณคาของงานออกแบบท่ีมีผลทางอารมณความรูสึก เปนคุณคาท่ีเนนความช่ืนชอบ พงึพอใจ สุขสบายใจ หรือความรูสึกนึกคิดดานอ่ืนๆ ไมมีผลทางประโยชนใชสอยโดยตรง เชน งานออกแบบทางทัศนศิลป การออกแบบตก

Page 3: princeple of design

2

แตงหนา คุณคาทางอารมณความรูสึกนี้อาจจะเปนการออกแบบเคลือบแผงในงานออกแบบท่ีมีประโยชนทางกายก็ได เชน การออกแบบตกแตงบาน ออกแบบตกแตงสนามหญา ออกแบบตกแตงรางกายเปนตน

3. คุณคาทางทัศนคติ คุณคาของงานออกแบบที่มีผลทางทัศนคติ เนนการสรางทัศนคติอยางใดอยางหน่ึงตอผูพบเห็น เชน อนุสาวรียสรางทัศนคติใหรักชาติ กลาหาญหรือทําความดี งานจิตรกรรมหรือประติมากรรมบางรูปแบบ อาจจะแสดงความกดข่ีขูดรีด เพือ่เนนการระลึกถึงทัศนคติท่ีถูกท่ีควรในสังคม เปนตน

ในชีวิตประจําวัน ดเูหมือนวาเราจะไมไดสนใจกับงานออกแบบรอบๆ ตัวโดยตรง แตงานออกแบบท่ีมีอยู หลายส่ิงหลายอยางท่ีอยูใกลชิดหรืออยูกับเราจนกลายเปนสวนหนึง่ของการดํารงชีวิต เราอาจจะมองไมเห็นคุณคาโดยตรงตอเม่ือส่ิงนั้นไมมีอยูหรือขาดหายไป เราจะเหน็ความจําเปนชัดเจนข้ึน งานออกแบบก็เชนกัน ถาวัตถุท่ีเราเกี่ยวของอยูทุกวันนี้ขาดการออกแบบ หรือเปนการออกแบบท่ีไมด ีส่ิงตางๆ รอบตัวเราคงมีรูปลักษณท่ีไมนาดู นาเกลียด หรือไมนาใชสอยเอาเสียเลย ส่ิงเหลานั้นยอมสะทอนใหเห็นถึงความรูสึกนึกคิดและอารมณท่ีหยาบกรานของผูคนในสังคม สะทอนใหเหน็ถึงนักออกแบบท่ีไรฝมือ และถาสภาพแวดลอมเปนเชนนั้นจริง ก็คงทําใหความรูสึกนึกคิดของเราพลอยหดหูตามไปดวย การเกี่ยวของกับงานออกแบบในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการรูจักเลือก รูจักใช รูจักจัดในส่ิงท่ีสวยงามหรือใหไดงานออกแบบท่ีดนีัน้ เปนส่ิงท่ียอมรับกันเปนสากลวาผูนั้นเปนผูท่ีมีรสนิยมดี เปนอารยะชนท่ีควรไดรับการสรรเสริญ ซ่ึงจะเปนการพิจารณาคุณคาของความเปนมนุษยไปพรอมกัน นอกจากนั้นงานออกแบบรอบๆ ตัว ท้ังส่ิงของเคร่ืองใช ท่ีอยูอาศัย และสภาพแวดลอม นบัเปนส่ิงท่ีช้ีถึงความดีงามหรือตกตํ่าในสังคมนั้นดานหน่ึงดวยเชนกนั เม่ือนักโบราณคดีขุดพบศลิปวัตถุหรืองานออกแบบในอดีต นักโบราณคดีสามารถสรุปความคิดเห็นท่ีเกีย่วกับวถีิการดํารงชีวติ สภาพวัฒนธรรม ความเจริญรุงเรือง หรือความเส่ือมโทรมของกลุมชนผูสรางศิลปวัตถุนั้นได โดยยึดถือสภาพการออกแบบประกอบกับหลักฐานอ่ืนๆ เปนเคร่ืองพิจารณา ดวยเหตุนี้ การออกแบบในสังคมจึงเปนส่ิงสะทอนถึงวิถีการดาํรงชีวิตในสังคมไวดวย

1.1.2 การออกแบบกับสังคม การออกแบบนับเปนความพยายามของมนุษยในอันท่ีจะสรางสรรคส่ิงใหมๆ ให

เกิดข้ึนเพื่อจะนําประโยชนไปสูการดํารงชีวิตท่ีดีงาม ท้ังดานประโยชนใชสอยและความรูสึกนึกคิด การสรางสรรคยอมมีเปาหมายไปสูส่ิงท่ีดกีวาและเหมาะสมกวาท่ีเปนอยู ซ่ึงอาจจะเหมาะสมท้ังทางดานวัสดุอุปกรณในการผลิต กระบวนการผลิต ความนิยมชมชอบ สภาพเศรษฐกจิ ประโยชนใชสอย และคุณคาทางความงาม ตามท่ีทราบกันแลววา การออกแบบโดยท่ัวไปยอมรวมความถึงการวางแผนหรือการจัดระบบไวในความคิดคํานึง หรือวางแผนแลวสรางใหปรากฏเปนแผนงานหรือ

Page 4: princeple of design

3

รูปแบบท่ีรับรูได รูปแบบท่ีปรากฏขึ้นอาจจะเปนรูปแบบที่สรางข้ึนใหม หรือรูปแบบท่ีปรับปรุงข้ึนใหมกไ็ด สําหรับงานออกแบบทางทัศนศิลป หรือออกแบบส่ิงตางๆ จําเปนตองแสดงรูปแบบใหสามารถมองเห็นได ซ่ึงจะเปนรูปแบบสองมิติหรือสามมิติ

งานออกแบบนับเปนส่ือกลางความสัมพนัธระหวางมนุษยตอมนุษย และระหวางมนุษยกับวัตถุดวย งานออกแบบมีคุณคาตอมนุษย นับแตคร้ังสมัยหิน ต้ังแตการออกแบบเคร่ืองมือหินเพื่อใชลาสัตว และการออกแบบเคร่ืองแตงกาย เคร่ืองประดับ เพื่อผลทางความงามหรือความพงึพอใจ จนถึงปจจุบัน งานออกแบบกย็ังคงเปนส่ือกลางท่ีมีคุณคา และนับวันท่ีมนษุยมีความตองการทางดานวตัถุหรือตองการความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตมากเทาใด การออกแบบก็จะมีคุณคามากข้ึนเทานัน้ เม่ืองานออกแบบมีสภาพเปนส่ือกลางรวมกัน การออกแบบจึงไมอาจจะทําไดเพียงเพื่อความตองการสวนตน แตจะตองคํานึงถึงความตองการของผูอ่ืน และสัมพันธกับสภาพแวดลอม สภาพแวดลอมในท่ีนี้รวมความถึง สภาพวัตถุ วัฒนธรรมและพฤติกรรมของคนเราในสังคม แตก็มีงานออกแบบลักษณะหนึง่ ซ่ึงจะออกแบบเพ่ือความตองการของผูอ่ืนหรือไมก็ไดท้ังนี้ยอมข้ึนอยูกับความตองการของผูออกแบบ การออกแบบในลักษณะนีก้็คือ การออกแบบทางทัศนศิลป โดยเฉพาะอยางยิ่ง จิตรกรรม (Painting) และประติมากรรม (Sculpture) ซ่ึงเนนผลทางดานอารมณสะเทือนใจ ความรูสึกสัมผัสในความงาม และคุณคาทัศนคติ มากกวาประโยชนใชสอยท่ีเปนคุณคาทางกาย

ปจจุบันงานออกแบบทางทัศนศิลปไดขยายตัวออกไปอยางกวางขวางมากท้ังรูปแบบและเนื้อหา มีท้ังการเสนอในเร่ืองความงาม ความคิด จินตนาการ และจิตใตสํานึก ซ่ึงการออกแบบจะตองมีการฝกฝน มีความเชื่อ มีลักษณะเฉพาะตัว และสามารถออกแบบใหสัมพันธกับเปาหมายของงานแตละช้ินได เม่ืองานออกแบบทุกลักษณะมีสภาพเปนส่ือกลางในสังคม งานออกแบบยอมมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตในครอบครัวและในสังคมโดยตรง ซ่ึงเปนไปไดท้ังการสรางความดีงามในสังคม หรือทําใหสังคมเปนไปในทางไมดี งานออกแบบโดยท่ัวไปแลว ประโยชนและความงามยอมหมายถึงคุณคาในทางดีงาม แตบางคร้ังงานออกแบบก็อาจจะกระตุนใหเกิดความตองการ เกิดความฟุงเฟอ เกิดความเห็นแกตัว อันเปนวถีิทางท่ีไมถูกไมควรในสังคม ซ่ึงความดีงามของงานออกแบบจึงตองสัมพันธกับการรูจักประมาณตนของผูคนในสังคมดวย

งานออกแบบบางลักษณะ เชน งานออกแบบส่ือสาร หรืองานออกแบบทัศนศิลป อาจจะใชภาษาหรือภาพท่ีชักนําความรูสึกนึกคิกของผูรับไปในทางท่ีเลวรายได เชน ชักนําไปสูกามารมณ บิดเบือนความจริง ผิดศีลธรรมจรรยามารยาท งานออกแบบท่ีมีลักษณะเชนนั้นยอมพาสังคมไปในทางท่ีไมดีแนนอน ในทางตรงกันขาม ถางานออกแบบชักนําไปสูความดีงาม เชน การชวยเหลือ เอ้ือเฟอเผ่ือแผตอกัน ความรัก ความรวมมือ เอกลักษณของชาติ งานออกแบบท่ีโนมนาํสังคมเชนนั้น ยอมเปนงานออกแบบท่ีมีคุณคา

Page 5: princeple of design

4

ภาพแสดงผลงานประติมากรรมในสวนสาธารณะ

Page 6: princeple of design

5

ภาพแสดงประติมากรรมลอยตัวท่ีใหความรูสึกทางอารมณ

Page 7: princeple of design

6

ภาพแสดงผลงานจากการออกแบบภาพพิมพ และส่ือโฆษณา

ภาพแสดงผลงานออกแบบเครื่องแตงกาย

Page 8: princeple of design

7

ภาพแสดงถึงการออกแบบเครื่องใชในชีวิตประจําวนั

1.1.3 ความหมายของการออกแบบ เม่ือมีคําถามวา การออกแบบคืออะไร นักวชิาการตางๆ มักจะมีคําจํากัดความตางๆ

กัน ข้ึนอยูกับภูมิหลังทางการศึกษา ประสบการณ โลกทัศน และความสนใจของแตละบุคคล ซ่ึงสามารถพบไดในตําราทางการออกแบบตางๆ ในท่ีนี้จะขอนําตัวอยางของคําจํากัดความเหลานั้นมาพอเปนแนวทางดังนี ้

Page 9: princeple of design

8

การออกแบบคืออะไร การออกแบบนัน้นับไดวามีความหมายท่ีกวางขวางข้ึนกับความเขาใจและความเช่ือท่ีแตกตางกัน แตการที่จะส่ือความหมาย หรือกําหนดตามความเขาใจนั้นจะตองตีความ และใหความหมายรวมกัน ซ่ึงใน New model English – Thai dictionary volume ของ สอ.เสถบุตร กลาวถึงการออกแบบไววา การออกแบบ หมายถึง ความมุงหมายซ่ึงมิใชส่ิงท่ีเกิดข้ึนโดยปราศจากระเบียบแบบแผน การออกแบบ หมายถึง การวางแนวทางหรือเสนอรูปแบบท่ีมองเห็นอันเนื่องมาจากแนว

ความคิด อารี สุทธิพันธ ใหความหมายของการออกแบบไววา การออกแบบหมายถึง การรูจกัวางแผนเพื่อจะไดลงมือกระทําตามท่ีตองการและการรูจกัเลือกวัสดุ วธีิการ เพื่อทําตามท่ีตองการนัน้ โดยใหสอดคลองกับลักษณะรูปแบบ และคุณสมบัติของวัสดุแตละชนดิตามความคิดสรางสรรค หรือ หมายถึง การปรับปรุงรูปแบบผลงานท่ีมีอยูแลวหรือส่ิงตางๆ ท่ีมีอยูแลวใหเหมาะสมใหมีความแปลกความใหมเพิ่มข้ึน วรุณ ต้ังเจริญ ไดกลาวถึงการออกแบบไววา เปนการวางแผนสรางสรรครูปแบบโดยวางแผนจัดสวนประกอบของการออกแบบใหสัมพันธกับประโยชนใชสอย วัตถุและการผลิตของส่ิงท่ีตองการออกแบบนัน้ๆ การออกแบบคือ การสรางสรรคผลงานในรูป 2 มิติ และ 3 มิติ ใหเกิดความสวยงาม และสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนตามความเหมาะสมกับสภาพตางๆ การออกแบบคือ การสรางสรรคปรุงแตงสวนประกอบของศิลปะ เชน เสน แสง เงา สี ลักษณะผิว รูปราง เพื่อใหเกดิรูปทรงใหมตามความตองการซ่ึงใหเกดิประโยชนใชสอยและมีความงามในตัวเองอยางเหมาะสม การออกแบบคือ การแกปญหา และรูหลักการในศิลปะ นํามาใชใหเกดิประโยชนใชสอยและเกดิความงาม การออกแบบ จะเกี่ยวกับการควบคุม (Control) และความรูในหนาท่ีของเคร่ืองมือตางๆ (Function of Tools) ซ่ึงใชในการสรางสรรคผลงาน (Creation) แตท่ีมากกวานั้นคือ การออกแบบเปนส่ิงท่ีเจริญเติบโตได สรางความหวัง ความฝน ความตองการ และแรงบันดาลใจใหกับมนุษย สวนนักออกแบบ (Designer) คือผูคิดคนหาแนวทางใหมๆ ในการผสมผสานรูปราง (Shapes) และสีสัน (Colors) ท่ีตองคํานึงถึงการใชสอย หรือประโยชนจากการออกแบบนั้นๆ การออกแบบคือ การวางแผนหรือการเสนอแนะแนวคิดสรางสรรคส่ิงใหมๆ ท่ีมีความมุงหมาย มีระเบียบแบบแผน ตลอดท้ังการวางโครงสรางเพื่อการปฏิบัติในเร่ืองประโยชนใชสอย และความงามเปนอยางดี (Form and Function)

Page 10: princeple of design

9

จากความหมาย คําจํากัดความ คํานิยาม ของการออกแบบ พอสรุปความหมายไดดังนี ้1. งานออกแบบหมายถึง ส่ิงท่ีมนุษยสรางข้ึนเทานั้น 2. การออกแบบ เปนความพยายามสรางใหเกิดความเปล่ียนแปลง โดยการจดัระเบียบดวย

ความมุงม่ันท่ีจะแกปญหา และสนองประโยชนท้ังในสวนบุคคลและในสวนของสังคมโดยรวม

3. คุณสมบัติของนักออกแบบควรเปนผูมีความรู ความชํานาญ ตลอดจนประสบการณและเปนผูท่ีมีความคิดสรางสรรคมีจินตนาการ

มาโนช กงกะนันทน ไดใหคําจํากัดความของการออกแบบวา คือกระบวนการสรางสรรค

ประเภทหน่ึงของมนุษย โดยมีทัศนธาตุ และลักษณะของทัศนธาตุเปนองคประกอบ ใชทฤษฎีตางๆ เปนแนวทางและใชวัสดนุานาชนิดเปนวตัถุดิบในการสรางสรรค โดยท่ีนักออกแบบจะตองมีข้ันตอนในการปฏิบัติงานหลายข้ันตลอดกระบวนการสรางสรรคนั้น ผลงานออกแบบจะเกิดข้ึนเพื่อตอบสนองความตองการในการดํารงชีวิตประจําวนัใหมีความสะดวกสบายข้ึน หรือเพื่อแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนทางกายภาพหรือเพือ่พัฒนาชีวิตความเปนอยูของมนุษยใหมีคุณภาพสูงข้ึนกวาเดิม

แตความหมายท่ีโดดเดนทําใหเขาใจในความหมายของการออกแบบมากท่ีสุดนาจะเปนคํากลาวท่ีวา “Design is a creative action that human needs”

1.1.4 การลอกเลียนแบบกับการออกแบบ มักจะมีความสับสนในเร่ืองของการออกแบบวาส่ิงใดคือการออกแบบและส่ิงใด

คือการลอกแบบหรือการเลียนแบบ ดังนั้นจึงขอใหคําจํากัดความของความแตกตางเหลานั้นดังนี ้การลอกแบบ หมายถึงการกระทําตามส่ิงใดส่ิงหนึ่ง โดยทําใหเหมือนไมมีความผิดเพีย้น

จากตนแบบ เชน การลอกลาย การคัดลอกตนแบบหรือ การทําสําเนา (Copy) เชน การถายเอกสาร การพิมพหนังสือ ฯลฯ

การเลียนแบบ หมายถึงการกระทําในแนวทางของส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงยังคงความรูสึกเหมือนตนแบบถึงแมจะมีการดัดแปลงหรือปรับปรุงข้ึนจากเดิมบาง เชน การปนเคร่ืองดินเผาในแบบบานเชียง หรือแบบเวียงกาหลง หรือการทําลวดลายผาทอยกดอกในแบบลําพูน ฯลฯ

การออกแบบ หมายถึงการสรางส่ิงใหมหรือปรับปรุงของเดิมโดยมีแนวคิดและวิธีการท่ี

อาจจะแตกตางรวมท้ังไดความรูสึกท่ีใหมแตกตางจากเดิมท้ังนี้โดยมีหลักการและสนองตอความตองการในการบริโภคใหมีพัฒนาการท่ีดข้ึีน เชนการนําหวายหรือไผมาจักสานเปนของใช เปนกระบุง เปนเส่ือ ฯลฯ เพื่อสนองตอการใชงานโดยผูผลิตนั้นมีจินตนาการในความงามซ่ึงสอดคลองกับการใชสอย ส่ิงเหลานี้สามารถเรียกไดวาเปนการออกแบบ

Page 11: princeple of design

10

1.2 ขอบเขตของการออกแบบ 1.2.1 พื้นฐานการออกแบบ เม่ือกลาวถึงการออกแบบนั้นยอมกินความอยางกวางขวาง เชน การออกแบบทาง

ทัศนศิลป ส่ิงของเคร่ืองใช การตกแตง งานอุตสาหกรรม สินคา เคร่ืองประดับ สัญลักษณ เคร่ืองจักรกล ส่ิงพิมพ ฯลฯ การออกแบบมิไดมีความหมายหรือมีคุณคาอยูเฉพาะในตัวของมันเองเทานั้น แตงานออกแบบเปนตัวกําหนดหรอืเสริมคุณคาใหกับส่ิงใดส่ิงหนึ่งซ่ึงหวังผลจะใหไดคุณคาทางความงาม เชน การสรางสรรคจิตรกรรมของศิลปนก็ตองเร่ิมตนดวยการออกแบบ โดยจะออกแบบไวลวงหนาหรือพรอมไปกับการสรางสรรคงานก็ได หรือการท่ีชางตัดเย็บเส้ือผาจะตัดเส้ือผาแตละชุดก็จะตองออกแบบเส้ือผาชุดนั้นใหไดแบบท่ีถูกใจกอน

สําหรับการออกแบบในข้ันพืน้ฐานมิไดเนนการออกแบบเฉพาะประโยชนดานใดดานหนึ่งเทานัน้ แตมุงสรางความเขาใจและการฝกปฏิบัติกวางๆ สรางความเขาใจตองานออกแบบในระดบัพื้นฐาน เม่ือเขาใจและสามารถสรางสรรคงานออกแบบพื้นฐานได กย็อมเปนท่ีหวังไดวา เม่ือไปออกแบบส่ิงใดก็จะสามารถประยุกตพื้นฐานไปใชไดอยางกวางขวาง เชน เม่ือสามารถออกแบบรูปทรงเรขาคณิตใหประกอบกันไดอยางสวยงาม เม่ือไปออกแบบปกหนังสือ หรือตกแตงเวทีการแสดง ก็สามารถประยุกตความชํานาญจากการออกแบบรูปทรงเรขาคณิตไปใชกับงานออกแบบนั้นไดเปนตน การออกแบบใดๆ ก็ตาม ยอมไดรับการปรับปรุงเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลามนุษยไมเคยพึงพอใจกับส่ิงใดส่ิงหนึ่งโดยไมเปล่ียนแปลง ตอเม่ือมีการพฒันาเปล่ียนแปลงอยางเหมาะสมกับประโยชนและความพึงพอใจแตละชวงเวลา ส่ิงนั้นจึงจะไดรับการยอมรับเปนอยางดี งานออกแบบทั้งหลายจึงปฏิเสธการพัฒนาไมได เราอาจจะสังเกตไดจากส่ิงท่ีใกลๆ ตัว เชน ในอดีตกาลเราอาจใชกะลาหรือกระบวยสําหรับตักน้ําดื่ม ตอมาก็มีขันใสน้ําเขามาแทนท่ี และถึงปจจุบันเราก็นิยมใชแกวน้ําในรูปแบบและลวดลายตางๆ กันสําหรับใสน้ําดื่ม เปนตน

ปจจัยหลักท่ีทําใหงานออกแบบเปล่ียนแปลง คือ 1. ความตองการในการดํารงชีวิต จากสังคมท่ีมีประชากรจํานวนไมมากนัก ไดขยายมาสูสังคมขนาดใหญท่ีมีจํานวนมากมายและจากสังคมท่ีใชชีวิตงายๆ ในสภาพพื้นบาน ซ่ึงไดเคร่ืองอุปโภคบริโภคมาจากธรรมชาติ และพืชพนัธธัญญาหารที่เพาะเล้ียงกันข้ึนเองในชุมชนเปล่ียนมาสูสังคมรูปแบบท่ีมีเทคโนโลยีใหมๆ เขามาเกี่ยวของ สังคมชนบทท่ีเร่ิมมีไฟฟาเขาไปถึง วิทยุ โทรทัศน เคร่ืองจักรกล และเคร่ืองอํานวยความสะดวกตางๆ ไดกลายเปนความตองการของประชาชนท่ัวไป เม่ือประชาชนตองการส่ิงอํานวยความสะดวกและเคร่ืองใชไมสอยในชีวิตประจําวันมากข้ึน พรอมกับจํานวนประชากรที่เพิ่มข้ึน ทําใหเคร่ืองใชไมสอยตางๆ ตองผลิตมากข้ึนตามกนัไป เม่ือมีการผลิตมากข้ึนใหเพียงพอกับความตองการของประชากร ตลาดการแขงขันก็จะตามมา การออกแบบจึงกลายเปนปจจยัหลักในการแขงข้ันนั้นดวย รูปแบบหรือการ

Page 12: princeple of design

11

ออกแบบส่ิงของเคร่ืองใชตางๆ จึงตองพัฒนาอยูตลอดเวลา เพื่อใหเปนท่ีตองใจและตรงกับความตองการของผูบริโภค 2. ความกาวหนาทางวัสดุอุปกรณ สังคมในปจจุบันมีแนวโนมไปสูสภาพสังคมท่ีสัมพันธกับเทคโนโลยสีมัยใหมมากข้ึน เทคโนโลยีหรือประยุกตวิทยาสมัยใหมไดสรางสรรควัสดุอุปกรณท่ีกาวหนาข้ึนมากมาย ซ่ึงวัสดอุุปกรณเหลานั้น ก็เปนไปเพื่อผลิตส่ิงของเคร่ืองใชท่ีกาวหนาตอไปอีก การพัฒนาทางวัตถุเชนนีจ้ะเปนการพัฒนาในรูปวัฏจกัร คือ วัสดุอุปกรณผลักดันใหเกิดวัตถุส่ิงของเคร่ืองใชใหม และส่ิงของเคร่ืองใชใหมเหลานั้นก็ผลักดนัใหเกิดการผลิตวัสดุอุปกรณใหมๆ เชนกนั และถาสภาพสังคมยังคงเปนอยูเชนนี้ วัฏจักรของการผลิตก็จะไมรูจบส้ิน นอกจากนัน้แลววัสดุอุปกรณยังเปนตัวการสําคัญท่ีผลักดันใหเกิดการพฒันาทางดานการออกแบบข้ึนดวย วัสดุอยางหนึ่งยอมเหมาะสมกับการออกแบบในลักษณะหน่ึง เชน หวาย ยอมเหมาะสมกับการสรางเปนโตะ เกาอ้ี ในลักษณะหน่ึง สวนวัสดุสังเคราะหใหมๆ ยอมเหมาะสมกับการออกแบบโตะ เกาอ้ี ในอีกลักษณะหนึ่ง สวนอุปกรณในการผลิตก็เชนกัน เม่ือเราผลิตภาชนะใสของดวยมือ เชน เคร่ืองจักสาน มีดและเคร่ืองมืองายๆ ยอมไดภาชนะในลักษณะหนึ่ง แตเม่ือใชเคร่ืองจักรกลผลิตภาชนะเชนพลาสติก การออกแบบภาชนะตองเปล่ียนแปลงไปตามความเหมาะสมของอุปกรณและวัสดุ เปนตน 3. ทรรศนะสวนบุคคลของนักออกแบบ เม่ือการออกแบบไดรับการยอมรับนับถือวามีความจําเปนอยางยิ่งในสังคม การศึกษาทางดานการออกแบบก็ขยายตัวกวางข้ึน นอกจากศึกษาการออกแบบท่ัวๆ ไป ยังมีการศกึษาการออกแบบเฉพาะดานอีกดวย เชน การออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบโฆษณา การออกแบบตกแตงเคร่ืองแตงกาย การออกแบบสิ่งพิมพ เทานัน้ยังไมกวางขวางพอ เม่ือสังคมมีการติดตอส่ือสารถึงกันอยางงายและสะดวก ทําใหการศกึษาทางดานการออกแบบ มีแหลงความรู และรูปแบบของงานออกแบบตางๆ ติดตอถึงกันและรับอิทธิพลตอกันงาย การศึกษาดานการออกแบบซึ่งเปนสวนหนึ่งในทางทัศนศิลป ยังไดแบงเปนกลุมความคิด สถาบันความคิด และความนิยมท่ีแตกตางกัน เกดิทรรศนะท่ีหลากหลายออกไป ตามความพึงพอใจของนักออกแบบแตละคน ซ่ึงส่ิงเหลานี้ไดผลักดันใหเกดิการแขงขันและพฒันางานออกแบบไปอยางรวดเร็วอีกปจจยัหนึ่ง

1.2.2 ลักษณะการออกแบบสรางสรรค การออกแบบสรางสรรค เปนการออกแบบสองหรือสามมิติท่ีมุงเสนอความงามหรือ

อารมณสะเทือนใจ เพื่อใหเกดิอารมณ ความรูสึก ความคิด และจินตนาการตอผูช่ืนชมผลงาน โดยท่ีการออกแบบสรางสรรคจะเนนการเสนอความคิดริเร่ิมท่ีแปลกใหม เราใจ และดีงาม ซ่ึงการสรางสรรคนั้นอาจจะพฒันาสิ่งเดิม หรือสรางข้ึนใหมกไ็ด เชนกนั ซ่ึงลักษณะของงานออกแบบสรางสรรคนั้นสามารถแบงออกไดดังนี ้

Page 13: princeple of design

12

งานออกแบบสรางสรรคในท่ีนี้มี 5 ลักษณะ คือ 1. งานออกแบบในลักษณะของงานจิตรกรรม (Painting) 2. งานออกแบบในลักษณะของงานประติมากรรม (Sculpture) 3. งานออกแบบในลักษณะของงานส่ือประสม (Mixed Media) 4. งานออกแบบในลักษณะของงานภาพพิมพ (Printmaking) 5. งานออกแบบในลักษณะของงานภาพถาย (Photography)

งานออกแบบในลักษณะจิตรกรรม งานจิตรกรรม คือ งานศิลปะท่ีสัมผัสดวยประสาทตาซ่ึงสรางข้ึนบนพื้นระนาบสองมิติโดยพยายามบันทึกประสบการณแสดงอารมณความรูสึกหรือแสดงทัศนคตไิวบนระนาบสองมิตินั้น เม่ือการออกแบบสรางสรรคเนนการเสนอความคิดสรางสรรคเปนส่ิงสําคัญ การออกแบบจติรกรรมซ่ึงเปนสวนหนึ่งของการออกแบบสรางสรรค จึงจําเปนจะตองแสดงความคิดสรางสรรคในผลงานแตละช้ินใหปรากฏ การสรางจิตรกรรมอาจจะคลายกับการเขียนบทกวใีนแงท่ี จินตกวีจะตองสรางสรรคผลงานกวแีตละช้ินไมใหซํ้ากัน และสรางอารมณ ตลอดจนแนวคิดไวในกวีแตละบท งานออกแบบในลักษณะของงานประติมากรรม การออกแบบประติมากรรมในแงความคิดและการสรางสรรค มีวิถีทางคลายกับงานออกแบบจิตรกรรม จะตางกันตรงส่ือสําหรับแสดงออก กระบวนการผลิต และลักษณะของผลงาน โดยส่ือท่ีแสดงออกอาจเปน ดนิ ดนิน้ํามัน ข้ึผ้ึง ไม โลหะ ปูนปลาสเตอร พลาสติก กระบวนการผลิตก็แตกตางกนัออกไปเปน การปน การแกะ การสลัก การเช่ือมติดตอ สวนลักษณะของผลงานมักมีลักษณะเปนสามมิติ คือ มีความกวาง ความยาว และความหนา ท่ีสามารถตรวจสอบได ถาพิจารณากันอยางกวางขวางแลวจะพบวา สามารถผลิตดวยส่ือและกระบวนการผลิตท่ีหลากหลายกวางานทางดานจิตรกรรม ทําใหการสรางสรรคสามารถกระทําไดกวางขวางข้ึน งานออกแบบในลักษณะของงานส่ือประสม การออกแบบสื่อประสมเปนการออกแบบท่ีนิยมพรอมกับศิลปะสมัยใหมในคริสตศตวรรษท่ี 20 การออกแบบส่ือประสมก็คือ การออกแบบท่ีจดัรวมส่ือตางๆ เชน สี กระดาษ ไม โลหะ พลาสติก ฯลฯ เขาดวยกัน สรางความผสานกลมกลืนของส่ือตางๆ ซ่ึงการสรางสรรคจะตองสรางสรรคหลายๆ ดาน ท้ังการเลือกส่ือ การจัดองคประกอบเขาดวยกัน และการสรางรูปแบบในผลงานแตละช้ิน ปจจุบัน การออกแบบส่ือประสมขยายตัวกวางมากข้ึน ผูออกแบบบางคนอาจจะสรางผลงานประกอบ แสง เสียง ธรรมชาติ หรือเคร่ืองจักรกล ซ่ึงก็ไดงานท่ีแปลกแตกตางกันออกไป

Page 14: princeple of design

13

งานออกแบบในลักษณะของงานภาพพิมพ การออกแบบภาพพิมพท่ีมุงเนนความคิดสรางสรรค เปนการออกแบบที่พิจารณาถึงความคิดสรางสรรค ท้ังในแงของรูปแบบและเนื้อหา รูปแบบหมายถึงสภาพการรวมตัวของสวนประกอบในการออกแบบ และเทคนิคตางๆ ท่ีปรากฏใหเหน็ได ทางดานเนื้อหาก็คือ ภาพและเนื้อเร่ืองท่ีสัมพันธอยูกับรูปแบบ กระบวนการทํางานของภาพพิมพมีหลายลักษณะ ท้ังกระบวนการงายๆ และกระบวนการท่ียุงยากซับซอน ซ่ึงอาจจะศึกษารายละเอียดไดจากเร่ืองการพิมพโดยเฉพาะ แมกระบวนการพิมพจะมีวิธีคอนขางตายตัว แตก็อาจสรางสรรควิธีการตางๆ ข้ึนใหม หรือนําวิธีการตางๆ มารวมกันเพื่อสรางสรรคก็ได งานออกแบบในลักษณะของงานภาพถาย นับแตการถายภาพไดเกิดข้ึนในยุโรปชวงคริสตศตวรรษท่ี 19 ระบบและวัสดุอุปกรณในการถายภาพไดพฒันาไปอยางกวางขวางและมีประสิทธิภาพ โดยท่ัวไปแลว การถายภาพอาจเปนการบันทึกภาพ คน สัตว ส่ิงแวดลอมท่ัวไป แตกมี็ผูพยายามสรางสรรคงานถายภาพ ใหมีรูปแบบและเนือ้หาท่ีแปลกนาสนใจ พยายามท่ีจะเสนอความคิดและอารมณความรูสึกของตนเขาไปในภาพถาย อาจจะดวยเทคนคิการถายภาพ เทคนิคการอัดภาพ และเทคนิคอ่ืนๆ ท่ีสามารถสนองความพึงพอใจของผูออกแบบหรือผูถายภาพได การออกแบบสรางสรรคอาจจะมีวิธีการดังตอไปนี ้ 1. การสรางส่ิงใหมข้ึนมา 2. การปรับปรุงจากของเดิมท่ีมีอยู 3. การยายตําแหนงจากของเดิม 4. การนํารูปแบบหลายๆ รูปแบบมาผสมกัน ฯลฯ งานออกแบบสรางสรรคโดยท่ัวไปแลวเปนงานท่ีไมไดมุงถึงประโยชนใชสอยทางกาย แตเปนการสรางงานเพ่ือใหเกิดความงามหรืออารมณรวม หรือเกดิทัศนคติบางอยางซ่ึงการสรางสรรคเชนนี้ชวยทําใหเกิดผลงานมากมายหลายลักษณะ และพอจะแยกเนื้อหาพิจารณาไดดังนี ้ 1. การแสดงออกทางจิตวิทยา 2. การแสดงออกทางความรัก เพศ และชีวติครอบครัว 3. การแสดงออกทางศรัทธาความเช่ือทางจติวิญญาณ 4. การแสดงออกทางความตายและอารมณท่ีนากลัว 5. การแสดงออกทางรูปแบบท่ีงดงาม 6. การแสดงออกทางวัตถุส่ิงแวดลอม 7. การแสดงออกทางเทคโนโลยีปจจุบัน 8. การแสดงออกทางบรรยายสังคม

Page 15: princeple of design

14

9. การแสดงออกทางการเมอืงและลัทธิความเช่ือ 10. การแสดงออกทางการเสียดสีสังคม

1.3 ประเภทของการออกแบบ

1.3.1 โครงสราง แนวคิดและประเภทของการออกแบบ โครงสรางแนวคิดและประเภทของการออกแบบนัน้มีผูใหความเห็นไวอยางหลากหลายแตโดยสรุปรวมแลวมีโครงสรางและแนวคิดท่ีนักออกแบบตองคํานึงถึงดังนี้ 1. เม่ือนักออกแบบออกแบบมาแลวตองเกดิประโยชนใชสอยท่ีด ี 2. เม่ือออกแบบงานแลวมีความงามตามตองการ 3. ผลงานออกแบบที่ดีตองใหความพอใจประทับใจแกผูท่ีไดพบเหน็ 4. ผลงานออกแบบที่ดีตองคัดเลือกวัสดุไดเหมาะสมกับงานท่ีออกแบบ 5. การออกแบบท่ีดีตองอยูบนรากฐานของความประหยัด 6. การออกแบบท่ีดีตองคํานงึถึงสภาวะและผลกระทบทางสังคม ส่ิงแวดลอม แนวคิดท่ีใชในการออกแบบนั้นตองคํานึงถึง 1. โครงรางท้ังหมด (Over-all contours) 2. การเนนเสน (Dominant Lines) ท่ีใชในงานออกแบบ เชน เสนตรง เสนโคง 3. การเนนผิวหนา หรือผิวสัมผัส (Dominant Surfaces) ของงาน เชน รูปแบน รูปนูน หรือ ความหยาบ ละเอียด เปนมันวาว ของงานออกแบบ

4. การเนนรูปราง (Dominant Solid) เชนรูปลูกบาศก หรือทรงกลม ทรงกระบอก 5. บริเวณดึงดดูความสนใจ (Area of Chief Interest) เปนสวนสําคัญในการสรางความพึงพอใจในเบ้ืองตนตองานออกแบบ หรืออาจเรียกวาเปนจดุสนใจหลักของงาน เชน รูปแบบของหนากากวิทยุท่ีถูกออกแบบใหมใหมีปุมปรับแปลกใหม มีขนาดใหญกวาปกติ เปนตน

6. สวนสําคัญรอง (Less Dominant Area) เปนสวนท่ีชวยสงเสริมจุดสนใจใหมีความประสานกลมกลืนทําใหเกิดองคประกอบของความงามอยางพอเหมาะ

7. อารมณท้ังหมด (The Mood of a Whole) หมายถึงภาพโดยรวมของงานออกแบบวาให ความรูสึกเชนไร เชน ใหความรูสึกทันสมัย หรือใหความรูสึกถึงความเกา โบราณ หรือ รวมสมัย เปนตน

ส่ิงเหลานี้เปนแนวคิดข้ันตนสําหรับการออกแบบท่ีดี แตส่ิงสําคัญประการหนึ่งของการออกแบบท่ีดี คือ ตองมีการรวบรวมขอมูล (Collect Facts) โดยใชการสังเกต (Direct Observation) หรือการรวบรวมขอมูลในเชิงสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจในระดับลึกตอไป

Page 16: princeple of design

15

มนุษยอาศัยอยูบนโลกท่ีแวดลอมไปดวยผลงานท่ีเกิดจากการกระทําของมนุษย การเปล่ียนแปลงรูปทรงทางธรรมชาติใหมีความเหมาะสมกับความตองการในการใชงานและความตองการที่แสดงออกถึงความคิดความรูสึกเปนจุดมุงหมายของมนุษย แตความตองการของมนุษยไมมีขีดจํากัดจึงเปนแรงผลักดนัใหเกิดการสรางสรรคส่ิงใหมและการผลิตอยางตอเนื่องท้ังส่ิงท่ีมีความจําเปนพืน้ฐานของการมีชีวิตการใชชีวิต เชน เคร่ืองนุงหม ท่ีอยูอาศัย และส่ิงท่ีเกินความจาํเปนตางๆ ตลอดจนส่ิงท่ีใชในการตอสูและทําลายลางลวนมาจากการสรางสรรคและออกแบบเพื่อแกไขปญหาของมนุษยเอง การเลือกท่ีจะแกไขปญหาเหลานั้นนกัออกแบบเปนผูมีสวนรวมอยางมากท่ีจะกอผลกระทบท้ังในดานบวก และดานลบ ดังนั้นนักออกแบบจึงควรตองไดรับการฝกฝนเฉพาะทาง อาจกลาวไดวาส่ิงท่ีมนุษยไดออกแบบมานั้นเม่ือนํามาจดัเปนพวกใหญๆ สามารถแบงไดดังนี ้

ประเภทของการออกแบบ (Types of Design) นั้นสามารถแบงออกไดเปน 3 กลุมใหญคือ 1. การออกแบบระบบ (System Design) หรือการออกแบบโครงสราง (Structural Design) หมายถึงการออกแบบในลักษณะการจดัวางระบบหรือระเบียบแบบแผนเพ่ือใหการทาํงานเปนไปไดอยางราบร่ืนและมีประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย และเปนมาตรฐาน งานในลักษณะนี้มีท้ังท่ีเปนรูปธรรมและนามธรรม เชนการออกแบบโครงสรางอาคารท่ีสามารถเห็นเปนรูปธรรมได หรือการออกแบบจัดผังองคกรดานการบริหารที่ไมสามารถเห็นเปนรูปธรรมไดอยางชัดเจนนัก 2. การออกแบบสภาพแวดลอม (Environmental Design) หมายถึงการออกแบบในลักษณะการสรางส่ิงตางๆ ในสภาพแวดลอมของมนุษย ต้ังแตการวางผังเมืองซ่ึงนับเปนสภาพแวดลอมขนาดใหญ การวางผังชุมชนท่ีมีขนาดเล็กลง จนถึงการออกแบบสถาปตยกรรม สวนประกอบภายนอกและภายในอาคาร ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะท่ีเปนงานออกแบบท่ีมีความเกีย่วของท้ังทางดานระบบและลักษณะรูปทรงเขาดวยกัน 3. การออกแบบส่ิงของ (Artifact Design) หมายถึงการออกแบบขาวของเคร่ืองใชท่ีสัมผัสโดยตรงกับมนุษยและเปนสวนหนึ่งของสภาพแวดลอม ถาเปรียบกบัการออกแบบระบบและสภาพแวดลอมจะพบวาการออกแบบส่ิงของเกี่ยวของและอยูใกลชิดมนุษยมากกวา มีขนาดเล็กกวาและเปนงานท่ีมีความละเอียดลึกซ้ึงในแงของรูปทรง การใชสอย และการผลิตซ่ึงทําใหไดท้ังรูปงานหัตถกรรมและอุตสาหกรรม

1.3.2 ลักษณะงานออกแบบ สถาปนิกคนหนึ่งกลาวถึงงานออกแบบสถาปตยกรรมของเขาวา “นอยคือมาก” ดดยนัยความหมายท่ีวา การออกแบบของเขายึดถือรูปแบบท่ีเรียบงาย ไมยุงยากเกินความจําเปน แตใหไดความสงางามมากท่ีสุดเทาท่ีจะมากได ใหไดคุณประโยชนมากท่ีสุด ถาพิจารณาความคิดขอนี้จะพบวา เปนลักษณะความคิดรวมสมัยเพราะงานออกแบบในปจจบัุนสวนมากจะเนนรูปแบบท่ีเรียบ

Page 17: princeple of design

16

งายอาจจะเปนผลมาจากความตองการวัสดอุุปกรณ และกรรมวิธีการผลิตตามท่ีกลาวถึงแลว และความเดนนาสนใจอาจจะเปนความงามในรูปแบบใหมท่ีทดแทนงานออกแบบท่ีมีลักษณะตกแตงหรูหราในรูปแบบเกาๆ ก็ได ลักษณะเดนนาสนใจจะเปนความเดนบนพื้นฐานของความเรียบงายท่ีสะดุดตา หรือประทับใจดวยโครงสราง (Structure) ของรูปแบบมิใชประทับใจดวยการตกแตง (Decoration) อยางไรก็ตามเราสามารถแยกแยะงานออกแบบไดเปนแระเภทดังนี ้ 1. งานออกแบบเพื่อการอยูอาศัย 2. งานออกแบบเพื่อการใชสอย 3. งานออกแบบเพื่อการเผยแพร 4. งานออกแบบเพื่อเสนอความงาม 5. งานออกแบบเพื่อการดํารงชีวิต งานออกแบบเพ่ือการอยูอาศัย งานออกแบบประเภทนี้เปนการออกแบบเพ่ือประโยชนทางกายท้ังชีวติในบานและในสังคม เปนงานออกแบบขนาดใหญท่ีคนสามารถเขาไปอยูอาศัย หรือมีสวนรวมในงานออกแบบนั้นๆ เชน งานออกแบบสถาปตยกรรม งานออกแบบตกแตงภายในและภายนอก งานออกแบบผังเมือง เปนตน งานเหลานี้นอกจากผูออกแบบจะตองคํานึงถึงการใชงาน บริเวณวาง และความงามแลว ยังตองคํานึงถึงโครงสราง วัสดุ และการกอสราง ซ่ึงตองสัมพันธกับงานของวิศวกรอีกดวย งานออกแบบเชนนีจ้ึงมิใชงานออกแบบในขอบขายของศิลปะเทานั้น แตจะตองเกี่ยวกับวิทยาศาสตรโดยตรงดวย ยกเวนการออกแบบตกแตงภายในและภายนอก (Interior and Exterior Design) ท่ีอาจจะออกแบบโดยไมตองเกี่ยวของกับงานของวิศวกรโดยตรง งานออกแบบเพ่ือการใชสอย งานออกแบบเพ่ือการใชสอย เปนการออกแบบส่ิงของเคร่ืองใชในชีวิตประจําวนั ท้ังขนาดใหญและขนาดเล็ก งานออกแบบขนาดใหญ คือยานพาหนะ เชน รถยนต เรือ เกวยีน เคร่ืองบิน งานออกแบบเพ่ือการใชสอยขนาดเล็ก เชน งานออกแบบเคร่ืองเรือน งานออกแบบเคร่ืองปนดินเผา งานออกแบบของเด็กเลน งานออกแบบเคร่ืองประดับ เปนตน การออกแบบส่ิงของเคร่ืองใชเหลานี้ ประโยชนใชสอยและความงามไดกลายเปนส่ิงท่ีสัมพันธกันอยางแยกไมออก อดีตท่ีผลิตจํานวนนอยเพื่อใชงานในชุมชนของตน ปจจุบันไดเปล่ียนไปเปนการผลิตจํานวนมาก (Mass Production) เพื่อใหเพียงพอกับความตองการของประชาชนท่ีขยายตัวกวางข้ึน ทําใหรูปแบบ วัสดุ ประโยชนใชสอย และกรรมวิธีการผลิตไดพัฒนาไปอยางกวางขวางดวย

Page 18: princeple of design

17

งานออกแบบเพ่ือเผยแพร งานออกแบบเพ่ือเผยแพร คือ งานออกแบบท่ีมุงชักชวน เรียกรองหรือเผยแพรผลิตภัณฑ บริการ และความคิดตางๆ ซ่ึงเปนงานในลักษณะส่ิงพิมพ งานออกแบบบรรจุภัณฑ งานโฆษณา โดยเฉพาะงานออกแบบโฆษณา (Advertising Design) ไดแยกส่ือออกไปอยางกวางขวาง เชน งานโฆษณาในส่ิงพิมพ วิทยุ โทรทัศน โปสเตอร ปายโฆษณา โฆษณาทางไปรษณีย ฯลฯ งานออกแบบเหลานี้เปนงานออกแบบท่ีเดนในสังคมระบบทุนนิยม (Capitalism) เปนงานท่ีเกี่ยวของกบัศิลปะและจิตวทิยาโดยตรง ซ่ึงผูออกแบบจะตองมีความเขาใจถึงความตองการของมนุษย เขาใจถึงวัฒนธรรมในแตละชุมชน และสามารถสรางสรรคงานออกแบบใหสอดคลองกับความตองการขางตนได นอกจากนั้นงานออกแบบเผยแพรจะตองคํานึงถึงจริยธรรมในสังคมดวย มิใชหวงัเพียงผลประโยชนโดยมิไดคํานึงถึงความเส่ือมทรามในสังคม เชน การปลุกเราทางเพศ การทําลายศิลปวัฒนธรรม การสรางความฟุงเฟอเปนตน งานออกแบบเพ่ือเสนอความงาม งานออกแบบเพ่ือเสนอความงามในท่ีนี้ กําหนดขอบเขตไวสําหรับงานออกแบบทางทัศนศิลป โดยเฉพาะอยางยิ่ง การออกแบบในงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพมิพ ซ่ึงการออกแบบในลักษณะน้ี เปนการหวังผลใหผูช่ืนชมเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ และซาบซ้ึงตอความงาม ความคิด หรือทัศนคติบางอยางโดยท่ีความซาบซ้ึงไมไดมีผลประโยชนทางกายแตอยางใด เปนคุณคาทางอารมณความรูสึกท่ีอาจมีผลตอการพักผอน การชื่นชมตอธรรมชาติแวดลอม ทัศนคติท่ีดีงามตอการดํารงชีวิต หรือการส่ังสมอุดมการณท่ีดี การออกแบบทางจิตรกรรมและประติมากรรม ไดพัฒนาไปอยางกวางขวางและหลากหลายรูปแบบ ตามสภาพความคิด ความเช่ือ กลุม ลัทธิ ซ่ึงสรางสรรคคนควากันอยางไมรูจบส้ิน งานออกแบบเพ่ือการดํารงชวิีต งานออกแบบประเภทนี้เปนการออกแบบเพ่ือชีวิตการเปนอยูหรืออาชีพในชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่ง การออกแบบเพื่องานกสิกรรม เล้ียงสัตว การประมง ซ่ึงเปนอาชีพหลักสําหรับคนไทย เชน การจัดวางแนวปลูกพืช การจดัชวงหางปลูกตนไม ทําโรงเล้ียงสัตว ทําโปะปลาทู ฯลฯ การออกแบบเพื่อการดํารงชีวิตเชนนี้ อาจจะดูเปนเร่ืองปกติธรรมดา แตผูดํารงอาชีพตางๆ ก็ไดมีการออกแบบวางแผนกันอยูตลอดเวลา แมจะไมไดออกแบบบนกระดาษใหรับรูได แตกไ็ดมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงโดยออกแบบหรือวางแผนกันอยูในใจ ถาไดมีการศึกษาคนควาหรือฝกฝนการออกแบบเพื่อการดํารงชีวิตใหเหมาะสมกับอาชีพแตละดาน เชน การกสิกรรมท่ีออกแบบใหสัมพันธกับการระบายน้ํา ธรรมชาติของพืชผักแตละอยาง หรือออกแบบใหสัมพันธกับการใชเคร่ืองทุนแรง ฯลฯ ถาไดมีการออกแบบกันอยางเหมาะสมแลว ก็ยอมเปนท่ีหวังไดวา อาชีพการงานตางๆ จะไดผลงานท่ีมีท้ังความงาม ความประณีต และผลิตผลอันสมบูรณเพิ่มข้ึน

Page 19: princeple of design

18

1.3.3 ลักษณะของนักออกแบบท่ีด ี การศึกษาและฝกปฏิบัติงานออกแบบในระดับเบ้ืองตน เปนการศึกษาใหมีความรู

ความเขาใจ และความสามารถในระดับพืน้ฐาน เพื่อใหสามารถนําความรูและความสามารถไปใชในชีวิตประจําวัน และเปนพื้นฐานการศึกษาในระดับตอไป การศึกษาทางดานการออกแบบท่ีดีนอกจากจะตองเร่ิมตนดวยความรูความเขาใจและฝกปฏิบัติกวางๆ เพื่อขยายความคิดและทัศนคติท่ีดีแลวยังจําเปนตองตระหนกัถึงการเปนผูใฝศึกษาและปฏิบัติงานออกแบบท่ีดดีวย เพื่อใหการเตรียมตัวและการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ไดผลสมบูรณตามเปาหมาย เพราะการออกแบบท่ีผูออกแบบไมมีความพรอม หรือขาดการเตรียมตัวท่ีดี การออกแบบอาจจะลมเหลวไดโดยส้ินเชิง โดยเฉพาะอยางยิ่งนกัออกแบบในสังคมท่ียึดถือการออกแบบเปนอาชีพจําเปนจะตองมีความพรอมในอันท่ีจะเปนนักออกแบบท่ีดี มีการฝกฝน มีการเตรียมตัวและมีการเรียนรูอยูตลอดเวลา ยิ่งงานออกแบบท่ีเปนงานท่ีเกี่ยวของกับศิลปะ นักออกแบบจึงตองมีคุณสมบัติพิเศษในการสรางสรรคความงามทางศิลปะอีกดวย ในท่ีนี้จะเสนอแนะเฉพาะการเปนผูออกแบบท่ีดีในเบ้ืองตน แตก็อาจจะเปนประโยชนไปถึงการเปนนักออกแบบท่ีดใีนสังคมดวย ซ่ึงการเปนผูออกแบบท่ีดีควรจะตองเปนผูมีคุณสมบัติดังตอไปนี ้ 1. เปนผูมีทักษะในการออกแบบ การทํางานออกแบบซ่ึงตองปฏิบัติงานดวยมือ โดยถายทอดความคิดและจินตนาการท่ีเปนนามธรรมถายทอดผานส่ือดวยกระบวนการทํางานอยางใดอยางหนึ่งใหปรากฏเปนรูปธรรมหรืองานออกแบบที่มองเห็นไดสัมผัสไดนั้น ผูออกแบบจะตองมีความชํานาญหรือทักษะสําหรับการปฏิบัติงานออกแบบใหลุลวงไปดวยดี ถาการออกแบบขาดทักษะ การปฏิบัติงานก็ยอมไมไดผลตามท่ีตองการ หรือไมไดผลตามท่ีต้ังเปาหมายไว เม่ือทักษะคือความชํานาญในการปฏิบัติงาน ทักษะของแตละคนยอมมีระดับมากนอยตางกัน ทักษะไมใชส่ิงท่ีเกิดข้ึนเอง หรือเปนส่ิงท่ีฝงแนนเปล่ียนแปลงไมได แตทักษะยอมเกิดข้ึนไดดวยการฝกฝนและสามารถพัฒนาไดตลอดเวลา นอกจากการปฏิบัติงานออกแบบแตละช้ินจะตองมีทักษะแลว การปฏิบัติงานแตละคร้ังเทากบัเปนการฝกฝนเพิ่มพูนทักษะ การฝกปฏิบัติงานออกแบบจํานวนมากจึงเทากับเปนการพัฒนาทักษะโดยตรง นอกจากนั้นการฝกใหมีประสบการณในการพบ การเห็น รูปแบบจํานวนมากๆ และหม่ันศึกษาหาความรูอยูตลอดเวลายอมเปนการเพ่ิมพูนทักษะใหไดผลดีและกวางขวาง 2. เปนผูมีความคิดสรางสรรค เม่ือความคิดสรางสรรคมีความหมายถึง ความคิดหรือการปฏิบัติ มีการปรับปรุงเปล่ียนแปลง เพิ่มเติม หรือสรางข้ึนใหม ตางไปจากส่ิงเดมิท่ีมีอยู และส่ิงใหมท่ีเกิดข้ึนตองเปนไปในทางท่ีดีงาม เชน การสรางบานทรงไทยจากรูปแบบเดิมใหเปนรูปแบบที่เรียบงายข้ึน เพื่อใหเหมาะสมกับการกอสรางดวยวัสดใุหมๆ และใหมีประโยชนใชสอยท่ีมากข้ึน เปนตน

Page 20: princeple of design

19

ความคิดสรางสรรค นอกจากจะพิจารณาในแงการสรางสรรคทางความคิดในตัวของมันแลว ในแงผลงานท่ีปรากฏยงัพิจารณาได 2 ดาน คือ ความคิดสรางสรรคทางความงาม (Creative in Beauty) และความคิดสรางสรรคทางประโยชนใชสอย (Creative in Function) ความคิดสรางสรรคเปนบุคลิกนิสัยอยางหนึ่งท่ีพฒันาได ซ่ึงความคิดสรางสรรคอาจจะเกดิข้ึนจากการเล้ียงดูในบาน กระบวนการเรียนรูในโรงเรียน และการใชชีวิตในสังคม ซ่ึงปจจัยเหลานี้เปนส่ิงท่ีสรางเสริมใหเกดิความคิดสรางสรรคข้ึน ความคิดสรางสรรคในการออกแบบก็นับเปนผลตอเนื่องมาจากบุคลิกนิสัยเหลานั้น งานออกแบบนับเปนสวนหนึ่งในงานศิลปะซ่ึงตองการรูปแบบและเน้ือหาท่ีแปลกใหมเพื่อกระตุนผูพบเห็นใหช่ืนชมและโนมนําไปสูเปาหมายที่กําหนดไว เชน เปาหมายในการซ้ือขาย เปาหมายทางอารมณความรูสึก เปาหมายทางทัศนคติ เปนตน ผูออกแบบท่ีดีจึงจําเปนตองมีความคิดสรางสรรคท้ังดานความคิดและการปฏิบัติ ซ่ึงความคิดสรางสรรคในการออกแบบ จะสรางเสริมข้ึนไดดวยการหาประสบการณจากงานออกแบบ ศึกษาคนควา และมีการฝกปฏิบัติในรูปแบบท่ีทาทายความคิด 3. เปนผูติดตามการเปล่ียนแปลงและความเคล่ือนไหวอยูเสมอ งานออกแบบในสังคมจะเปล่ียนแปลงกาวหนาไปตามกระแสการเปล่ียนแปลงในสังคม นักออกแบบบางคนกลาววา การออกแบบเปนแฟช่ันอยางหนึ่ง ความคิดและรูปแบบของงานออกแบบในสังคมปจจุบันจะไมอยูคงท่ี ท้ังนี้อาจจะเปนดวยการออกแบบจําเปนจะตองพัฒนาใหสอดคลองกับความตองการและรสนิยมท่ีเปล่ียนไป และใหสอดคลองกับวัสดุอุปกรณและกระบวนการผลิตเปนสําคัญ สังคมในอดีตท่ีกระแสการเปล่ียนแปลงในสังคมเปนไปอยางชาๆ งานออกแบบในสังคมเชนนั้นก็เปล่ียนแปลงไปอยางชาๆ เชนกันการศึกษางานออกแบบ จึงจําเปนตองพรอมดวยการติดตามความเปล่ียนแปลงของงานออกแบบในสังคมอยูตลอดเวลา ไมเชนนั้นแลวงานออกแบบจะขาดความสัมพันธกับความเปนจริง โดยเฉพาะการศกึษาในสถาบันการศึกษาความคิดและการปฏิบัติจําเปนตองมีความทันสมัยและมีเปาหมายท่ีดีงาม ไมเชนนัน้อาจเกิดชองวางทางสังคมทําใหลาสมัย 4. เปนผูมีความเขาใจในงานออกแบบเฉพาะดาน งานออกแบบแตละอยางยอมมีแนวคิดและรูปแบบเฉพาะดาน มีวัสดุอุปกรณและกระบวนการผลิตเฉพาะตัว เชน การออกแบบตกแตงภายใน จะเกีย่วของกับความงามและการจัดบริเวณวาง ใหใชประโยชนไดอยางสะดวกสบาย แตการออกแบบเคร่ืองเคลือบดินเผาจะเกี่ยวของกับความงามท่ีสัมพันธกับหนาท่ีใชสอย การรับน้ําหนักของดิน อุณหภูมิในการเผาเคลือบ เปนตน การศึกษางานออกแบบท่ีดี จงึจําตองศึกษาหาความรูความเขาใจในงานออกแบบแตละอยางโดยเฉพาะกอน เพื่อใหการออกแบบสอดคลองกับความเปนจริงหรืออาจจะใหใกลเคียงกับความเปนจริงบางไมมากก็นอย ไมใชเปนการออกแบบท่ีเล่ือนลอยอยูเหนือความจริง หรือไมสามารถจะนําไปปฏิบัติจริงได ถาเปนเชนนั้น การศกึษาการออกแบบก็จะมีความหมายนอยลง นอกจาก

Page 21: princeple of design

20

การศึกษาแนวคิด รูปแบบ วสัดุอุปกรณ และกระบวนการผลิตแลว งานออกแบบบางอยางเกีย่วของกับจิตวิทยา เพือ่เรียกรองหรือสรางทัศนคติ เชน การออกแบบโฆษณาท่ีตองใชจิตวิทยาในการช้ีชวน หรือการออกแบบทางทัศนศิลปท่ีตองการสรางความรูสึกนึกคิดอยางใดอยางหนึ่งใหเกิดข้ึนตอผูช่ืนชม การศึกษาเฉพาะดานจึงจําเปนตองศึกษาแนวคิดทางดานจิตวิทยาดวยเชนกัน นอกจากลักษณะของนกัออกแบบท่ีดดีังไดกลาวมาแลวยังมีคุณสมบัติประจําตัวของนักออกแบบท่ีควรจะมี ซ่ึงหมายถึงพฤติกรรมเฉพาะของนักออกแบบท่ีมีอยูบางอยางอาจเปนลักษณะนิสัยท่ีมีมาชานาน หรือจากการฝกฝนอยางเปนระบบ ซ่ึงเกิดจากพัฒนาการของการเรียนรูและการสะสมของประสบการณ ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี ้

1. เปนนักคิดนักประดษิฐ คือ มีความคิดนกึฝนท่ีจะทําหรือประดิษฐส่ิงตางๆ ใหเปนจริงตามท่ีนึกคิดนัน้

2. มีรสนิยมในดานศิลปะ คือ เขาใจรักงานในดานศิลปะและความงาม 3. เปนคนชางสังเกต คือ ลักษณะอยากรูอยากเห็น อยากเขาใจส่ิงตางๆ ท่ียังไมรูซ่ึงเปนส่ิงท่ี

อยูรอบตัวหรือในชีวิตประจาํวัน โดยรูดวยเหตุผลและความถูกตองตามความเปนจริง 4. ชอบศึกษาหาความรู คือ ชอบท่ีจะเรียนรูศึกษาวิทยาการท่ีกาวหนา เพื่อท่ีจะเปนผูท่ี

ทันสมัย ทันตอเหตุการณตางๆ มีวิสัยทัศนท่ีไกลไมลาหลัง 5. มีเหตุผล คือ มีความเช่ือม่ันในคําตอบท่ีไดจากผลของการวิจยั การสํารวจ หรือหลักการ

ทางวิทยาศาสตร หรือส่ิงท่ีสามารถพิสูจนไดมากกวาท่ีจะยึดเหตุผลท่ีมีอยูเดิม หรือความเช่ือท่ีเปนของตนเอง

1.4 องคประกอบของการออกแบบ องคประกอบของการออกแบบคือ ทัศนะธาตุและลักษณะของทัศนะธาตุ ท่ีรวมกันเปน

องคประกอบศิลป หรืออาจเรียกวาเปนผลงานทางการออกแบบ ซ่ึงรายละเอียดของสิ่งเหลานี้จะไดแสดงเปนรายละเอียดดังนี ้

1.4.1 สวนประกอบของการออกแบบ สวนประกอบของการออกแบบเปนธาตุพืน้ฐานท่ีทําใหเกิดการมองเหน็ ประกอบไปดวย จุด เสน รูปราง รูปทรง ซ่ึงรวมเรียกวาทัศนะธาตุ

Page 22: princeple of design

21

ทัศนะธาตุ (Visual elements) ประกอบดวย 1. จุด (Dot) เปนองคประกอบของการออกแบบอันดับแรกมีความหมายในตัวเอง แสดงใหเห็นพลังในการขยายหรือรวมตัวได จุดมีขนาดแตกตางกนัและสามารถกอใหเกิดความรูสึกตางๆ ได เชน ถานํามาวางหางกัน 2 จดุ ในพืน้ท่ีหนึง่จะทําใหเกดิความรูสึกของทิศทาง และเม่ือนํามาวางรวมกันเปนกลุม ก็จะสามารถสรางความรูสึกของพลังท่ีรวมกันเปนเอกภาพ และถาเพิ่มขนาดของจุดใหแตกตางกันบาง กจ็ะทําใหรูสึกมีความหลากหลายข้ึน ชวยใหเกดิความรูสึกเราสายตาและต่ืนเตน ถานําจดุมาวางเรียงกนัเปนแถวจะเกิดเปนเสน

2. เสน (Line) คือจุดหลายจุดท่ีเรียงกันเปนแถว และถามีหลายแถวจะกอใหเกดิความรูสึกเคล่ือนไหวไปมาในทิศทางตางๆ กัน สามารถแสดงใหเหน็ถึงจุดเร่ิมตนและจุดสุดทาย นับเปนเคร่ืองมือชนิดแรกของมนุษยท่ีใชส่ือความหมายในการแสดงออกทางภาษาเขียน และสรางงานออกแบบ โดยปกติแลวเสนมีอยู 2 ลักษณะท่ีสําคัญ คือ เสนตรงและเสนโคง แตอาจรวมกันเกิดเปนลักษณะท่ี 3 คือ เสนตรงผสมกับเสนโคงกไ็ด ลักษณะท่ีสําคัญ คือ 1. เสนตรง คือเสนท่ีมีทิศทางไปในแนวเดียวกันตลอด ทิศทางดังกลาวนีอ้าจจะเปนไปในแนวตางๆ กัน และมีช่ือเรียกตามทิศทางไปดวย เชน เสนราบ ซ่ึงมีทิศทางไปในแนวนอน เสนดิ่งมีทิศทางไปในแนวต้ังฉาก เสนทแยงมีทิศทางไปในแนวเฉียงทํามุมกับแนวนอน นอยหรือมากกวา 90 องศา นอกจากนี้ถาเสนเปล่ียนทิศทางอยางกะทันหัน ไมวาจะเปนบน ลาง ซาย หรือขวา จะมีลักษณะเปนเสนหยกั

Page 23: princeple of design

22

2. เสนโคง คือเสนท่ีมีทิศทางไปในแนวเดียวกันแลวคอยๆ เปล่ียนองศาไปชาๆ ก็จะเปนเสนโคงได เม่ือดูเสนโคงจะรูสึกสบายตา เปนเสนแหงความงดงาม มีความหมายที่แสดงออกถึงความออนโยน ละมุนละไม เคล่ือนไหว ไมหยุดนิ่ง

รูปแสดงลักษณะของเสน และความรูสึกที่แสดงออก

3. รูปราง (Shape) เม่ือเขียนเสนไมวาตรงหรือโคงยอมมีจุดเร่ิมตนและส้ินสุด และถาเอาปลายของเสนมาเช่ือมตอกันก็จะเกิดเปนพืน้ท่ีข้ึน ซ่ึงมีเสนเปนขอบรูปนอกท่ีแสดงอาณาเขตหรือบริเวณ ซ่ึงเรียกวา รูปราง มีลักษณะแบนไมมีความหนา เปนรูป 2 มิติ ดังนั้น จึงกลาวไดวารูปรางเกิดจากเสนและทิศทางท่ีมีปลายท้ังสองมาบรรจบกัน มี 3 ลักษณะ คือ วงกลม สามเหล่ียม และส่ีเหล่ียม เปนรูปรางเรขาคณิตพื้นฐาน มีความหมายในตัวเองเชน รูปส่ีเหล่ียมใหความรูสึกสงบ ตรงไปตรงมา ซ่ือสัตย รูปสามเหล่ียมมีพลังใหความรูสึกโตแยงและตึงเครียด สวนวงกลม ใหความรูสึกอบอุน ปลอดภัย เปนอมตะ ไมมีความส้ินสุด นอกจากรูปรางพื้นฐานแลวยังมีรูปรางอิสระ เกิดข้ึนตามความตองการของนักออกแบบหรือจิตรกร ในการสรางรูปรางนักออกแบบนยิมสราง 2 วิธีคือ ก) ลักษณะปด (Closed Shape) เปนการสรางโดยเนนใหเสนรูปนอก (Outline) คงอยูในสภาพเดิม แสดงใหเห็นอาณาเขตหรือบริเวณอยางชัดเจน รูปรางชนิดนีทํ้าใหแลดแูตกตางออกจากพื้นหลัง (Background) แสดงถึงความเด็ดขาด มีสัดสวนและขนาดท่ีแนนอน ลักษณะเชนนีเ้รียกวา เสนรูปนอกแข็ง (Hard Edge) ข) สรางในลักษณะเปด (Opened Shape) คือ การสรางโดยไมเนนเสนรูปนอกหรือลดความสําคัญของเสนรูปนอกลง แตเม่ือมองดูในภาพรวมแลวยังสามารถเห็นอาณาเขตหรือบริเวณของรูปรางท่ีสรางข้ึนนั้นได รูปรางชนิดนีมี้เสนรูปนอกท่ีนุมนวล ไมแข็งกระดาง ไมทําใหแลดูแตกแยกจากพ้ืนหลังอยางเดด็ขาด ลักษณะเชนนี้เรียกวา เสนนอกนุมนวล (Soft Edge)

Page 24: princeple of design

23

ภาพแสดงรูปรางในลักษณะตางๆ

4. รูปทรง (Form) มีวิวัฒนาการมาจากเสนเชนเดยีวกับรูปราง แตมีลักษณะแตกตางกัน กลาวคือ รูปทรงมีลักษณะเปน 3 มิติเปนรูปรางท่ีมีความหนา รูปทรงท่ีเปนแทงตัน ไมโปรงเรียกวา “มวล” (Mass) สวนรูปทรงท่ีภายในโปรง ไมทึบเปนแทงตัน เรียกวา “ปริมาตร” (Volume) ถาเราระบายเงาลงไปในรูปรางเพือ่แสดงใหเห็นถึงการตกทอดของแสงและบังเกิดเงาข้ึน จะเกิดเปนรูปทรงข้ึนมาทันที ดังนั้นจึงกลาวไดวาการท่ีสายตาเรามองไปยังวตัถุช้ินใดก็ตามหากไมมีแสงมาสองกระทบ และทําใหเกิดเงาข้ึนแลว เราไมอาจมองเห็นวัตถุช้ินนั้นเปนรูปทรงได รูปทรงก็คือรูปรางท่ีมีลักษณะเปน 3 มิตินั่นเอง รูปทรงมีสองประเภทใหญๆ คือรูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) ซ่ึงมีลักษณะเปนปกติ เชน รูปทรงลูกบาศก (Cube) รูปทรงกลม (Sphere) รูปทรงกระบอก (Cylinder) รูปทรงกรวย (Cone) รูปทรงเหลานี้ถือไดวาเปนรูปทรงพื้นฐานท่ีเปนตนกําเนิดของรูปทรงตางๆ ท่ีมีวิวัฒนาการตอไป ในเร่ืองนี้จิตรกรเอกของโลกคนหนึ่งคือ พอล เซซานน (Paul C’ezanne) ไดเสนอใหลดจํานวนของรูปทรงท่ีมีอยูหลายหลายในธรรมชาติใหเหลือเพียง 4 รูปทรงพื้นฐานเทานัน้ คือรูปทรงลูกบาศก รูปทรงกลม รูปทรงกรวย และรูปทรงกระบอก รูปทรงอีกประเภทหนึ่งคือรูปทรงอิสระ (Free Form) ซ่ึงมีลักษณะผิดไปจากรูปทรงปกติ คือรูปทรงท่ีมีลักษณะไมจํากัด เกดิข้ึนตามความตองการของผูสราง รูปทรงเรขาคณิตนั้นเปนรูปทรงท่ีสามารถใหคํานิยามไดแนชัด แตมีลักษณะจํากดั เชน ผลิตภัณฑท่ีใชในชีวิตประจําวนั หรืองานประติมากรรม รูปทรงแตละชนิดจะใหความรูสึกแกเราตางๆ กันดวย เชน รูปทรงเหล่ียมจะใหความรูสึกมีความแข็งแรงและม่ันคงแนนอน รูปทรงกลมจะสรางความรูสึกเคล่ือนไหว และรูป

Page 25: princeple of design

24

ทรงกระบอกสูงจะใหความรูสึกสงางามนาเกรงขาม สวนรูปทรงอิสระ มักจะเห็นกนัอยูในธรรมชาติ เชน พืช สัตว กอนหิน รูปทรงเหลานี้จะใหความรูสึกท่ีเปนอิสรเสรี ลักษณะของรูปทรงท่ีสรางข้ึนดวยฝมือมนษุย และท่ีมีอยูในธรรมชาตินัน้มีอยู 2 ลักษณะ คือ รูปทรงโดดเดี่ยว (Single Form) และรูปทรงกลุม (Related หรือ Complex Form) รูปทรงโดดเดี่ยวคือรูปทรงท่ีมีฐานต้ังอยูไดดวยทรงของตนเองเปนเอกเทศ โดยไมมีสวนอ่ืนมาเพิม่เติมใหเปนกลุม ลักษณะของรูปทรงหรือองคประกอบจะสมบูรณอยูในตัวของมันเอง ซ่ึงมีความสมดุลเปนเคร่ืองชวยใหทรงตัวอยูได สวนรูปทรงเปนกลุมนั้นไมลอยตัวเปนเอกเทศ ตองมีสวนอ่ืนมาเสริม ซ่ึงมีความประสานกลมกลืนกนัทําใหสวนตางๆ มีความสําคัญเทาเทียมกนัหมด จํานวนหนวยท่ีรวมเปนกลุมจะมีต้ังแต 2 หนวยข้ึนไป รูปทรงท่ีสรางข้ึนท้ังท่ีเปนปริมาตรและมวลสามารถสรางข้ึนไดหลายวิธี คือ 1. รูปทรงท่ีประกอบข้ึนดวยเสน (Linear Form) 2. รูปทรงท่ีประกอบข้ึนดวยแผน หรือ ระนาบ (Planar Form) 3. รูปทรงท่ีประกอบข้ึนดวยเสนและแผนผสมกัน (Planar & Linear Form) 4. รูปทรงท่ีเปนมวลเอกเทศ (Monolithic Mass) 5. รูปทรงท่ีเปนมวลโคงหรือเวา (Concave & Convex Mass) 6. รูปทรงท่ีเปนมวลและมีรูลอดทะลุ (Penetrated Mass) 7. รูปทรงนูนตํ่าและนนูสูง (Bass or Low relief และ High relief)

ลักษณะของรูปทรงแบบตางๆ

Page 26: princeple of design

25

การประกอบกันของรูปทรงแบบตางๆ

ภาพแสดงรูปทรงที่นํามาใชในงานออกแบบ

Page 27: princeple of design

26

ลักษณะของทัศนะธาตุ ลักษณะของทัศนะธาตุนั้นมิใชตัวของทัศนะธาตุ แตเปนส่ิงท่ีแสดงออกของมันเองเพื่อบงบอกถึงลักษณะของวัตถุทัศนะเหลานั้นอันไดแก ขนาด สี ความเขม ลวดลาย ลักษณะผิว ทิศทาง พื้นท่ีวาง ระยะ ความลึก และทัศนียภาพ องคประกอบเหลานี้จะทําใหผลงานมีชีวิตชีวาข้ึน เกิดความพึงพอใจจากการเห็นมากข้ึน ลักษณะเหลานี้จะปรากฏอยูในผลงานออกแบบเสมอ แตอาจมีลักษณะท่ีเดนแตกตางกันตามความประสงคของการออกแบบแตละบุคคลแตละงานไป ประกอบดวย 1. ขนาด (Size) สามารถทราบขนาดไดดวยการเปรียบเทียบโดยพิจารณาจากพื้นท่ีหรือบริเวณตัววัตถุ (Positive Space) หรือทราบจากพื้นท่ีบริเวณรอบวัตถุ (Negative Space) นอกจากนัน้ขนาดยังกอใหเกิดความรูสึกในเร่ืองระยะหรือความลึก (Distance or Depth) นอกจากนั้นยังสามารถสังเกตถึงความประสานกลมกลืนกันหรือความขัดแยงกนัจากขนาดไดเชน วัตถุท่ีมีขนาดใกลเคียงกันและวางอยูใกลกันจะใหความรูสึกประสานกลมกลืน สวนวัตถุท่ีขนาดแตกตางกันวางใกลกันจะกอความรูสึกท่ีขัดแยงกัน เปนตน 2.ทิศทาง (Direction) รูปรางพื้นฐานตางๆ มีลักษณะท่ีแสดงออกในทิศทางท่ีแตกตางกัน เชน รูปส่ีเหล่ียมแสดงทิศทางในแนวราบและต้ังฉาก สวนรูปสามเหล่ียมมีทิศทางในแนวเฉียง รูปวงกลมใหทิศทางในแนวโคง ทิศทางเหลานี้มีความหมายและหลักท่ีนกัออกแบบควรนําไปใชในงานออกแบบ เชน ทิศทางในแนวราบใหความรูสึกม่ันคง ทิศทางแนวเฉียงรูสึกไมอยูกับท่ีมีความเคล่ือนไหว ทิศทางโคงใหความรูสึกเคล่ือนไหวชาและอบอุน ทิศทางเหลานี้แสดงออกถึงพลังและสรางความหมายในงานออกแบบไดเปนอยางดี 3. พื้นท่ีวาง (Space) คือบริเวณโดยรอบของวัตถุเม่ือทําการสมมุติวัตถุเปนมวลแลวบริเวณพื้นท่ีภายในมวลน้ีเรียกวาพืน้ท่ีบวก (Positive Space) สวนพื้นท่ีวางโดยรอบมวลวัตถุนี้เรียกวาพื้นท่ีลบ (Negative Space) พื้นท่ีวางเหลานี้สามารถแยกออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1. พื้นท่ีวาง 2 มิติ (Two Dimensional Space) เปนพื้นท่ีวางท่ีเกิดข้ึนเม่ือเอารูปรางมาวางไวในบริเวณกรอบพืน้ท่ี (Space frame) ถาวางรวมกลุมจะเกิดเอกภาพ หากวางใหหางกันจะเกิดความแตกแยกและเห็นพืน้ท่ีวางระหวางรูปรางโดยไมเกิดระยะความลึก 2. พื้นท่ีวาง 3 มิติ (Three Dimensional Space) พื้นท่ีวางชนิดนี้เกิดข้ึนจากผลของการวางตําแหนงและขนาดของรูปราง โดยรูปรางขนาดใหญวางอยูในสวนหนาของกรอบพื้นท่ี จะรูสึกวาอยูใกล สวนรูปรางเล็กและวางอยูสวนบนของพืน้ท่ีจะรูสึกวาอยูไกล ความใกลและไกลนี้คือระยะหรือความลึกซ่ึงเปนลักษณะของมิติท่ี 3 เปนตน

Page 28: princeple of design

27

4. ระยะ-ความลึก (Distance-Depth) ในการสรางความรูสึกของระยะความลึกลงในภาพนั้น จะใชเสนระดับท่ีขนานกับกรอบพื้นท่ีโดยไมตองสรางทัศนียภาพ หากแตเร่ิมจากใชเสนระดับตากอน แลวคอยๆ เพิ่มระดับของเสนข้ึนเร่ือยๆ ก็จะทําใหรูสึกมีระยะและความลึกของพ้ืนท่ีมากข้ึน อีกประการหนึ่งความสัมพนัธระหวางภาพกับพื้นหลังมีสวนสรางความรูสึกของความลึกได การสรางระยะ ความลึกในลักษณะนี้ชางโบราณไดยึดถือปฏิบัติกันมาจนถึงสมัยฟนฟวูัฒนธรรมของยุโรป จากนัน้จึงเกิดทฤษฎีของทัศนียภาพซ่ึงเปนท่ีนิยมกันมาจนทุกวนันี ้ 5. ลักษณะผิว (Texture) หมายถึงลักษณะภายนอกของส่ิงตางๆ ท้ังท่ีมีตามธรรมชาติและมนุษยสรางข้ึน เชน เปลือกไม เปลือกหอย เนื้อผา ผิวนอกของเคร่ืองเรือน ฝาผนังหอง ซ่ึงมีลักษณะตางๆ กัน เชน มัน ดาน ละเอียด หยาบ เรียบ ขรุขระ นิ่ม กระดาง ซ่ึงสามารถรับรูไดทางสายตาและการสัมผัส ลักษณะผิวมีความเก่ียวเนื่องกบัลวดลาย เชน ระลอกคล่ืนของน้ํา หรือลายผาท่ีเกิดจากการทอ ลักษณะผิวมีบทบาทสําหรับงานออกแบบท้ัง 2 และ 3 มิติ ชวยใหเกิดลักษณะชวยสรางความเราใจและต่ืนเตนจากการสัมผัส นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติอ่ืนเชน ผิวหยาบจะดูดซึมแสงสวาง ผิวท่ีละเอียดเปนมันจะสะทอนแสงสวาง ซ่ึงมีผลตอการออกแบบในดานสถาปตยกรรมมาก

ภาพแสดงลักษณะของพ้ืนผิว

Page 29: princeple of design

28

6. ลวดลาย (Pattern) เปนลักษณะของทัศนะธาตุท่ีเกดิข้ึนบนพื้นผิวของรูปรางหรือรูปทรง มีอาณาเขตจรดกรอบพื้นท่ี เชน ลวดลายของมาลาย หรือ ลายผาตางๆ ซ่ึงสามารถคิดลวดลายใหมๆ เพื่อเสริมสรางใหผลงานนาสนใจยิ่งข้ึน

ลักษณะของลวดลายที่เกิดจากการตอ

7. ความเขม (Value) คือ จํานวนความมืดและสวางของแสงท่ีตกกระทบลงยังพื้นท่ีหรือวัตถุ มีความแตกตางกันต้ังแตขาว เทาออน เทาเขม ไปจนถึงดํา ความเปล่ียนแปลงหรือจํานวนความเขมนี่เองท่ีสามารถกอใหเกดิความรูสึกในการรับรูไดหลายประการ เชน เกิดความเคล่ือนไหว เกิดระยะใกลไกล เกิดความลึกความตื้น ความแตกตางของขนาด ความกลมหรือหนา ซ่ึงเปนการเพิ่มลักษณะ 2 มิติใหเปน 3 มิติ ในการออกแบบและสรางผลงาน ผูออกแบบควรมีความเขาใจในเร่ืองระดับของความเขม ซ่ึงมี 9 ระดับเร่ิมจากขาวจนถึงดํา ระดับความเขมนีเ้ปนกุญแจท่ีใชในการวางแผนกอนท่ีจะทําการสรางผลงาน ความเขมระดับ 1 2 และ 3 เปนระดับตํ่า (Low Key) ระดับ 4 5 6 เปนระดับกลาง (Intermediate Key) ระดบั 7 8 และ 9 เปนระดับสูง (High Key) ถาระยะระหวางความเขมมากที่สุดและนอยท่ีสุดมีเพียง 3 ข้ัน หรือนอยกวา เชน 3 และ 7 จะเรียกวา Minor Key ถามีมากกวาซ่ึงจะเปนผลใหความเขมแตกตางกันมาก เชน 3 และ 8 หรือ 1 และ 7 จะเรียกวา Major Key ผลงานแตละชนิดจะใช Key แตกตางกันไปเพื่อความเหมาะสม ผลงาน 2 มิติ โดยท่ัวไปจะใชความเขมประมาณ 5 ระดับ โดยไมจําเปนตองเรียงกันตามลําดบัเชน 9 6 4 2 1 หรือ 8 5 3 2 1 เปนตน ความเขมหรือน้ําหนกัความเขม (Value) ทางยุโรปโดยเฉพาะในอิตาลีเรียกวา Chiaroscuro (Chiaro แปลวา แสงสวาง (Light) สวน Oscuro แปลวาความมืด (Dark))

Page 30: princeple of design

29

ตัวอยางแถบนํ้าหนักทั้ง 9 ระดับ

8. สี (Color) สีเปนลักษณะหนึ่งของทัศนะธาตุท่ีมีบทบาทสําคัญ มีพลัง สามารถสรางปฏิกิริยาใหกบัอารมณไดอยางมหาศาล สีมีอิทธิพลตอจิตใจมนษุยเปนอยางยิ่ง จนอาจกลาวไดวา ในขณะท่ีดนิ น้ํา ลม ไฟ เปนส่ิงท่ีรางกายขาดมิไดฉันใด สีก็เปนส่ิงท่ีจิตใจขาดมิไดฉันนั้น สีมีวิทยาการกาวหนาไปรวดเร็วและกวางขวาง ในวงการศึกษาวิชาศิลปะและการออกแบบไดมีการจดัระเบียบความรูเร่ืองสีใหเปนระบบ เรียกกันวา “ทฤษฎีสี” เพื่อใหการใชสีในการสรางผลงานมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นสียังมีภาวะตามธรรมชาติอยู 3 ประการ คือ 1. สภาวะที่แสดงสี (Hue) เชนสีเหลือง สีแดง สีน้ําเงิน สีเขียว สีมวง ฯลฯ ซ่ึงจะอยูดวยตัวเองไมไดตองอาศัยทัศนะธาตุอยางใดอยางหนึ่งจึงจะแสดงตัวออกมา 2. สภาวะที่เปนเนื้อสี (Pigment) ไดแกวตัถุท่ีแสดงสีหรือมีสีอยูในตัว สามารถใชระบาย ทา เขียน หรือ ยอมวตัถุอ่ืนๆ ใหมีสีตางๆ ได เชน ดิน หิน แรธาตุตางๆ สัตว พืช หรือสารผสมดวยกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร 3. สภาวะที่เปนแสง (Light) ไดแกสภาวะท่ีเปนแสงสี เชนการทดลองใหแสงดวงอาทิตยผานแทงแกวปริซึม จะสะทอนใหเห็นแสงท่ีเห็นดวยตาไดเปนตน

Page 31: princeple of design

30

สีท่ีใชในวงการศิลปะและการออกแบบท่ีใชในการระบายหรือยอมเปนสีในสภาวะของเนื้อสีเปนสําคัญโดยเร่ิมจาก แมสี สีผสม และวงจรสี แมสี (Primary color) ประกอบดวยสีท่ีเรียกวาสีแทหรือสีข้ันตนอยูสามสีคือ สีน้ําเงิน สีเหลือง และสีแดง สีผสม (Mixed colors) เปนการนําเอาแมสีมาผสมกันในอัตราสวนตางๆ กันจนเกิดมีสีผสมอันหลากหลายแบงเปน สีข้ันท่ีสอง สีข้ันท่ีสาม และหากนําแมสีท้ังสามมาผสมกันในอัตราสวนท่ีเทากันจะไดสีกลางซ่ึงจะไดสีท่ีเปนสีเทาไปจนถึงสีดํา จากแมสีและการผสมแมสีทําใหไดสีตางๆ กันนั้น ไดมีผูนําเอาสีเหลานัน้มาสรางเปนวงจรเรียกวา “วงจรสี” (Color wheel) วงจรสีท่ีควรรูจักประกอบดวย 1. วงจรสีของนิวตัน เกิดจากการนําแถบสีรุงท้ังเจ็ดสีโคงเขาหากัน โดยทําใหแถบสีมวง (Violet) มาชนกับสีแถบแดง แลวเช่ือมสองแถบสีนี้ดวยสีมวงแดง ทําใหเกิดเปนวงจรสีข้ึน 2. วงจรสีของเกอเต เกดิจากกวีของเยอรมันช่ือJohann Wolfgang Von Goetheไดทําการผสมสีแมสีตามวงจรสี (Color wheel) ดังไดกลาวมาแลว 3. วงจรสีของออสตสวอลด เปนวงจรสีท่ีสรางโดย Wilhelm Ostwald ซ่ึงใชสีแดง เหลือง เขียว และนํ้าเงิน เปนสีพื้นฐาน โดยมีสีอ่ืนๆ ท่ีเกิดจากสีเหลานั้น เชน สม มวง น้ําเงินมวง สีฟา เขียวน้ําทะเล และเขียวใบไม ฯลฯ วงจรสีของออสตวอลด มีสีถึง 24 สี 4. วงจรสีของมันเซล เปนวงจรสีท่ีสรางโดย Albert Munsell โดยใชสีพืน้ฐาน 5 สี คือ แดง เหลือง น้ําเงิน เขียว และมวง โดยมีสีอ่ืนท่ีเกดิจากสีเหลานี้ เชน เหลืองแดง เขียวเหลือง น้ําเงินเขียว 5. วงจรสีของอินเท็น เปนวงจรสีท่ีประกอบดวยแมสี สีข้ันท่ีสอง และสีข้ันท่ีสาม รวมเปน 12 สี เห็นไดจากงานของผูเช่ียวชาญ 2 ทาน คือ Herbert E. Ives ในสหรัฐอเมริกา และในตําราของ Johannes Itten ชาวเยอรมัน

ลักษณะวงจรสีของอินเท็น

Page 32: princeple of design

31

ในบรรดาวงจรสีตางๆ นั้น วงจรสีท่ีประกอบดวยสีสามขั้นรวม 12 สี เปนท่ีนิยมมาก วงจรสีแบบนี้ทําใหไดความรูในเร่ืองสีคู และสีขางเคียง สีคูคือสีท่ีอยูตรงขามในวงจรสี เชน เหลืองกับมวงเปนสีคูกนั เม่ือศึกษาจะพบวาสีคูของแมสีทุกสีจะเปนสีข้ันท่ีสอง สวนสีคูของสีขางเคียงแมสีซ่ึงเปนสีข้ันท่ีสามนั้นก็จะเปนสีข้ันท่ีสามเชนกัน แตทวาอยูตรงกันขาม เชน สีขางเคียงสีเหลืองนั้นถาเปนสีเหลืองเขียว ก็จะมีสีแดงมวงเปนคู แตถาเปนเหลืองสมสี๕ ก็จะเปนสีน้ําเงินมวงเปนตน (บางคร้ังสีคูอาจเรียกวาสีคูตรงขามหรือสีตรงขาม) นอกจากวงจรสีแลวในเร่ืองของสียงัมีเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีนักออกแบบควรจะทราบเพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการออกแบบดวยสีใหมีความสวยงามลึกซ้ึง ประกอบดวย -วรรณะของส ี(Tone of Color) ประกอบดวยสีท่ีอยูในวงจรท่ีใหความรูสึกอบอุนแสดงถึงความรอน (Warm Tone) เชน สีแดง สีแสด เรียกสีในกลุมนี้วาวรรณะสีรอน หรือวรรณะอุน สวนสีท่ีมีลักษณะเปนสีน้ําเงิน จะใหความรูสึกเยน็ (Cool Tone) แตมีบางสีท่ีมีตําแหนงอยูก้ํากึ่งกนั เชน สีมวง ซ่ึงใหความรูสึกไดท้ังเยน็และรอน เรียกวาวรรณะกลาง หรือสีวรรณะกลาง วรรณะของสียังใหความรูสึกอีกประการหนึ่งคือความรูสึกในเร่ืองของขนาด คือสีท่ีมีความอุนจะใหความรูสึกของขนาดท่ีเล็กลง สวนสีในวรรณะเย็นจะใหความรูสึกของขนาดท่ีใหญ ความจัดของสี (Intensity) หมายถึงความเดนชัดของสี มีท้ังสดใส (Brightness) และมืดมัว (Dullness) ซ่ึงเกิดจากความเขมขนหรือความเจือจางของเน้ือสี สีธรรมดาท่ัวไปมีความสดใสอยูเต็มท่ี การทําใหความจดัของสีนอยลงจนกลายเปนมืดมัวนั้นจะใชสีตรงขามในวงจรสีเปนตัวผสมกับสีแท เชน ผสมสีมวงลงในสีเหลือง เม่ือตองการใหสีเหลืองมัวลง ผสมสีเขียวลงในสีแดง เม่ือตองการใหสีแดงมือลง เปนตน นอกจากทําใหเกิดความมืดมัวแลวยังทําใหสีมีความเขมเพิ่มข้ึนดวย โครงสี (Color Scheme) คือ จํานวนของสีท่ีใชเปนสวนใหญในงานศิลปะ ซ่ึงประกอบไปดวยสีรอนและเยน็ ผูออกแบบควรวางแผนท่ีจะใชโครงสีใหเหมาะสมกับรูปแบบเนือ้หาของงาน ผลงานท่ีสรางความประทับใจใหแกผูชมมักมีโครงสีวรรณะเดียวกนัเปนหลัก และมีสีวรรณะอ่ืนรวมดวยในอัตราสวนประมาณ 20-30 เปอรเซ็นต อิทธิพลของสีคูหรือสีตรงขาม (Colors Affected by the Complementary) ผลงานท่ีมีหลายสีอยูดวยกัน ปฏิกิริยานีเ้กิดจากสีคูตรงกันขาม สีท่ีมีปริมาณนอยจะถูกครอบงําโดยอิทธิพลของสีท่ีมีปริมาณมากกวา เชน ช้ินงานสีเหลืองเล็กๆ เม่ือนาํไปวางไวบนช้ินงานท่ีมีสีแดงและมีพื้นท่ีมากกวาจะพบวาสีเหลืองจะดูคลายกับเปนสีสมเร่ือๆ เนื่องจากอิทธิพลของสีแดง

Page 33: princeple of design

32

ภาพแสดงอิทธิพลของสีเหลืองที่มีตอสีแดงทําใหดูเปนสีสม

ความผันแปรของสี (Colors Affected by Values) สีท่ีมีความเขมของสีสามารถผันแปรได เชน เม่ือนําสีท่ีมีความเขมมากไปวางบนพ้ืนหลังท่ีมีความเขมนอยกวาจะเห็นวาภาพจะมีขนาดเล็กกวาความเปนจริง และในทางกลับกันสีท่ีมีความเขมนอยเมื่อนําไปวางบนพ้ืนหลังท่ีมีความเขมมากกวาจะพบวาขนาดของภาพจะโตกวาความเปนจริง

ภาพแสดงความผันแปรของสีในดานของขาดที่เกิดจากความเขม

Page 34: princeple of design

33

ทัศนียภาพของสี (Perspective of Colors) ทัศนียภาพของสี (Perspective of Colors) การใชสีในการออกแบบนั้นภาพสีท่ีอยูใกลจะใชสีท่ีมีความเขมและภาพท่ีหางไกลออกไปจะใชสีท่ีเจือจางลง แตถาภาพใกลตาเปนสีขาวภาพสีขาวท่ีอยูไกลออกไปจะมีสีหมนมัวลง - หลักการใชสี ในการออกแบบมีหลักในการใชสีดงันี ้ 1. สีเอกรงค (Monochrome) หมายถึงการใหงานมีสีเพยีงสีเดียวแตมีความเขมตางกัน 2. สีกลมกลืนหรือสัมพันธกนั (Color Harmony) คือการใชสีในวรรณะเดยีวกันไมเกนิ 6 สี 3. สีตรงขาม (True Contrasts) เปนการใชสีคูตรงขามตามวงจรสีโดยใหมีปริมาณของสีตางกันในอัตรา 20 % ตอ 80 % ของจํานวนสีท้ังหมด 4. สีไมเขากัน (Discord) สีไมเขากันเกิดจากการกลับความเขมของสีแกมาเปนสีออน กลาวคือ ระบายความเขมของสีแกใหบางกวาสีออน เชน ภาพท่ีมีโครงสีเปนสีเหลือง แลวใชสีมวงซ่ึงเปนสีแกท่ีมีปริมาณนอยมาระบายลงในภาพเปนบางแหงใหมีความเขมออนกวาสีเหลืองผลงานจะเปนท่ีนาสนใจ 5. สีเล่ือมพราย (Vibration) เปนการนําจดุของสีมาวางใกลๆ กันเพื่อใหเกิดการผสมของสีดวยสายตา เชน การนําจดุของสีเหลืองมาวางสลับกันกบัจุดสีน้ําเงินในพ้ืนท่ีหนึ่ง เม่ือดูรวมๆ แลวจะเห็นเปนสีเขียว เปนตน 9. ทัศนียภาพ (Perspective) คือระบบการสรางภาพ 3 มิติ บนพื้น 2 มิติ เพื่อใหไดภาพลวงตาท่ีแลดูเหมือนภาพท่ีเปนจริงตามธรรมชาติ มี 2 ประเภท คือ

ทัศนียภาพแบบบรรยากาศ (Aerial perspective) ทัศนียภาพแบบบรรยากาศเปนเร่ืองของการเปล่ียนแปลงความเขมของสีของวัตถุในบรรยากาศ ซ่ึงข้ึนอยูกับปริมาณของบรรยากาศโดยรอบ ท้ังนี้ตองมีความสัมพันธกับระยะดวย ส่ิงท่ีอยูใกลปริมาณของบรรยากาศโดยรอบจะนอย ทําใหเหน็สีไดชัดเจนตามจริง สวนส่ิงท่ีอยูไกลออกไปปริมาณของบรรยากาศจะมากข้ึนทําใหความเขมของสีลดลงท้ังนี้เนื่องจากบรรยากาศมีสีของอากาศคือสีฟาเขามาเจือปนอยูดวย

Page 35: princeple of design

34

ลักษณะทัศนียภาพแบบบรรยากาศ

ทัศนียภาพแบบเสน (Linear perspective) เปนเร่ืองการเปล่ียนแปลงของขนาดท่ีข้ึนกับ

ระยะ และความสัมพันธของเสนระดับตา (eye level) ตําแหนงยนื (Point of station) และจุดสุดสายตา (VP = vanishing point) ทําใหส่ิงท่ีอยูใกลมีขนาดใหญกวาส่ิงท่ีอยูไกลออกไป

ลักษณะการเขียนทัศนียภาพเชิงเสนแบบ 1 2 และ 3 จุด

Page 36: princeple of design

35

ทฤษฎีการออกแบบ

1.4.2 ทฤษฎีการออกแบบ

ทฤษฎีการออกแบบในท่ีนี้เปนทฤษฎีท่ีวาดวยการนําเอาสวนประกอบของการออกแบบมาใชโดยพิจารณาเปนทฤษฎีท่ีวาดวย เสนแยง เสนเฉียง การซํ้า จังหวะ ระดับความเปล่ียนแปลง ความเคล่ือนไหว ความกลมกลืน ความขัดแยง สักสวน ดุลยภาพ การเนน และเอกภาพ ซ่ึงมีรายละเอียดโดยยอ ดังนี ้ 1. ทฤษฎีเสนแยง หมายถึงเสนสองเสนท่ีทําปฏิกิริยาตอกนั เปนการนาํทัศนะธาตุมาสรางโดยใหทัศนะธาตุเหลานั้นทําปฏิกิริยาตอกนัในทิศทางท่ีเปนเสนแยง 2. ทฤษฎีเสนเฉียง คลายกับเสนแยง แตมีเสนท่ีสามมาเช่ือมระหวางเสนดิ่งกับเสนแนวนอนในแนว 30 หรือ 60 องศา 3. ทฤษฎีการซํ้า คือการเนนอยางหนึ่งท่ีตองการใหเห็นชัดเจน โดยใชทัศนะธาตุวางในกรอบพื้นท่ีโดยมีระยะเคียงเทาหรือไมเทาก็ได การซํ้าจะกอใหเกิดจังหวะและพัฒนาไปสูการเคล่ือนไหว 4. ทฤษฎีจังหวะ คือลักษณะของความเคล่ือนไหว วาถ่ี หาง หรือตอเนื่อง ท่ีสามารถพาสายตาใหมองดูตอเนื่องไมขาดระยะ เชน ลวดลายผา เปนตน 5. ทฤษฎีระดับความเปล่ียนแปลง เปนเร่ืองของการแปรเปล่ียนทัศนะธาตุ และลักษณะของทัศนะธาตุ เชนการเปล่ียนรูปราง รูปทรงหรือทิศทาง หรือเปล่ียนขนาดหนึ่งไปยังอีกขนาดหนึ่ง เชน เปล่ียนจากเล็กไปหาใหญ เปล่ียนความเขมหนึ่งไปยังอีกความเขมหนึ่ง เปนตน 6. ทฤษฎีความเคล่ือนไหว หมายถึงความไมหยดุนิ่ง คลายกับจังหวะ แตมีอัตราเรงท่ีสูงกวา หลักการนี้สามารถท่ีจะทําใหสายตาเคล่ือนท่ีอยางไมหยดุยั้ง และจะนําไปสูจุดสําคัญท่ีสุดของผลงาน 7. ทฤษฎีความกลมกลืน หรือความประสานสัมพันธ หมายถึงความไมขัดแยงกัน ความประสานกันขององคประกอบในงานออกแบบ เชน ความประสานของเสน รูปราง รูปทรง ฯลฯ นอกจากนั้นยงัมีความสัมพนัธของเนื้อหา เชน เนื้อหาท่ีเกี่ยวกับธรรมชาติมักประกอบดวยส่ิงท่ีเปนธรรมชาติ เชนดอกไม ตนไม สัตว แมลง ซ่ึงขัดแยงกับเนือ้หาท่ีเปนเคร่ืองจักรกล เชน เฟอง คาน ฯลฯ 8. ทฤษฎีความขัดแยง หมายถึงความไมประสานสัมพันธระหวางกัน หรือเปนส่ิงตรงขามกัน เชน ความมือ กับแสงสวาง ขนาดใหญกับขนาดเล็ก กลม กับ เหล่ียม ละเอียดกับหยาบ ความขัดแยงจะทําใหงานมีความต่ืนเตน แลดูชัดเจน ข้ึนกวาการใชความผสานกลมกลืน

Page 37: princeple of design

36

9. ทฤษฎีสัดสวน เปนการออกแบบท่ีวาดวยความสัมพนัธของสวนของเสนตรงและรูปรางท่ีมีตอกันระหวางสวนๆ หนึง่กับสวนใหญหรือสวนรวม หรือระหวางสวนตอสวน การท่ีสัดสวนมีความสัมพันธอันดีนี้เองท่ีกอใหเกิดความงดงามข้ึน นักออกแบบตองตระหนกัถึงสัดสวนของพื้นท่ีกับลวดลายในพื้นท่ี สัดสวนของระยะ ของเสน รูปราง รูปทรง การจัดวางรูปหรือวัตถุ หรือการจัดเนื้อหาลงในพืน้ท่ี 10. ทฤษฎีดุลยภาพ คือภาวะของความเทากันหรือเสมอกัน ดวยกอนน้าํหนักสองดานคลายกอนน้ําหนักบนตาช่ัง แตแทนคาของกอนน้ําหนกัเปนเสน รูปทรง รูปราง สี ซ่ึงเปนการรับรูทางประสาทตา มี 3 ลักษณะ คือ - ดุลยภาพท่ีเทากัน (Symmetrical Balance หรือ Formal Balance) - ดุลยภาพท่ีไมเทากัน (Asymmetrical Balance หรือ Informal Balance) - ดุลยภาพรัศมีวงกลม (Radial Balance) 11. ทฤษฎีการเนน เปรียบเหมือนการย้ําใหเห็นความสําคัญ เพื่อใหเกิดความสนใจในการออกแบบ การเนนเปนการสรางจุดสนใจใหเกิดข้ึน ทําใหสายตาของผูชมตองมองไปยงัสวนท่ีเดนหรือสะดุดตาที่สุดหลายๆ คร้ังดวยความสนใจ แลวคอยเลื่อนไปยังสวนสําคัญรองลงไป 12. ทฤษฎีเอกภาพ หมายถึงความเปนอันหนึ่งอันเดียวกนั ไมแตกแยกออกจากกัน เปนการแสดงถึงการรวมตัว มีความสามัคคีและมีพลังอํานาจ ในทัศนศิลปซ่ึงเปนงานลักษณะ 2 มิติ หรือ 3 มิติ วิธีการสรางเอกภาพท่ีไดผลวิธีหนึ่งคือ การเนนใหเหน็สวนสําคัญ นอกจากนั้นยงัมีความเปนเอกภาพในความคิด (Unity of idea) เอกภาพทางรูปแบบ (Unity of style or character) เอกภาพมี 2 ลักษณะ คือ 1. เอกภาพท่ีอยูกับท่ี (Static unity) 2. เอกภาพท่ีเคล่ือนไหว (Dynamic unity)

ภาพแสดงการนําทฤษฎีการออกแบบมาใชในการออกแบบ

Page 38: princeple of design

37

การออกแบบสองมิติ

2.1 การออกแบบสองมิต ิ การออกแบบสองมิติเปนการจัดวางองคประกอบท่ีเกีย่วกับความกวางและความยาวบนพื้นท่ีหนึ่งพื้นท่ีใด ตามปกติแลว เปนการออกแบบท่ีกนิพืน้ท่ีบนระนาบรองรับ ซ่ึงสามารถตรวจสอบความกวางและความยาวบนระนาบรองรับได แตไมสามารถตรวจสอบมิติความหนาหรือลึกได โดยท่ัวไปไปแลวงานออกแบบสองมิติจะมีพืน้รองรับ ซ่ึงพื้นรองรับนี้อาจจะเปนกระดาษ โลหะ พลาสติก พื้นทราย พืน้คอนกรีต ฯลฯ ตามความเหมาะสม

2.1.1 รูปรางและการจัดองคประกอบ 2 มิต ิ เราเห็นรูปรางไดจากขอบของเสนรอบนอก ซ่ึงเปนรูป 2 มิติ มีแตความกวางและความยาว ไมมีความหนาและความลึก เสนรอบนอกท่ีแยกพื้นท่ีใหมจากพื้นท่ีเดิม อาจจะแตกตางไปจากส่ิงขางเคียงโดนอาศัยสี (Color) ลักษณะผิว (Texture) เปนสวนเนนทําใหเห็นความแตกตาง เราอาจแบงรูปรางออกไดเปน 1. รูปรางตามธรรมชาติ (Natural Shape) อันไดแกรูปรางตางๆ ท่ีเราพบเห็นไดจากส่ิงรอบๆ ตัวท่ีเกดิข้ึนโดยธรรมชาติ อันเปนส่ิงดลใจในการออกแบบ 2. รูปรางนามธรรม (Abstract Shape) คือรูปรางท่ีเปล่ียนไปจากของเดมิ แตเปนท่ีเขาใจวามาจากของเดิม 3. รูปรางไมมีเนื้อหา (Nonobjective Shape) คือรูปรางท่ีไมกอใหเกิดความเขาใจเม่ือพบเห็น ไมมีความหมาย รูปรางชนิดนี้ไมไดถายแบบมาจากท่ีใด แตเปนรูปรางท่ีเกิดข้ึนเอง เชน เม่ือเราโยนกอนหินลงไปในนํ้านิง่ จะเกดิการแตกตัวของผิวน้ําเปนละลอกใหเห็น

2.1.2 ปญหาทางมิติสําหรับการออกแบบ 2 มิต ิปญหาทางมิตสํิาหรับการออกแบบสองมิตปิระกอบไปดวย 1. มิติท่ีตรวจสอบได หมายถึง เม่ือมีมิติ (Dimension) มีความหมายถึงการวัดหรือ

ตรวจสอบ มิติบนงานออกแบบสองมิติ ก็สามารถวัดตรวจสอบไดเพียงบริเวณพื้นท่ีบนผิวหนา (Surface) โดยเฉพาะอยางยิ่งมิติกวางและยาว เชน ความกวางยาวของเสน รูปรางบริเวณวาง จดุ รูปรางของรูปทรงและบริเวณวาง นอกจากนั้นยังรับรูเกีย่วกับสีและนํ้าหนกัสีไดโดยตรงอีกดวย การออกแบบทางมิติท่ีตรวจสอบได ไมมีปญหาอะไรมากนัก เพราะสามารถกําหนดความกวางยาว รูปราง และสีลงบนงานออกแบบไดโดยตรง ซ่ึงตางกับปญหามิติท่ีตรวจสอบไมได

Page 39: princeple of design

38

2. มิติท่ีตรวจสอบไมได อาจเรียกวามิติมายาหรือมิติลวง (Illusion) เปนมิติบนงานออกแบบสองมิติ ท่ีอยูนอกเหนือการวัดหรือตรวจสอบโดยตรงแตรับรูมิตินั้นไดดวยความรูสึก ซ่ึงเปนการสรางภาพลวงหรือมายาไว เชน ความรูสึกเกีย่วกับปริมาตร บรรยากาศ ความรูสึกเคล่ือนไหว เปนตน การรับรูเชนนี้เปนเพียงความรูสึกท่ีหาขอกําหนดชัดเจนตายตัวไมได

การออกแบบสองมิติ ผูออกแบบควรมีความเขาใจถึงปญหามิติท่ีตรวจสอบไดและไมได พรอมท้ังสามารถสรางความสัมพันธปญหาขางตนท้ังสองลักษณะเขาดวยกันได ท้ังนีย้อมข้ึนอยูกับความเขาใจท่ีกวางขวางและประสบการณท่ีไดพบเห็นมาก และทักษะในการปฏิบัติงาน ซ่ึงจะเปนส่ิงผลักดันใหการออกบแบบประสบผลสําเร็จดวยดี ผูออกแบบจํานวนมากพิจารณาปญหาการออกแบบเฉพาะปญหามิติท่ีตรวจสอบได ทําใหงานออกแบบเปนไปอยางต้ืนเขินและไมไดผลงานเดนเทาท่ีควร ถาจะทําความเขาใจในปญหามิติท่ีตรวจสอบไมไดไปพรอมกันกย็อมเปนท่ีหวังไดวาจะไดผลงานออกแบบท่ีนาสนใจข้ึน

ปญหาการจัดภาพในงานออกแบบสองมิติ ประกอบดวย 1. ปญหาขอบภาพ (Picture Border) ส่ิงจําเปนเร่ิมแรกสําหรับการจัดภาพ คือ การกําหนด

พื้นท่ีดวยเสนขอบภาพหรือขอบกระดาษสําหรับใชออกแบบ โดยท่ัวไปเสนต้ังและเสนนอนซ่ึงเปนเสนขอบ จะเปนตัวกําหนดพืน้ท่ีใหอยูในขอบเขตจํากัด เพื่อจัดตําแหนงและลีลาสวนประกอบการออกแบบเขาดวยกัน แตมีนักออกแบบบางคนเร่ิมตนดวยการจัดรูปทรงตางๆ ลงบนหนากระดาษ หลังจากนัน้จึงเลือกบริเวณภาพท่ีเหมาะสม แลวลากเสนกรอบลงตามท่ีตองการ ซ่ึงก็เปนวิธีการแกปญหาการจัดภาพดวยขอบภาพอีกลักษณะหนึ่ง นอกจากขอบภาพจะเปนตัวกําหนดพื้นท่ีการออกแบบแลว รูปทรงและลีลาตางๆ ยังจะตองมีความสัมพันธกับขอบภาพ เนื่องจากขอบภาพเปนตัวประกอบใหรูปทรงและสวนประกอบการออกแบบอื่นๆ แสดงลีลาอยูในบริเวณวางนั้นคลายกบัการจัดบานท่ีมีผนังซายขวา พื้นและเพดาน เปนตัวบังคับใหการจดัวางส่ิงตางๆ ตองคํานึงถึง ผนัง พื้น และเพดาน อยูตลอดเวลา

2. ปญหาบริเวณวางท่ีราบเรียบ (Flat or Shallow Space) การออกแบบสิงมิติมักมีปญหาในเร่ืองมิติลวง โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาเกี่ยวกับบริเวณวาง ซ่ึงบริเวณวางจริงๆ จะกนิเนื้อท่ีท้ังกวาง ยาว ลึก แตในงานออกแบบสองมิติ กลับมีปญหาในสวนลึก เพราะไมสามารถสรางสวนลึกท่ีสัมผัสได จึงเปนการสรางภาพลวงใหเกิดข้ึนดวยวิธีการตางๆ กนั แตอยางไรกต็าม การออกแบบสองมิติท่ัวๆ ไปในปจจุบัน ก็เปนท่ีนยิมกําหนดบริเวณวางใหสัมพันธกับสภาพสองมิติของพื้นภาพ ไมนิยมสรางใหไดความรูสึกลึกเหมือนวัตถุส่ิงแวดลอมจริง เพราะอาจจะถือวา เปนการทําลายสภาพสองมิติลงได เพียงออกแบบใหรูสึกลึกเพียงแตเล็กนอย หรือใหไดความรูสึกเกีย่วกับบริเวณวางท่ีราบเรียบอยูบนผิวหนา โดยอาจจะแกปญหาดวยวิธีการจัดรูปทรงใหทับซอนกัน (Overlapping) หรือจัดพื้นราบใหเหมาะสมบนพ้ืนภาพ เปนตน

Page 40: princeple of design

39

3. ปญหาบริเวณบวกและลบ (Positive and Negative Space) เม่ือนักออกแบบกําหนดขอบภาพข้ึนแลว เม่ือเขากําหนดรูปทรงใดรูปทรงหนึ่งลงบนพ้ืนท่ีในขอบเขตจํากัด นักออกแบบตองคํานึงถึงวาพื้นท่ีท่ีเหลือนั้นจะมีความเหมาะสมสวยงาม หรือสัมพันธกับรูปทรงบนพ้ืนภาพมากนอยเพยีงใดรูปทรงท่ีกําหนดลงไวนัน้ มีสภาพเปนคาบวก (Positive) และบริเวณวางท่ีเหลือมีสภาพเปนคาลบ (Negative) ท้ังคาบวกและคาลบจะมีความสัมพันธตอเนื่องกันอยางแยกไมออก เหมือนกับการมีท่ีดินหนึ่งแปลง แลวตองการสรางบาน ปลูกตนไม หรือสรางอาคารอ่ืนๆ ซ่ึงนอกจากจะตองคํานึงถึงรูปทรงของส่ิงตางๆ แลวยังจะตองคํานึงถึงบริเวณวางท่ีเหลือวาควรจะเปนสนามหญา มุมพักผอน หรือท่ีโลงแจงเพือ่ใหความสะดวกสบายร่ืนรมย หรือใหความรูสึกแออัดแกเรามากนอยเพียงใด เปนตน

2.1.3 เทคนิคในการจัดองคประกอบ 2 มิติ เทคนิคในการจัดวางองคประกอบ 2 มิติ ใหมีความสัมพนัธกนัเปนอันหนึ่งอันเดียว

องคประกอบจะตองมีความสัมพันธกันดวยลักษณะของการจัดวางดังตอไปนี้อยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางพรอมกัน

1. การนํารูปราง รูปทรง มาวางเรียงกันอยางเปนระเบียบและคอยๆ แปรเปล่ียนเหมือนการหลุดลอย ทําใหเห็นภาพการเคล่ือนไหวไปพรอมกับการสรางแรงดึงดดูท่ีตางกัน เปนลักษณะของ Tension

Page 41: princeple of design

40

2. การเปล่ียนรูปทรงดวยวิธีลดรูปดวยมุมจัตุรัส ของส่ีเหล่ียมสีขาว และนํามาจัดวางใหรูปสัมผัสกันเปนกลุม เพื่อสรางพื้นภาพสีขาวใหมีรูปรางเหล่ียมเรขาคณติ ในลักษณะ Positive Form และ Negative Space เปนลักษณะของ Contact

3. การซอนทับของรูปทรง Positive และ Negative โดยซอนเปนคู และจัดวางกลุม ท่ีไมเปนระเบียบแบบแผนนักทําใหเห็นการเคล่ือนไหวจากบนลงไปลาง หรือจากลางข้ึนขางบน เปนลักษณะของ Overlap

Page 42: princeple of design

41

4. รูปทรงซ่ึงแตกตางกันแตมีการเกี่ยวเนื่องกัน รูปทรงท้ังสองเก่ียวกันเปนคู (Unit Form) การจัดวางใหมีกลุมใหญ และรูปทรงท่ีแตกตางออกไปเปนจุดสนใจของภาพ เปนลักษณะของ (Interlock)

5. รูปทรงสวนใหญถูกทําใหมีความสัมพันธลักษณะเดียวกัน มีเพยีงหนวยท่ีเปนรูปทรงพิเศษท่ีถูกทําใหแตกตางและวางในตําแหนงคอนขางเปนศูนยกลางของภาพเพ่ือเพิ่มความสนใจ เปนลักษณะของ Inter Penetrate

Page 43: princeple of design

42

6. หนวยรูปทรงท่ีนํามาจัดคอนขางหลากหลาย มีความสัมพันธระหวางรูปทรงท่ีแตกตางกัน เชน การดงึดูด สัมผัส ซอนทับ เกี่ยวเนือ่ง สอดประสาน แตรูปทรงที่เปนจุดสนใจ ไดแก รูปทรงอิสระท่ีมีรูปรางท่ีแตกตางและจัดวางในทิศทางท่ีไมเหมือนรูปทรงอ่ืนซ่ึงอยูในแนวโครงสรางท่ีเปนแบบแผน

2.1.4 การออกแบบและจัดองคประกอบ 2 มิต ิใหนกัศึกษาจดัภาพองคประกอบ 2 มิติ ใหมีความสัมพันธกันในลักษณะดึงดดู (Tension)

ในลักษณะ สัมผัส (Edge in Contact) ลักษณะซอนทับ (Overlap) ลักษณะเกี่ยวเนื่อง (Interlock) และสอดประสาน (Interpenetrate) อยางละหนึ่งภาพ และใหจัดภาพดวยรูปทรง ท่ีเกิดจากระนาบสองระนาบมาจัดคูกันในลักษณะ สัมผัส (Edge in Contact) ซอนทับ (Overlap) เกี่ยวเนื่อง (Interlock) สอดประสาน (Interpenetrate)

การออกแบบสามมิติ 2.2 การออกแบบสามมิต ิ งานออกแบบสามมิติ คือ งานออกแบบท่ีแสดงปริมาตรของรูปทรง ใหสามารถตรวจสอบหรือสัมผัสไดดวยกายสัมผัส โดยกินเนื้อท่ีในบริเวณวางหรืออากาศในแงการออกแบบสามมิติท่ัวไปแลวจะกินความไปอยางกวางขวางท้ังงานออกแบบสถาปตยกรรม ผังเมือง การตกแตงภายใน

Page 44: princeple of design

43

และภายนอก งานประติมากรรม เคร่ืองเรือน ตูโชว ตลอดจนงานชาง ฯลฯ งานออกแบบสามมิติในบางคร้ังสามารถใชงานสามมิติลวงหรืออาจเรียกวาเปนการสรางภาพลวงตาใหเกดิความรูสึกดูเปนงานสามมิติไดบนแผนกระดาษหรือแผนผาใบ การสรางงานสองมิติเขาสูสามมิติอยางแทจริง และสัมผัสไดในระยะแรก อาจทําโดยการตัดยก หรือพับกด สอด กระดาษใหสูงหรือตํ่าจากระดับของระนาบเดิม เปนการสรางภาพท่ีเรียกวาภาพนูนตํ่า (Relief) สวนในการสรางงานสามมิติท่ัวๆ ไปท่ีเปนลักษณะของงานประติมากรรมหรืองานอ่ืนๆ ท่ีกลาวมาขางตนจะมีข้ันตอนการทาํงานแบงเปน 3 ตอนคราวๆ คือ 1. ออกแบบภาพราง 2. เขียนแบบจากภาพราง 3. สรางผลงานตามแบบท่ีรางไว

2.2.1 รูปทรง ปริมาตร และลักษณะผิว

ในการสรางงานออกแบบสามมิตินั้นมีส่ิงท่ีตองพิจารณาหลักๆ อยู 3 ประการดวยกนัคือ 1. รูปทรง (Form) รูปทรงนับเปนส่ิงสําคัญสําหรับงานออกแบบสามมิติ เพราะรูปทรงมีสวนสัมพันธกบัหนาท่ีใชสอยโดยตรง และยังกําหนดลักษณะในดานความงดงามท่ีเดนชัดดวย การออกแบบสามมิติจึงตองคํานงึถึงปญหารูปทรงเปนประการแรก กอนท่ีจะคํานึงถึงสวนประกอบของการออกแบบอื่นๆ เชน การออกแบบกระถางปลูกตนไม ผูออกแบบจะตองคํานึงถึงรูปทรงท่ีสวยงามท่ีตองสัมพันธกับคุณภาพการทรงตัวของดิน รูปทรงท่ีสะดวกตอการถายดินเม่ือตองการยอยตนไม หลังจากไดรูปทรงท่ีเหมาะสมสวยงามแลวจึงพจิารณาถึงลวดลาย ลักษณะผิว สี หรือปญหาอ่ืนๆ ท่ีตามมา ความงามของรูปทรงในงานออกแบบสามมิติ นอกจากจะตองคํานึงถึงวัสดุหนาท่ีใชสอย และการผลิตแลว ความงามท่ีเปนเอกภาพกลมกลืนดวยตัวของมันเอง การแสดงความคิดสรางสรรค และแสดงความเดนสงางามนาสนใจ ยอมเปนคุณคาทางความงามของผลงานการออกแบบ 2. ปริมาตร (Volume) เม่ือพิจารณาถึงปริมาตรยอมมีความสัมพันธกับรูปทรง ในขณะที่รูปทรงเนนถึงลีลา ทรวดทรง และความงามในงานออกแบบช้ินนั้น แตปริมาตรกลับเนนถึงสภาพการกินเนื้อท่ีในอากาศ ท่ีแสดงความกวาง หนา บาง ทึบตัน โปรง ซ่ึงสัมพันธกับบริเวณวางหรืออากาศ เม่ือพิจารณาถึงปริมาตรจึงเปนการพิจารณาถึงความเหมาะสมกลมกลืนของสภาพทึบตัน บอบบาง หนา กวาง ยาว ซ่ึงมีความงามของบริเวณวางเปนตัวประกอบรวมนอกจากนั้นปญหาทางปริมาตรยังมีความสัมพันธตอเนื่องกับระนาบ (Surface) ซ่ึงจะตองพิจารณารวมไปดวยในงานออกแบบสามมิติ เชน ความสัมพันธของระนาบเรียบ (Plane Surface) ระนาบโคง (Curve Surface) และระนาบเหล่ียม (Prismatic Surface) เปนตน

Page 45: princeple of design

44

3. ลักษณะผิว (Texture) ลักษณะผิวเปนส่ิงท่ีหลายคนอาจจะไมคอยไดพิจารณามากนกัสําหรับงานออกแบบท้ังสองมิติและสามมิติ โดยเฉพาะอยางยิ่งงานออกแบบสามมิติลักษณะผิวนับวามีความสําคัญอยางมาก เพราะลักษณะผิวจะใหคุณคาท้ังความงามและคุณคาทางประโยชนใชสอย เชน การออกแบบชุดรับแขกชุดหนึ่ง ผูออกแบบอาจจะขัดผิวโครงไมใหเปนเงาวาว และใชผนังผิวมันบุพนักพิงและท่ีวางแขน แตเบาะท่ีนั่งกลับใชผาผิวหยาบ ซ่ึงจะเห็นการจดัลักษณะผิวท่ีตางกัน ใหความรูสึกตัดกันและนาสนใจข้ึน นอกจากนั้นผิวหยาบทีเ่บาะมีสวนชวยใหขณะน่ังเอนไปขางหลังจะไมเล่ือนไปมาไดงายอีกดวย หรือการออกแบบแกวน้ํา นกัออกแบบบางคนนิยมทําลักษณะผิวบริเวณท่ีมือจับใหเปนร้ิวรอยหยาบ ท้ังนี้ก็มีคุณคาท้ังสองดาน คือ ชวยใหสวยงามและเวลาถือไมล่ืนดวย นอกจากนี้ยงัสามารถสังเกตลักษณะผิวจากงานออกแบบส่ิงของเคร่ืองใชอ่ืนๆ เชน ดามมีด ดามปน ขวดเคร่ืองดื่ม ปากกา ฯลฯ หรืองานประติมากรรม เชน พระพุทธรูปท่ีขัดผิวมัน เพื่อสรางความศรัทธาประทับใจตอผูพบเห็น รูปปนท่ีแสดงรอยนิ้วมือหยาบๆ เพื่อแสดงอารมณอันรุนแรง หรือการแตงกายท่ีใชผาตัดเนื้อละเอียดเข็มขัดผิวมัน กางเกงผาผิวหยาบ และรองเทาผิวมัน เปนตน

ภาพแสดงรูปปนแบบนนูตํ่าซ่ึงถือวาเปนภาพสามมิติอยางหนึ่ง

Page 46: princeple of design

45

ภาพแสดงรูปทรงของประติมากรรมลอยตัว

ภาพประติมากรรมลอยตัวท่ีแสดงถึงท่ีวางภายใน

สินคาและงานหัตถกรรมตางๆ ท่ีมีลักษณะเปนรูปทรงสามมิติ

Page 47: princeple of design

46

ในเรื่องของรูปทรงนั้นยงัประกอบดวยรูปทรงทางสามมิติ 2 ประเภทดวยกันคือ รูปทรงเปด (Open Form) และรูปทรงปด (Closed Form) รูปทรงเปด ลักษณะงานประเภทน้ีไมเปนรูปทรงท่ีมีกรอบเดนชัดจะมีเพียงแกนกลางท่ีแสดงออกในความนึกคิดโดยมีสวนประกอบอ่ืนเคล่ือนไหวอยูโดยรอบ รูปทรงเปดเปนรูปแบบเหมือนการเติบโตของธรรมชาติ รูปทรงไมไดโดดเดี่ยวจากสภาพแวดลอมโดยรอบ องคประกอบจะยืน่เขาสูท่ีวางอยางไมส้ินสุด องคประกอบจะมีความสัมพันธกับ “ท่ีวาง” อยางลึกซ้ึง รูปทรงเปดนั้นปริมาตรท่ีเคยทึบตันจะเปดออก และมีท่ีวางสอดทะลุ หรือรูปทรงเกิดความเคล่ือนไหวท่ีไมหยุดนิ่งจากแนวแกนกระจายเปนวงกวางออกไปและกลับไปที่จุดนั้นอีกคร้ัง แนวความคิดของรูปทรงเปดหรือรูปทรงภายนอก (Exterior) และรูปทรงภายใน (Interior) ท่ีประสานกันเปนอันหนึ่งอันเดยีว (Unity) จากดานหนึ่งไปสูอีกดานหนึ่ง ซ่ึงมีความตอเนื่องหรือความสอดคลองของรูปทรงท้ังภายในและภายนอก ตัวอยางการนาํกระดาษมาจดัเรียง แนวเสนบนกระดาษเม่ือสรางใหมีความสูงเปนสามมิติดวยการวางระนาบตามแนวเสน หากแนวเสนมีความถ่ีมากระนาบท่ีจัดวางตามแนวเสนดังกลาวจะทําใหเกิดรูปทรงในความนกึคิด (Conceptual Element) จากกลุมของระนาบชัดเจนยิ่งข้ึน ระนาบท่ีนํามาจัดวางอาจจะมีรูปทรงเหมือนกนัท้ังหมด หรือจะสรางใหระนาบมีการแปรเปล่ียน (Gradation) อยางคอยเปนคอยไปดวยการลดหรือเพิ่มรูประนาบใหมีการแปรเปล่ียนอยางชาๆ รูปทรงท่ีเพิ่มหรือลดจากระนาบเดิมนั้น เกิดเปนรูปทรงใหมซอนอยูในหรือบนรูปทรงเกา รูปทรงท่ีไมมีกรอบรูปชัดเจนมีเพียงระนาบและท่ีวางเรียงสลับกันอยูนัน้ เรียกวารูปทรงเปด (Opened Form) หรือรูปทรงในความนึกคิด (Conceptual Form) ซ่ึงมาจากมาจากรูปทรงท่ีเปนภาพ (Positive Form) ไดแกระนาบ และท่ีวางระหวางรูปทรง (Negative Space) ไดแกชองวางระหวางระนาบเหลานั้น

ลักษณะของรูปทรงเปดท่ีเกดิจากการเรียงตัวของแผนระนาบ

Page 48: princeple of design

47

รูปทรงปด ไดแกลักษณะภายนอกของรูปทรงท่ีเปนสามมิติบางชนิดจะถูกบังคับโดยส่ิงหุมหอภายนอก หรือผิวท่ีคลุมหอมลอมอยู ส่ิงหอหุมนีจ้ะปกคลุมสวนประกอบตางๆ ภายในไว และเนื้อท่ีภายในจะถูกตัดขาดออกจากภายนอกอยางเด็ดขาดรูปทรงในลักษณะนี้เรียกวารูปทรงปด (Closed Form) ปริมาตรท่ีปดลอมเปนรูปทรงเรขาคณิต เรียกพืน้ผิวท่ีหอหุมรูปทรงเชนนี้วา “กรอบ” (Envelope) พื้นผิวของรูปทรงจะแยกตัวจากท่ีวางโดยรอบไมวาจะมีอะไรเกดิข้ึนภายในกรอบนั้น การแกะสลักหินหรือไม นกัประติมากรรมพยายามท่ีจะเก็บความรูสึกของกอนวัตถุใหเปนเหมือนกรอบ โดยแกะสลักเพียงเล็กนอย และพยายามรักษารูปรางธรรมชาติสวนใหญไวมากท่ีสุดเทาท่ีจะทําได รูปทรงท่ีเกิดข้ึนจะเปนรูปทรงปดจากสภาพแวดลอมโดยรอบ รูปทรงประเภทนี้จะเรียกไดอีกอยางหนึ่งวารูปทรงทึบตัน (Solid) จะทึบตันเหมือนหิน หรือกลวงเหมือนอิฐหรือคอนกรีตบล็อก แตเม่ือมองดโูดยสวนรวมแลวมีความรูสึกทึบตัน ไมเหน็ความเปนไปภายใน ใหความรูสึกของการถูกควบคุม

ลักษณะของรูปทรงปด

2.2.2 หลักการจัดองคประกอบ 3 มิต ิการจัดองคประกอบสามมิติ นอกจากจัดในลักษณะรูปทรงเปด ท่ีนําองคประกอบเสนและ

ระนาบมาสรางความสัมพันธกันกับท่ีวาง ใหสอดประสานหรือเกีย่วเนือ่งเปนอันหนึง่อันเดียวกนัแลว ยังสามารถนําระนาบมาหอมลอมท่ีวางและปดท่ีวางใหเปนรูปทรงทึบตันอีกดวย รูปทรงทึบตันหรือรูปทรงปด จะมีท่ีวางลอมรอบรูปทรงภายนอกเทานั้น รูปทรงปดจะมีเสนสําคัญอยูท่ีขอบของรูปทรง เปนเสนในความนึกคิด (Conceptual Line) แสดงระดับแนวกรอบของรูปทรงหลัก (Major Contour Line) และยังมีเสนท่ีแสดงผิวสัมผัสขององคประกอบ หรือ เสนท่ีใชตกแตงองคประกอบใหเห็นระดับของรูปทรงรอง (Minor Contour Line)

Page 49: princeple of design

48

รูปทรงปดจะมีรูปรางเรขาคณิตหรือรูปรางอิสระไดหากมีรูปทรงหลายรูป (Unit Form) เล็กๆ และตองการสรางรูปทรงรวมใหมีความเปนอันหนึง่อันเดียวกนัแลว จะตองใชหลักการจัดองคประกอบมาสรางความสัมพันธระหวางองคประกอบในรูปแบบตางๆ ไดแก ดึงดูดกัน สัมผัสดาน สัมผัสมุม ซอนทับ เกีย่วเนื่อง หรือสอดประสานความสัมพันธขององคประกอบในรูปแบบเกี่ยวเนื่องหรือสอดประสานจะชวยใหองคประกอบมีความเปนอันหนึง่อันเดียวกนัมากข้ึน (Unity) องคประกอบจํานวนมากช้ินท่ีมักจะจัดใหอยูเปนกลุมจําเปนตองคํานึงถึงแกน (Axis) ท่ีจะชวยใหกลุมของรูปทรงอยูรวมกันอยางสมดุล นอกจากนั้น ควรมีรูปทรงท่ีเปนจุดสนใจ ซ่ึงอาจจะเปนรูปทรงท่ีมีขนาดใหญกวารูปทรงอ่ืนหรือเปนรูปทรงท่ีมีความสูงเปนพิเศษ หรือรูปทรงท่ีมีรูปรางแตกตางจากรูปทรงอ่ืน หรือมีท้ังรูปราง ขนาด เปนจุดเดนท่ีสังเกตไดชัดเจน ประกอบกันเขากับรูปทรงรองในลักษณะท่ีแตกตางชัดเจน (Contrast) หรือคอยๆ แปรเปล่ียน (Gradation) ในลักษณะกลมกลืน (Harmony)

Page 50: princeple of design

49

หลักของการจดัองคประกอบสามมิติ 2.2.3 การจัดองคประกอบ 3 มิต ิ1. ทดลองจัดรูปทรงสามมิติท่ีเกิดจากการแปรเปล่ียนองคประกอบสองมิติโดยคํานึงถึง

ความสัมพันธระหวางรูปทรงท่ีเกิดจากกลุมของระนาบในลักษณะรูปทรงเปด (Open Form & Conceptual Form)

2. ทดลองจัดองคประกอบสามมิติ โดยใชรูปทรงปด (Closed Form & Visual Form) และสรางความสัมพันธระหวางรูปทรงในลักษณะ ดึงดูด สัมผัส ซอนทับ เกี่ยวเนื่อง และสอดประสาน

Page 51: princeple of design

50

3.1 ระนาบและชองวาง ระนาบและชองวางหรือพื้นท่ีวางนั้นจัดเปนส่ิงหนึ่งท่ีสําคัญในการออกแบบเม่ือกลาวถึงพื้นท่ีวาง นั้นอาจกลาวไดวาหมายถึงบริเวณวางท่ีอยูโดยรอบวัตถุตางๆ ถาเปรียบตัวเราเปนวัตถุซ่ึงมีสภาพเปนมวล (Mass) แลวความวางดังกลาวเปนบริเวณพ้ืนท่ีลบ (Negative Space) สวนพืน้ท่ีท่ีเปนตัวเรานั้นเปนบริเวณพืน้ท่ีบวก (Positive Space) ในการออกแบบงานประเภท 2 มิติจะตองกําหนดกรอบพื้นท่ี (Space Frame) เปนรูปส่ีเหล่ียม สามเหล่ียม วงกลม หรือรูปรางอิสระเสียกอนแลวจึงสรางรูปรางหรือรูปทรงตามท่ีตองการลงในกรอบพื้นท่ีอีกทีหนึ่ง ในงานออกแบบท้ังสองมิติและสามมิติ บริเวณวาง (Space) ไดกลายเปนปญหาสําคัญในการพิจารณาถึงงานออกแบบชิ้นใดช้ินหนึ่ง เพราะบริเวณวางเปนตัวครอบคลุมสวนประกอบการออกแบบท้ังหมด เปนเสมือนตัวประสานสิ่งตางๆ เขาดวยกันใหเปนเอกภาพ ในแงความงาม บริเวณวางก็เปนตัวความงามรวม และเปนตัวผลักดนัสวนประกอบการออกแบบท้ังหมดใหนาสนใจ บริเวณวางตางจากชองวางหรือชองไฟ (Void) ตรงท่ีชองวางหรือชองไฟ หมายถึงชวงหางจากส่ิงหนึ่งถึงอีกส่ิงหนึ่ง แตบริเวณวางหมายถึง บริเวณอากาศ หรือท่ีวางท้ังหมดที่ลอมรอบส่ิงนั้นอยู การจัดสวนประกอบการออกแบบ เราสามารถสรางแรงยึดเหน่ียวสวนประกอบตางๆ เขาดวยกันและยงัเปนแรงท่ีใหพลังความรูสึกอันหนกัแนนจริงจังอีกดวยซ่ึงแรงในที่นีเ้ปนแรงในบริเวณวาง (Force in Space) ท่ีมีความสําคัญตองานออกแบบเปนอยางยิ่ง

3.1.1 สวนประกอบของการใชระนาบและชองวาง ระนาบ นั้น กลาวไดวาระนาบเกิดจากแนวเสนท่ีตอเนื่องกัน ปดลอมพื้นท่ีใดพื้นท่ีหนึ่งทําใหเกิดรูปราง (Shape) หรือกลุมของจุดและเสน ซ่ึงเรามองผานไปแลวเกิดลักษณะของระนาบ ระนาบเชนนี้เปนองคประกอบในความนกึคิด (Conceptual element) การท่ีเราจะสังเกตรูปรางไดก็ตอเม่ือเรามองเห็นถึงความแตกตางของสี พื้นผิวสัมผัสระหวางรูปราง และพ้ืนท่ีโดยรอบ อาจแยกแยะออกไดวามีลักษณะดังนี ้ - เสนท่ีตอออกไปในทิศทางใดทิศทางหนึง่ - มีขอบเขตความยาวและความกวาง - ประกอบดวยความกวาง ความยาว แตไมมีความหนาหรือความลึก - รูปรางของระนาบเกิดจากเสนรอบรูป - ระนาบกําหนดขอบเขตของปริมาตร ตัวอยางของการสรางระนาบซ่ึงสามารถสรางจากเสนได เชน การใชเสนขนานสองเสนซ่ึงมีพื้นท่ีวางตรงกลางหากเสนสองเสนอยูไกลเราจะสังเกตระนาบไดยาก แตถาหากเสนท้ังสองนั้นใกลกันเขามาชองวางระหวางเสนท้ังสองแคบเขามาจะพบวาระนาบจะปรากฏชัดข้ึน

Page 52: princeple of design

51

ท่ีวาง หรือ ชองวาง ในศิลปะและการออกแบบเปนท่ีวางท่ีถูกควบคุมและกําหนดใหมีขอบเขต มีหลายลักษณะดังนี้ 1. ท่ีวางจริงและท่ีวางลวงตา (Physical and Pictorial Space) ท่ีวางของงานสถาปตยกรรมและประติมากรรมเปนท่ีวางจริงๆ ท่ีสามารถสัมผัสไดเรียกวาท่ีวางจริง หรือท่ีวางทางกายภาพ สวนท่ีวางในงานจติรกรรมหรืองานออกแบบสองมิตินั้นแสดงความลึกต้ืน เปนท่ีวางลวงตา ท่ีสรางจากการประกอบกนัของทัศนะธาตุ เรียกวาท่ีวางลวงตา 2. ท่ีวางแบบ 2 มิติ (Two-Dimensional Space) คือท่ีวางท่ีกําหนดดวยความกวางและความยาวเทานั้น เปนท่ีวางของผิวพื้นท่ีแบนราบของส่ิงหนึ่งส่ิงใด เชน แผนภาพ กระดาษ หรือผาใบ 3. ท่ีวางแบบ 3 มิติ (Three-Dimensional Space) คือท่ีวางท่ีกําหนดดวยความกวาง ความยาว และความลึก เปนท่ีวางท่ีมีปริมาตร เชน ปริมาตรของท่ีวางในหอง ท่ีวางในรูปทรงสามมิติ ท่ีวางในทางลึกของงานจิตรกรรมท่ีแสดงดวยการประกอบกันของทัศนธาตุใหเกิดลวงตาเหน็เปน 3 มิติ 4. ท่ีวางท่ีเปนกลาง (Neutral Space) คือ ท่ีวางท่ียังคงความวางอยู ยังไมมีการกําหนดขอบเขตหรือรูปรางท่ีมีความหมายข้ึนและยังไมมีปฏิกิริยาใดๆ ใหรับรู เชน กระดาษวางๆ หรือท่ีวาง บนทองฟา 5. ท่ีวางบวกและท่ีวางลบ (Positive Space and Negative Space) เม่ือท่ีวางหนึ่งหนึ่งถูกกําหนดดวยเสนรูปนอกใหเกิดเปนรูปรางข้ึน ท่ีวางท่ีมีรูปรางนี้จะเร่ิมมีพลัง มีความเคล่ือนไหวและมีความหมายข้ึน สวนท่ีวางท่ีอยูรอบๆ จะยงัคงเปนความวางท่ีคอนขางเฉยอยู ถึงแมจะมีความหมายข้ึนบางจากผลการกระทําของท่ีวางสวนท่ีมีรูปราง ท่ีวางท่ีมีรูปรางนี้เรียกวาท่ีวางบวก สวนท่ีวางท่ีอยูรอบๆ เรียกวาท่ีวางลบ หรือท่ีวางท่ีอยูเฉย (Passive Space)

ลักษณะของที่วางบวกและที่วางลบ

Page 53: princeple of design

52

6. ท่ีวางสองนยั (Ambiguous Space) คือบริเวณท่ีวางท่ีถูกกําหนดดวยเสนใหเปนรูปรางข้ึน แตรูปรางของท่ีวางท่ีเกดิข้ึนมีความสําคัญหรือมีความหมายเทาๆ กับท่ีวางท่ีเหลืออยูจนไมอาจตัดสินไดวาสวนใดเปนท่ีวางบวก สวนใดเปนท่ีวางลบ ท้ังสองสวนจะเปนท้ังบวกและลบสลับกัน ทําใหเกิดพลังความเคล่ือนไหวของความไมแนนอนตลอดเวลา จากบวกไปเปนลบ จากลบมาเปนบวก

ลักษณะของที่วางแบบสองนัย

3.1.2 วิธีการใชระนาบบังคบัความเคล่ือนไหวของท่ีวาง เม่ือกลาวถึงระนาบสามารถอธิบายไดวา เม่ือเสนขยายตัวตามแนวอ่ืนท่ีไมใชแนวยาวจะเกิด

แผนระนาบ (Plane) ระนาบมีความกวาง ความยาว แตไมมีความลึก ลักษณะสําคัญท่ีจะแยกแยะแผนระนาบคือ รูปราง (Shape) โดยกําหนดจากทางเดินของเสนท่ีเปนขอบของแผนระนาบ จะสามารถเห็นรูปรางแทจริงของระนาบไดตอเม่ือมองจากแนวตรง เพราะวารูปรางจะเปล่ียนไปตามมุมมองตางๆ

ระนาบเปนตัวกําหนดขอบและเขตของปริมาตร งานทางสถาปตยกรรมและศิลปกรรมเปนงานท่ีเกีย่วของกับรูปรางและท่ีวางแบบ 3 มิติ ดังนั้นแผนระนาบจึงเปนองคประกอบท่ีสําคัญในการกําหนดปริมาตร 3 มิติของงานเหลานั้น

Page 54: princeple of design

53

การกําหนดลักษณะท่ีวางโดยองคประกอบแนวราบของระนาบนั้นสามารถจําแนกออกไดเปน 1. ระนาบฐาน (Base Plane) มีลักษณะเปนบริเวณท่ีวางท่ีกําหนดข้ึนงายๆ โดยระนาบ

แนวนอนวางเปนรูปทรงท่ีตัดกับฉากหลัง เชน พื้นอาคาร ท่ีเปนตัวรองรับวัตถุ และเปนฐานใหกับอาคารตางๆ

2. ระนาบฐานยกระดับ (Wall Plane) มีลักษณะเปนระนาบแนวนอน ท่ียกสูงข้ึนกวาระดับพื้น ทําใหเกิดผิวแนวดิ่งตามขอบ เนนการแยกตัวระหวางบริเวณนั้นกบัพื้นท่ีรอบๆ นอกจากนั้นผนังยังเปนองคประกอบแนวดิ่งท่ีมีผลมากท่ีสุดในการลอมท่ีวางใดๆ

3. ระนาบเหนือศีรษะ (Overhead Plane) มีลักษณะเปนระนาบแนวนอนท่ียกระดับสูงเหนือศีรษะกําหนดทีว่างระหวางตัวมันเองกับระนาบพ้ืน เชน หลังคา เพดาน ซ่ึงคลุมท่ีวางดานลาง

4. ระนาบฐานกดระดับ (Depressed Plane) มีลักษณะเปนระนาบแนวนอนกดตํ่ากวาระดับพื้น ทําใหเกิดผิวแนวดิ่งและกําหนดปริมาตรของบริเวณนั้นเนนการแยกตัวของพืน้ท่ีวางนั้นกับบริเวณโดยรอบ

ลักษณะของการจัดองคประกอบของระนาบแบบตางๆ

Page 55: princeple of design

54

การกําหนดชองวาง (Space) ท่ีมีสวนสัมพันธกับระนาบในแนวตางๆ มีดังนี ้1. การกําหนดชองวางดวยองคประกอบทางแนวต้ัง ซ่ึงองคประกอบทางแนวต้ังสามารถ

กําหนดขอบเขตปริมาตรของท่ีวางได นอกจากนั้นระนาบในแนวต้ังจะชวยเนนพืน้ท่ีวางท่ีอยูดานหนาของระนาบนัน้ได

2. ระนาบทางแนวต้ังรูปตัว แอล “L” ชวยสรางสนามของชองวางออกจากมุมของระนาบตามแนวทแยง

Page 56: princeple of design

55

3. ระนาบทางแนวต้ังท่ีขนานกันจะกําหนดใหเกิดชองวางระหวางระนาบท้ังสองซ่ึงจะเกิดแนวท่ีนําไปสูดานท่ีเปดออก

4. ระนาบทางแนวต้ังรูปตัว ยู “U” จะกําหนดใหปริมาตรของชองวางออกไปสูดานท่ีเปดออก

Page 57: princeple of design

56

5. ระนาบท่ีปดลอมท้ังส่ีดานจะทําใหเกิดชองวางภายในและชองวางภายนอกรอบๆ ระนาบนั้น

3.1.3 การใชระนาบและที่วางในการจัดองคประกอบ ใหนกัศึกษาออกแบบงานสองมิติและสามมิติ โดยใชท่ีวาง (Space) และระนาบ (Plane) เปนองคประกอบสําคัญ โดยออกแบบใหสวยงาม แสดงภาพและพืน้ (Positive & Negative Space) ท่ีชัดเจน 3.2 แนวคิดในการสรางสรรคทางการออกแบบ ประสบการณในดานการเหน็ การสัมผัส เปนส่ิงชวยสะสมใหเกดิความคิดสรางสรรคเปนอยางดี ความคิดสรางสรรคในการออกแบบคือการท่ีนักออกแบบคิดแบบไดอยางทันเวลา เปนแบบท่ีแปลกใหมตรงกับจุดประสงคการที่คิดแบบไมออกนั้นอาจมีสาเหตุหลายประการจนเปนเหตุใหขาดสมาธิในการคิดสรางสรรค หรืออาจเกดิจากการพบเห็นหรือสัมผัสกับงานออกแบบอยูในวงจํากดั ขาดการสังเกตและรับทราบขอมูลท่ีเปล่ียนแปลง ดังนั้นส่ิงสําคัญคือการหาขอมูล (Research) ใหมากและเก็บสะสมขอมูลเหลานั้นไวเพื่อชวยในการคิดสรางสรรคประกอบกับการใชทฤษฎีในการออกแบบเพื่อชวยใหสามารถออกแบบไดงาย รวดเร็ว และถูกตองมากขึ้น

Page 58: princeple of design

57

3.2.1 แนวทางในการสรางสรรคการออกแบบชนดิตางๆ การสรางสรรคเปนวิธีคิดอยางหนึ่ง วิธีดังกลาวนํามาใชในการคิด แกไข และไตรตรอง แลวนํามาปรับปรุงใหเกิดการพัฒนาการ จึงเห็นไดวาการสรางสรรคมีสวนสัมพันธกับการออกแบบซ่ึงตองอาศัยควบคูกันในข้ันปฏิบัติการ ทําใหเกิดเปนแนวทางในการสรางสรรคงานออกแบบท่ีสามารถแบงออกไดเปน 3 แบบ คือ 1. การสรางสรรคในดานความคิด เปนการใชหลักการทางวิทยาศาสตรประกอบการคนควา ทดลองใหเปนท่ีประจักษแกขอสงสัยของตนเอง เชน การกําหนดปญหาทดลอง ศึกษาวิเคราะหปญหานั้น แลวนํามาวิเคราะหขอมูลตางๆ ปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีเหมาะสม คือ ฝกคิดแกไข ไตรตรอง ซ่ึงเปนวิธีการท่ีมนุษยมีติดตัวมาและกระทํากันมาชานานแลว ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการตางๆ นั้น ลวนเกิดข้ึนจากการสรางสรรคในดานความคิดเหลานี ้ 2. การสรางสรรคในดานความงาม เปนการใชการสรางสรรคจากความประทับใจ ความมีจิตใจในดานสุนทรียภาพ แสดงออกมาในดานของการสรรหาวัตถุ หรือธาตุทางศิลปะตางๆ ท่ีเปนโครงสรางทางศิลปะ นํามาจดัประกอบกนัใหเกิดความสวยงามในทางจิตใจ 3. การสรางสรรคในดานประโยชนใชสอย เปนการใชการสรางสรรคในดานของความคิดและความงามท้ังสองขอผสมผสาน ดัดแปลง เลือกสรรวัสดุใหเหมาะสมในลักษณะของการประดิษฐส่ิงของเพ่ือมุงประโยชนอยางใดอยางหนึ่ง เพื่อสนองตอบความสุขทางกายและใจตามวิถีทางของการออกแบบ การสรางสรรคจึงนับวาเปนองคประกอบของการออกแบบท่ีมีความสัมพันธเกี่ยวเนือ่งกันท้ังสามขอ และถาจะใหไดผลท่ีสมบูรณตามจุดประสงคท่ีตองการก็จะตองฝกฝนดานการพัฒนาการสรางสรรคนี้อยูเสมอจนเกิดความชํานาญ

3.2.2 ระดับของการสรางสรรค ระดับของการสรางสรรคมีอยู 4 ประเภท คือ 1. การคนพบสิ่งใหม (Discovery) 2. การริเร่ิมใหม (Innovation) 3. การสังเคราะหใหม (Synthesis) 4. การดัดแปลงใหม (Mutation)

Page 59: princeple of design

58

การคนพบใหม ไดแกผลงานซ่ึงเปนส่ิงใหมท่ียังไมเคยมีใครคนพบมากอนในงานออกแบบ ปจจุบันจะพบงานประเภทนีไ้ดคอนขางยาก เนื่องจากผลงานออกแบบตางๆ มีรากฐานการพัฒนามาจากงานเดิมท่ีมีปญหาและขอบกพรอง เม่ือทําการปรับปรุงแกไขจึงมักยังคงความเกีย่วของหลงเหลืออยู การคนพบส่ิงใหมเกิดข้ึนในวงการวิทยาศาสตร เชน การคนพบธาตุหรือสารชนิดใหม การคนพบทฤษฎี หรือหลักการใหม อาจเปนส่ิงท่ีทําใหเกิดการออกแบบส่ิงใหมๆ ตามมาก็ได

การริเร่ิมใหม เปนผลงานท่ีเกดิข้ึนจากการนาํหลักการหรือการคนพบทางวิทยาศาสตรมาริเร่ิมใชในการสรางใหเกิดส่ิงใหมท่ีมีคุณคาในการแกปญหา การสรางผลงานออกแบบในประเภทนี้ก็ยังคงเกดิข้ึนคอนขางยาก เนื่องจากในการประยุกตหลักการผูประยกุตจําเปนตองมีพื้นฐานความรูความเขาใจในเร่ืองนั้นเปนอยางดี ตัวอยางผลงานการประดิษฐคิดคนตางๆ ท่ีมีมาต้ังแตอดีต เชน เคร่ืองจกัรกลไอน้ําเปนการนําเอาหลักการเก่ียวกับการขยายตัวของน้าํเม่ือเปล่ียนสถานะกลายเปนไอทําใหเกิดแรงดันมหาศาลมาใชงานเคร่ืองจักรกลไอน้ําทําหนาท่ีเปล่ียนพลังงานความรอนใหกลายเปนพลังงานกลเกิดการเคล่ือนท่ีข้ึนลงหรือการหมุนของคันโยก เปนตน

การสังเคราะหใหม เปนผลงานท่ีเกิดจากการรวบรวมผลงานตางๆ ท่ีมีอยูเดิมมาสังเคราะหสรางใหเกิดเปนส่ิงใหม ในงานออกแบบมีผลงานประเภทนี้เกิดข้ึนเปนจํานวนมากจากการมองเห็นชองวางในตลาดของผลิตภัณฑบางประเภทท่ีบางกลุมเปาหมายมีความตองการจึงเปนจุดเร่ิมตนใหนักออกแบบคิดสรางสรรคผลิตภัณฑท่ีมีประโยชนใชสอยตามความตองการตัวอยางเชน โทรศัพทชนิดเหน็ภาพ เคร่ืองฉายส่ือไดหลายชนิดรวมกันและอุปกรณเคร่ืองใชไฟฟาในครัวท่ีรวมหนาท่ีใชสอยหลายอยางเขาดวยกัน

การดัดแปลงใหม เปนผลงานท่ีมีอยูท่ัวไปซึ่งเกิดจากการเปล่ียนแปลงในดานรูปแบบ ขนาดหรือคุณสมบัติบางประการใหมีความแตกตางไปจากส่ิงของท่ีมีอยูเดิม ในตลาดปจจบัุนมีสินคาใหมประเภทนี้อยูมากมายอันเปนผลมาจากการแขงขันทางการคา ทําใหผูผลิตตองเรงผลิตสินคาประเภทเดิมแตสามารถดึงดูดความสนใจไดดกีวา

3.2.3 วิธีพัฒนาแนวคิดสรางสรรคในการออกแบบ การพัฒนาแนวคิดในการออกแบบนัน้จะเห็นไดวาในปจจุบันแนวคิดในการออกแบบท่ีออกมาเปนรูปทรงตางๆ หรือในดานประโยชนใชสอยรวมท้ังวัสดุตางๆ เปนแนวทางใหเกิดความคิดในทางสรางสรรค นักออกแบบจะประกอบกิจการในทางการออกแบบใหสําเร็จดวยดีมิใชแตจะมีทักษะชํานาญแตเพยีงอยางเดยีว แตตองมีปญญาท่ีดีดวยเพื่อให ความคิดสรางสรรคดี แปลก และเหมาะสมในทุกดาน มนษุยมีการพฒันาการทางความคิดสรางสรรคในการออกแบบเปนลําดับข้ันตางๆ ดังนี ้

Page 60: princeple of design

59

1. ข้ันตีปญหา 2. ข้ันเตรียมการ 3. ข้ันฟกตัวของความคิด 4. ข้ันคิดออก 5. ข้ันพัฒนาใหเปนจริง ขั้นตปีญหา เปนเสมือนชวงระยะเวลาท่ีสรางความเขาใจกบัโจทยปญหาตางๆ ท่ีไดรับมาอาจจะใชเวลานอยหรือเนิ่นนาน นั่นเปนส่ิงท่ีไมสามารถกําหนดไดข้ึนอยูกับปจจัยหลายส่ิง ข้ันตอนนี้นักออกแบบจะตองพจิารณาไตรตรองปญหา สวนท่ียังคลุมเครือไมชัดเจนใหเกดิความชัดเจนแนนอน เพื่อเปนเปาหมายไปสูแนวทางของการออกแบบตอไป ขั้นเตรียมการ อาจตองเสาะแสวงหาขอมูลท่ีจําเปนและเกี่ยวของนํามาเตรียมจัดใหเปนระบบข้ันตอนการเตรียมการเกิดข้ึนภายหลังจากท่ีตองหมกมุนกับปญหาตางๆ ท่ีนักออกแบบไดตีจนแตกแลว กน็ํามาสรางความคิดในการแกปญหา จัดระบบใหงาย พรอมท่ีจะเผชิญกับข้ันตอนตางๆ ภายหนา ขั้นฟกตัวของความคิด เปนชวงเวลาท่ีเกิดเปนสมาธิสงบนิ่งหลุดพนจากปญหาตางๆ ใชจิตใตสํานึกไตรตรองจากความรูประสบการณ อาจจะยังไมปรากฏออกมาเปนรูปราง แตเปนความพรอมของการแกปญหาท่ีจะเกิด ขั้นคิดออก จากการใชจิตใตสํานึกไตรตรองในชวงข้ันตอนกอนหนานี้คือ การฟกตัวของความคิดจิตใตสํานึกจะเกิดการพิจารณาตามจินตนาการที่เกิด และใชการสรางสรรคท่ีอยูในความคิดอันชาญฉลาดของแตละบุคคลจะเขาไปผสม ก็จะเปรียบเสมือนเปนการเติมเช้ือเพลิงจุดประกายใหความคิดสวางข้ึนและคิดออกอยางปลอดโปรง แตพรอมท่ีจะเลือนหายไดทันที ถาไมมีการบันทึกหรือจดจําไวดวยวิธีใดวิธีหนึง่ บางคร้ังอาจจะออกมาเปนรูปแบบตางๆ แตยังปราศจากรายละเอียด ยังจะตองนํามาขัดเกลาเสริมแตงและพัฒนาอีก ขั้นพัฒนาใหเปนจริง เปนข้ันของการพิสูจนทดลองทดสอบปญหาท่ีเกิด ขอมูลท่ีไดตามความคิดสรางสรรคมาทําการแกไข พัฒนา ตรวจสอบ ใหเปนรูปธรรมท่ีชัดเจน ตอบสนองจุดประสงคตามท่ีไดกําหนดไวเปนปญหา 3.2.4 ส่ิงดลใจในการออกแบบ แนวในการคิดออกแบบ (Inspiration of Design) ท่ีเกิดจากส่ิงดลใจหรือมีแรงบันดาลใจมาจากส่ิงตางๆ ท่ีนักออกแบบไดเคยพบเห็น หรือเปนมโนภาพท่ีเกดิข้ึนจากความคิดใหเกิดเปนรูปทรงตางๆ ซ่ึงสรุปได 5 รูปทรง ดังนี ้

Page 61: princeple of design

60

1. รูปทรงธรรมชาติ (Natural’s Form Inspiration) เปนรูปทรงท่ีไดมาจากส่ิงท่ีอยูหรือเกิดข้ึนตามธรรมชาติ ไดแก

1.1 พืช เชนตนไม ใบไม กิ่งกาน ลักษณะของตน ทรงพุม เถา ลักษณะของใบ กลม เหล่ียม ฯลฯ 1.2 สัตว เชน สัตวส่ีเทา สองเทา สัตวปก สัตวน้ํา แมลง ฯลฯ 1.3 แรธาตุ เชน หิน ดิน น้ํา กรวด ทราย ภูเขา แกง ฯลฯ

Page 62: princeple of design

61

2. รูปทรงมนษุย (Human Figure Form) เปนรูปทรงของมนุษย เชน มนุษยชาย มนษุยหญิง เด็ก คนแก รวมท้ังอากปักิริยาตางๆ เชน การยืน นั่ง นอน เดนิ ฯลฯ

3. รูปทรงท่ีมนุษยสรางขึ้น (Man made Form) เปนรูปทรงของส่ิงท่ีมนุษยประดิษฐข้ึนหรือสรางข้ึนมีช่ือและรูปทรงเฉพาะ เชน โตะ เกาอ้ี นาฬิกา ขวดน้ํา รถยนต เคร่ืองดนตรี อาคาร พัดลม ฯลฯ

Page 63: princeple of design

62

4. รูปทรงเรขาคณิต ถือเปนรูปทรงมูลฐาน (Basic Form) เปนรูปทรงสากล เชน ทรงกลม ทรงรี ทรงเหล่ียม ทรงกระบอก ทรงสามเหล่ียม ทรงกรวย ฯลฯ

5. รูปทรงอิสระ เปนรูปทรงท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงหรือพัฒนาจากรูปทรงอ่ืนๆ ไมสามารถจะกําหนดไดวาเปนรูปทรงอะไร มีอิทธิพล ดูแลวมีชีวิตความเคล่ือนไหวตรงกันขามกับรูปทรงเรขาคณิต ซ่ึงดูแข็งและน่ิง

Page 64: princeple of design

63

3.3 พื้นท่ีวางและพื้นท่ีใชสอย ในเร่ืองของพืน้ท่ีวางและพืน้ท่ีใชสอยในดานการออกแบบนั้นสวนใหญจะเกี่ยวของกับการทํางานของสวนตางๆ ของรางกายมนษุย ซ่ึงเรียกวากายวภิาค (Ergonomics) มีความหมายตามรากศัพทมาจากภาษากรีก หมายถึงกฎแหงการทํางาน ยังมีอีกหลายคําท่ีใกลเคียงและมีความหมายท่ีคลายกัน เชน มนุษยปจจยั วศิวกรรมมนุษย หรือการยศาสตร แตก็มีแนวคิดหลักการและความหมายไปในทางเดยีวกันท้ังส้ิน ซ่ึงหมายถึงการศึกษาทางวิทยาศาสตรท่ีเกี่ยวกับความสัมพนัธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมในการทํางาน เปนศาสตรท่ีวาดวยการออกแบบสถานท่ี อุปกรณ เคร่ืองมือ ผลิตภัณฑ ส่ิงแวดลอม และระบบ โดยการนําเอาเร่ืองของความสามารถของมนุษยในแงมุมของลักษณะทางกายภาพ สรีระวทิยา กลศาสตรชีวภาพ และจิตวิทยา มาเปนปจจยัสําคัญในการพจิารณางานออกแบบเพ่ือผลในการเพิ่มประสิทธิผลในผลงานการออกแบบ

3.3.1 องคประกอบของกายวิภาคและสภาวะแวดลอม ในการศึกษากายวภิาคจําเปนตองแยกออกเปนสวนๆ ใหสามารถเขาใจงายยิ่งข้ึน องคประกอบหลักของกายวภิาค มี 3 ประการ คือ 1. กลศาสตรชีวภาพ (Anthropometry) เปนการศึกษาเกี่ยวกับโครงสราง หนาท่ีของรางกาย การคนควาทางดานกลไกชีวภาพเกีย่วกับน้าํหนักส่ิงของท่ีตองโยกยายดวยแรงคน รวมท้ังกลศาสตรท่ีใชในการทํางานหรือเคล่ือนไหว ขอบเขตของการเคล่ือนไหว พิสัยการเคล่ือนไหวของรางกาย สัดสวนของมนุษย 2. สรีระวิทยาการทํางาน (Physiology) เปนการประเมินเร่ืองความสามารถและขอจํากัดของผูปฏิบัติงานความสามารถในการบริโภค การใชพลังงาน ความทนทานของมนุษยตอสภาวะแวดลอมทางกายภาพในการทํางาน ซ่ึงไดแก แสง เสียง ความรอน เยน็ สารเคมี และแรงโนมถวง 3. จิตวิทยาวิศวกรรม (Psychology) เปนการศึกษาถึงความสามารถของมนุษยในการรับรูขอมูลโดยใชประสาทสัมผัสตางๆ ท้ังนี้เพื่อเปนการกําหนดการออกแบบเชน รถยนตใชเกยีรกระปุกติดต้ังในตําแหนงตรงกลางของรถและใชมือซายในการปรับเกียร ซ่ึงปจจุบันผูท่ีสามารถขับรถยนตไดจะทราบและสามารถเขาเกียรได แทบจะเรียกวาเกือบเปนธรรมชาติ นั่นเปนผลมาจากการวิจัยทางดานจิตวิทยาวิศวกรรมและขอมูลจากการทดลองใช ระบบโครงรางมนุษยมีสวนสําคัญอยู 3 สวนประกอบดวย กระดูก กลามเน้ือ และระบบประสาท ในเร่ืองเกี่ยวกับขนาดและท่ีวางตลอดจนพื้นท่ีใชสอยตางๆ กระดูกเปนสวนสําคัญท่ีจะกําหนดขนาดและสัดสวนตางๆ ของอวัยวะในรางกาย เชน ขนาดของมือ ความสูง ระยะการเคล่ือนไหว ซ่ึงมีผลตอเนื่องกับระยะหรือพิสัยของรางกาย

Page 65: princeple of design

64

ภาพแสดงสัดสวนของมนุษยและความเก่ียวของกับพ้ืนที่วางในการทํางาน

Page 66: princeple of design

65

3.3.2 ผลิตภณัฑท่ีสอดคลองกับสัดสวนมนษุย ในหวัขอของหลักการออกแบบผลิตภัณฑขอหนึ่งคือความสะดวกสบายในการใชถือเปน

ส่ิงสําคัญเปนส่ิงท่ีจะโยงไปถึงในดานของประโยชนใชสอย คือ ถาผลิตภัณฑใดก็ตามผูใชไมเกิดความสะดวกสบายในขณะท่ีใชถือวาผลิตภัณฑนั้นประโยชนใชสอยยงัไมสมบูรณพอ (Low Function) ตัวอยางเชน ถานัง่เกาอ้ีแลวรูสึกไมสบาย เกิดความปวดเม่ือยและลา แสดงวาเกาอ้ีตัวนัน้มีขอบกพรองในจุดใดจุดหนึง่ท่ีไมสอดคลองกับผูใช เชน ท่ีนั่งลึกเกนิไปปลายขอบท่ีนั่งจะกดทับรองขอพับดานเขา ทําใหเลือดไหลเวียนไมสะดวก หรือระยะของความสูงท่ีนั่งตํ่าเกินไป รางกายของผูนั่งตองปรับสมดุลดวยการยืน่เทาโนมตัวไปขางหนา และในกรณีตํ่ามากเขาก็จะชันข้ึน ตองโนมตัวไปขางหนา เปนเหตุใหเกิดอาการปวดเอวและหลังถานั่งนานๆ เปนตน นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑอีกหลายประเภทท่ีจําเปนจะตองอาศัยขอมูลมาตรฐาน ขนาดสัดสวน สมรรถนะ และขีดความสามารถของรางกายมาเปนองคประกอบรวมในการออกแบบ

Page 67: princeple of design

66

3.3.3 การออกแบบโดยพิจารณาพ้ืนท่ีวางและพื้นท่ีใชสอย ใหนกัศึกษาทําการออกแบบชิ้นงานท่ีเปนผลิตภัณฑ เชน กระเปา กลองบรรจุของ ฯลฯ

หรือ องคประกอบทางศิลปะ เชน ประติมากรรมท่ีทําจากกระดาษขนาดเล็กๆ โดยพิจารณาถึงพื้นท่ีวางและพื้นท่ีใชสอยของผลิตภัณฑหรือผลงานนั้นๆ ท้ังนี้ตองใหอยูบนพื้นฐานของความงามและองคประกอบในการจัดวางทางศิลปะ

Page 68: princeple of design

67

4.1 การออกแบบทางสถาปตยกรรม

นอกจากงานออกแบบในทางศิลปกรรมและพานิชศิลปแลวยังมีงานออกแบบท่ีเกี่ยวของกับชีวิตมนษุยมาต้ังแตอดีตและจัดวาเปนปจจัยสําคัญปจจัยหนึ่งในการดํารงชีวิต คือ ท่ีอยูอาศัย ท่ีอาจจะเรียกวา บาน หรือ อาคาร ฯลฯ ในปจจุบันศาสตรทางดานนี้ถูกเรียกวา สถาปตยกรรม หรือ สถาปตยศิลป ท้ังนี้เนื่องจากการนําเอาหลักการตางๆ ท้ังความสวยงามและหลักการทางการออกแบบมาใชในการสรางส่ิงกอสรางเหลานั้น

4.1.1 ลักษณะของสถาปตยศิลป หรือ สถาปตยกรรม คําวา “สถาปตยกรรม” ตามพจนานกุรมฉบับราชบัณฑติยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายวา “ศิลปะหรือวิชาวาดวยการกอสราง” สวนหมอมเจาอิทธิเทพสรรค กฤดากร สถาปนิกผูมีช่ือเสียงในอดีตไดใหความหมายวา “ศิลปะและวิทยาการแหงการกอสรางท่ีเฉลียวฉลาด และประกอบทําข้ึนดวยศิลปลักษณะ” เพราะถึงแมวาจะเปนผลงานท่ีมุงเนนประโยชนเปนสําคัญ แตยังคงตองพิจารณาถึงความงามดวย มิฉะนั้นแลวบานเมืองจะเต็มไปดวยส่ิงกอสรางท่ีมีรูปทรงนาเกลียดและอุจาดนยันตา การแบงประเภทของสถาปตยกรรม อาจทําได 2 ลักษณะ คือ การแบงตามลักษณะของประโยชนใชสอย เชน อาคารพักอาศัย อาคารพาณิชย อาคารสํานักงาน อาคารมหรสพ อาคารโรงงาน อาคารศาสนา อนุสาวรีย ฯลฯ สวนอีกลักษณะหน่ึงนัน้แบงตามลักษณะโครงสราง เชน โครงรับน้ําหนัก (Trusses) โคง (Arch) เสา-คาน รับน้ําหนัก (Postllintel) ความเจริญทางเทคนิควิทยาและการขยายตัวของประชากรโลก ทําใหเกิดความเปล่ียนแปลงทางสถาปตยกรรมมาก เชน ขนาด และวัสดุท่ีใชสราง ตลอดจนเคร่ืองประดับตกแตงตางๆ อาคารพักอาศัยท่ีเคยเต้ียก็จําเปนตองเพิ่มความสูงข้ึน โดยเฉพาะอาคารท่ีอยูในเมืองใหญ เพื่อสนองความตองการที่มีอยูมากและพ้ืนท่ีจํากัด ไมซ่ึงเปนวัสดุธรรมชาติท่ีใชกันมาในอดีตไดแปรเปล่ียนเปนซีเมนตและเหล็ก เพราะไมหายากและความคงทนแข็งแรงไมดีเทาเหล็กและซีเมนต อยางไรก็ตามในบรรดาส่ิงกอสรางทุกประเภทอาคารพักอาศัยนับไดวามีความสาํคัญท่ีสุด เพราะเปนสถานท่ีซ่ึงมนุษยเราจาํเปนตองพักอาศัยอยูจนตลอดชีวิต และดวยความคิดท่ีวามนุษยเปนสวนหน่ึงของธรรมชาติ จึงทําใหมีกลุมสถาปนิกท่ีใหความสําคัญตอความสัมพันธระหวางธรรมชาติกับท่ีพักอาศัย โดยออกแบบอาคารท่ีพักอาศัยใหธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมีความสําคัญเปนอันดับแรก

4.1.2 ลักษณะของมัณฑณศิลป คําวา “มัณฑนศิลป” เปนท่ีรูจักกนัอยางแพรหลายในวงการศิลปะปจจุบัน เม่ือ

ศาสตราจารยศิลป พีระศรี กอต้ังคณะวิชาข้ึนใหมในมหาวิทยาลัยศิลปากรเม่ือ พ.ศ.2496 ทานต้ังช่ือคณะวิชาใหมนั้นวา “คณะมัณฑนศิลป” ซ่ึงคําวา มัณฑณศิลป นั้นไมปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 มีแตคําวา มัณฑนา ซ่ึงพจนานุกรมฉบับนั้นแปลวา “เคร่ืองประดับ

Page 69: princeple of design

68

การแตง” สวนในฉบับปรับปรุงใหม พ.ศ. 2525 มีคําวา “มัณฑนศิลป” และมีความหมายวา ศิลปการออกแบบและตกแตงผลิตกรรมหรืองานชางตางๆ แตความหมายยังไมชัดเจนนัก เพราะมิไดระบุแนชัดวาเปนการตกแตงอะไรสวนหนังสือ ศิลปะสงเคราะห โดยทานศาสตราจารยศิลป พีระศรี ซ่ึงพระยาอนุมานราชธนไดแปลเปนภาษาไทย อธิบายความหมายของ “มัณฑนศิลป” วา ศิลปตกแตง ซ่ึงหมายถึงบรรดาผลิตกรรมศิลปะชนิดท่ีเรียกวา จุลศิลป (Minor Arts) เชน การทอผา เคร่ืองเยื่อใย งานชางรัก ชางปดทอง ชางเงิน ชางทอง ชางแกว ชางปนดินเผา งานเขียนภาพสําหรับสมุดหนังสือ และงานชางอ่ืนๆ อยางไรกด็ีคําวา มัณฑนศิลป นาจะหมายถึงผลงานออกแบบประเภทหน่ึงของมนุษย ผลงานมัณฑนศิลปอาจแบงเปนประเภทยอยๆ ไดหลายประเภท เชน การออกแบบตกแตงสถานท่ี การออกแบบเคร่ืองแตงกายและเครื่องประดับ การออกแบบผลิตภัณฑ และการออกแบบนิเทศศิลป

ในการออกแบบตกแตงสถานท่ีภายในนั้นผูออกแบบจะตองพิจารณาถึงวัตถุประสงคของสถานท่ี ซ่ึงมีแตกตางกันไปตามความตองการของผูสราง เชน ท่ีพักอาศัย ท่ีทํางาน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงภาพยนตร หรือวัด ซ่ึงตางก็มีหลักการแตกตางกันไปตามสภาพของการใชสอย ส่ิงท่ีมีบทบาทคือ เคร่ืองเรือน ครุภัณฑ ตลอดจนเคร่ืองประดับตกแตง ซ่ึงผูออกแบบจะตองพิจารณาจดัวาง หรือออกแบบเคร่ืองเรือนหรือเคร่ืองประดับข้ึนใหม เพื่อสนองตอบความตองการของผูอาศัย หรือผูใชสถานท่ีเหลานั้น นอกจากเร่ืองการออกแบบแลว นักออกแบบควรมีความรูในเร่ืองของประวัติศาสตรอีกดวย ท้ังนี้เพื่อจะไดมีการนําเอารูปแบบของอดีตมาปรับปรุงข้ึนใหม เพื่อใหสอดคลองกับสภาพของสังคมปจจุบัน หรือในกรณีท่ีผูอาศัยบางคนปรารถนาท่ีจะใชชีวิตอยูกับบรรยากาศเกาๆ ในอดีต ผูออกแบบจะไดเสนอตามความตองการได สวนการออกแบบตกแตงสถานท่ีภายนอกนั้นมีอยู 2 ลักษณะ คือ การตกแตงตัวอาคาร และการตกแตงบริเวณโดยรอบของอาคารและเขตที่ตอเนื่อง ซ่ึงอาจเรียกวา นิเวศศิลป (Environmental Design) เปนศิลปะการออกแบบตกแตงส่ิงแวดลอม เชนการจดัใหมีสวนหยอมหรือสวนประดิษฐ หรือประติมากรรมกลางแจงก็ได ท้ังนี้ข้ึนอยูกับจุดประสงคและความตองการของผูประกอบการ หรือเจาของสถานท่ีแหงนั้น ผูออกแบบควรเปนผูท่ีมีความรูในเร่ืองพรรณไม ส่ิงประดับตกแตง และรูปแบบของการจัด 4.1.3 ลักษณะของหัตถศิลป มนุษยไดสรางส่ิงของเคร่ืองใชข้ึนเพื่อสนองตอบตอความตองการในการดํารงชีวิต ในระยะเร่ิมแรกนั้นสรางข้ึนดวยมือ ภายหลังตอมาก็สามารถคิดคนเคร่ืองผอนแรงไดในลักษณะตางๆ กัน ซ่ึงใหความสะดวกข้ึนอีกมาก เนื่องจากสรางข้ึนดวยมือจึงไดช่ือวา หัตถกรรม หรือ หัตถศิลป ซ่ึงในระยะเร่ิมตนนั้นเคร่ืองใชเหลานีใ้หประโยชนดานการใชสอยเปนอันดับแรก ผูสรางงานหรือผูออกแบบไดเพิ่มเติมลวดลายหรือสีเขาไปอีก แสดงวามนุษยตองการความสวยงาม ดวยความงามใหประโยชนแกจิตใจ จนถึงปจจุบัน ความเปล่ียนแปลงของสังคมโดยเฉพาะจํานวนพลเมืองเพ่ิมข้ึนเปนอยางมาก ซ่ึงมีผลกระทบถึงความตองการใชผลิตภณัฑหัตถกรรมเพ่ิมข้ึนตามไปดวย ดังนัน้การ

Page 70: princeple of design

69

ผลิตดวยมืออยางอดีตจึงไมทันกาล และไมเพียงพอกับความตองการ มนุษยจึงพยายามออกแบบเคร่ืองมือเพื่อชวยผอนแรงและประหยัดเวลาในการผลิตเพื่อใหมีโอกาสผลิตไดเปนจาํนวนมากและเพียงพอกับความตองการ การผลิตเปนจํานวนมากนี้คือ การผลิตเปนอุตสาหกรรม เพือ่ผูใชเปนจํานวนมาก ผลงานท่ีผลิตข้ึนเรียกวา ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ประเภทของผลิตภัณฑจําแนกออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก ผลิตภัณฑท่ีไมมีเคร่ืองยนตกลไกประกอบ (Non – Mechanical Product) เชนมีด ชอน จาน ชาม เปนตน สวนผลิตภณัฑอีกประเภทหนึ่ง คือ ผลิตภัณฑท่ีมีเคร่ืองยนตกลไกประกอบ (Mechanical Product) เชน พิมพดีด รถยนต ตูเย็น ฯลฯ เนื่องจากปจจุบันหตัถศิลปมีพัฒนาการไปสูการผลิตเปนจํานวนมาก และมีขอบขายของส่ิงท่ีผลิตกวางขวางข้ึน จึงมีผูใชคํา การออกแบบผลิตภณัฑ หรือ อุตสาหกรรมศิลป แทนคําวา หัตถศิลป ซ่ึงหมายถึงผลิตภณัฑท่ีสรางข้ึนดวยมือทีละช้ินโดยเฉพาะ 4.1.4 การออกแบบทางสถาปตยกรรม ใหนกัศึกษาออกแบบงานทางสถาปตยกรรมโดยใหเขียนเปนภาพรางอยางคราวๆ ลงในกระดาษและทดลองทําเปนหุนจําลองอยางงายเพื่อศึกษาถึงความสัมพันธระหวางผลงานการออกแบบกับสภาพความเหมาะสมของส่ิงแวดลอมตามหลักการทางสถาปตยกรรม 4.2 การออกแบบผลิตภัณฑ

ความหมายของคําวา “ออกแบบผลิตภัณฑ” จะมีอยู 2 สวน คือ สวนของการสรางสรรคส่ิงใหมกับสวนของการปรับปรุงหรือพัฒนามาจากของเดิม การที่จะไดมาซ่ึงรูปทรงของผลิตภัณฑในสวนหนึ่งก็จะไดแนวคิดมาจากแบบเดิมนํามาพัฒนาแบบใหเขากับบทบาทของสังคมยุคใหมและคานิยมในการดํารงชีวิตของมนุษย โดยแบบท่ีไดมีการออกแบบและพฒันามานี้ไดมีการสรุปลักษณะแบบไดดังนี ้

ลักษณะรูปแบบ (Style) ของผลิตภณัฑ 1. แบบโบราณ (Old Style) เปนการออกแบบโดนยึดแบบของเดิมท่ีมีมาต้ังแตรุนเกาหรือ

โบราณ จุดประสงคก็อาจจะมุงกลุมเปาหมายไปท่ีกลุมอนุรักษนยิม หรือใชประกอบตกแตงสภาพแวดลอมใหมีความสัมพันธเขากันไดเชนเคร่ืองเรือน กรอบกระจก โทรศัพท ฯลฯ ท่ีมีการผลิตข้ึนมาใหมแตคงยึดแบบอยางโบราณ เพื่อประโยชนในการตกแตงหรือใชสอยใหสอดคลองกับความตองการทางรสนิยม

2. แบบอมตะ (Classic Style) เปนการออกแบบท่ียึดความพอดีระหวางความเกากับความลํ้ายุค รูปรางดูแลวยังไมเกาและไมใหมแตมีความเหมาะสมกับทุกยุคสมัย ดูแลวยังไมลาสมัย การออกแบบลักษณะนี้จะตองพจิารณากาลเวลาเปนสําคัญ ออกแบบไมใหดูลํ้ายุคหรือหวือหวามากในยุคนั้น เพราะเม่ือกาลเวลาเปล่ียนไปกจ็ะไมเปนท่ีนยิมหรือลาสมัยเร็ว ตัวอยางผลิตภณัฑท่ีมีรูปทรง

Page 71: princeple of design

70

เปนอมตะท่ีมีอยูตามทองตลาดในปจจุบัน ซ่ึงไดมีการออกแบบรูปทรงนี้มาหลายปแลว ใชกันมาในยุคนี้กย็ังดูไมลาสมัย เชน รถโฟลค รถโรลสรอย รถจี๊ป หรือนาฬกิาขอมือหนาปดทรงกลม เปนตน

3. แบบรวมสมัย (Contemporary Style) เปนการออกแบบท่ีประสานกันระหวางความลาสมัยหรือแบบเกาผสมกบัแบบท่ีทันสมัย คือ ใช 2 ยคุสมัยนี้มาประยุกตใชใหเกดิความเหมาะสมกับสภาพปจจบัุน ถือวาเปนงานสมัยใหม ลักษณะของของเกาท่ีนํามาอาจจะเปนวัสดุ วิธีผลิต หรือรูปแบบ ฯลฯ เชน นําผาทอโบราณมาออกแบบตัดเย็บเปนเส้ือผาสมัยปจจุบัน หรือการใชวิธีผลิตแบบเดิม เชน เคร่ืองปนดินเผา หรืองานหวาย มาออกแบบรูปทรงท่ีทันสมัย หรือการนาํรูปแบบเกาๆ แตนํามาประยุกตดวยการใชวัสดุสังเคราะหสมัยใหม เชน การหลอพลาสติกเรซินรูปแกะสลักแทนการใชไมแกะสลัก เปนตน

4. แบบทันสมัย (Modern Style) เปนการออกแบบท่ีเขากบัยุคสมัยนั้นๆ โดยคอนขางเปนไปในลักษณะของสมัยปจจุบันดูทันสมัย หรือตามสมัยนิยม รูปแบบจะมีการเปล่ียนแปลงเสมอ ตามความตองการของตลาดและคานยิมของยุคนั้นเม่ือผานความนยิมไปแลวรูปแบบจะดูลาสมัย สวนใหญจะเปนสินคาท่ีเปนไปตามแฟช่ันในแตละชวง เชน เส้ือผาและเคร่ืองใชของวัยรุน

5. แบบลํ้ายุค (Advance Style) เปนการออกแบบในลักษณะเปนความกาวหนาของรูปแบบหรือวัสดุ ออกแบบเพื่ออนาคตขางหนา โดยพิจารณาวิเคราะหขอมูลท่ีนาจะเปนไปไดสําหรับอนาคต รูปแบบอาจจะหนีความจําเจ ความเคยชินตอสายตาในยุคใหมนี้ ซ่ึงบุคคลในยุคนี้อาจจะยังไมเคยชิน และดูไมออกวาเปนรูปทรงใด หรือเปนผลิตภัณฑอะไร

4.2.1 หลักการออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบผลิตภัณฑนกัออกแบบตองคํานึงถึงหลักการทําการออกแบบผลิตภัณฑท่ีเปนเกณฑในการกาํหนดคุณสมบัติผลิตภัณฑท่ีดีท่ีนักออกแบบควรคํานึงนั้นมีอยู 9 ประการ คือ 1. หนาท่ีใชสอย (Function) 2. ความปลอดภัย (Safety) 3. ความแข็งแรง (Construction) 4. ความสะดวกสบายในการใช (Ergonomics) 5. ความสวยงาม (Aestheties) 6. ราคาพอสมควร (Cost) 7. การซอมแซมงาย (Ease of Maintenance) 8. วัสดุและกรรมวิธีการผลิต (Materials and Production) 9. การขนสง (Transportation)

Page 72: princeple of design

71

1. หนาท่ีใชสอย ถือเปนหลักการออกแบบผลิตภัณฑท่ีสําคัญท่ีสุดเปนอันดับแรกท่ีตองคํานึงถึง ผลิตภัณฑทุกชนดิตองมีหนาท่ีใชสอยตามเปาหมายที่ต้ังไว นั่นคือตองสามารถตอบสนองตอความตองการของผูใชอยางมีประสิทธิภาพจึงถือวามีประโยชนใชสอยดี (High Function) แตหากผลิตภณัฑใดสนองตอบตอความตองการใชสอยตํ่า (Low Function) ถือวาเปนผลิตภัณฑท่ีไมดีเทาท่ีควร

2. ความปลอดภัย ผลิตภัณฑท่ีใหความสะดวกตางๆ มักมีสวนเกีย่วของกับเคร่ืองจักรกลหรือไฟฟา ดังนั้นการออกแบบจึงตองคํานงึถึงความปลอดภัยของผูใชเปนประการสําคัญ หรือหากหลีกเล่ียงไมไดผูออกแบบจะตองแสดงเคร่ืองหมายไวอยางชัดเจนถึงอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน โดยเฉพาะผลิตภัณฑสําหรับเด็กซ่ึงตองการความปลอดภัยสูงกวาปกติท้ังนี้รวมถึงการพิจารณาวัตถุดิบท่ีใชตองไมกอใหเกดิพิษในขณะใชงาน

3. ความแข็งแรง เปนความเหมาะสมท่ีนกัออกแบบพิจารณาเลือกใชวสัดุ ปริมาณ และโครงสราง ใหเหมาะสมกับการใชงานโดยพิจารณาถึงความปลอดภัยและความประหยัดควบคูเสมอ

4. ความสะดวกสบายในการใช เปนส่ิงท่ีเกีย่วเนื่องจากการศึกษาดานกายวิภาคเชิงกล (Ergonomics) ของนักออกแบบท่ีตองนําหลักการของสัดสวนมนุษยมาใชใหสอดคลองกับการออกแบบท้ังนีเ้พื่อใหการใชงานมีความเหมาะสมและสะดวกไมติดขัดในขณะปฏิบัติงาน

5. ความสวยงาม ความสวยงามเปนส่ิงท่ีทําใหเกิดการตัดสินใจซ้ือไดงายข้ึนเพราะเกดิความประทับใจและความตองการ ผลิตภัณฑบางชนิดความสวยงามและประโยชนใชสอยแทบจะเปนส่ิงเดียวกัน เชน ของท่ีระลึก ของโชวเพื่อตกแตงประดับ ความสวยงามเกิดจากการใชหลักการทางศิลปะเขามาเปนหลักในการพิจารณาเอสรางสรรค

6. ราคาพอสมควร การกําหนดกลุมเปาหมายทางการตลาดของผลิตภัณฑจากฝายการตลาดเปนสวนหน่ึงของการตัดสินใจออกแบบใหราคาของผลิตภัณฑมีความสอดคลองกับกลุมผูบริโภคนั้นๆ ซ่ึงจะสงผลตอรูปแบบ วัสดุ และกรรมวิธีในการผลิตท่ีแตกตางออกไปดวย

7. การซอมแซมและบํารุงรักษางาย ผลิตภณัฑทุกชนิดท่ีผานการใชงานในระยะหนึง่ยอมเกิดการชํารุดในช้ินสวนประกอบบางช้ิน ดงันั้นนักออกแบบตองพิจารณาถึงการจัดวางตําแหนงของช้ินสวนท่ีคาดวาจะชํารุดไดงายนั้นใหสามารถทําการปรับปรุง ปรับเปล่ียนไดงายหรือใหสามารถทําการบํารุงรักษาไดโดยสะดวก

8. วัสดุและวิธีผลิต การเลือกสรรวัสดุและกรรมวิธีท่ีเหมาะสมกับการใชงานของผลิตภัณฑนั้นเปนส่ิงสําคัญอันหนึ่งท่ีนักออกแบบตองพิจารณาและตองหม่ันศึกษาคนควาเพื่อใหมีความรูในเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงเพ่ือใหสามารถนําวัสดุและกรรมวิธีใหมๆ มาใชในการออกแบบใหมีความเหมาะสมท้ังในดานของการลดตนทุน การสรางรูปแบบและภาพลักษณของผลิตภัณฑใหมใหตรงกับความตองการมากท่ีสุด

Page 73: princeple of design

72

9. การขนสง เปนปจจยัหนึ่งท่ีทําใหราคาสินคาตลอดจนความสูญเสียท่ีอาจเกิดข้ึนกับตัวผลิตภัณฑเพิ่มข้ึนจากท่ีประมาณการไว หากนักออกแบบไมคํานึงถึงวธีิการในการขนสง การออกแบบผลิตภัณฑใหสามารถทําการบรรจุหีบหอโดยไมเปลืองเนื้อท่ีและมีความปลอดภัยสูงจึงเปนประเด็นท่ีนักออกแบบผลิตภัณฑตองขบคิดพิจารณาไปพรอมกับการออกแบบตัวผลิตภัณฑ

4.2.2 คุณสมบตัิของผลิตภัณฑท่ีดี ส่ิงท่ีเปนตัวนําทําใหผลิตภณัฑเปนผลิตภณัฑท่ีดีมีคุณสมบัติครบถวนตามจุดประสงคท่ี

กําหนดไวนั้นข้ึนอยูกับปจจยัท่ีผลิตภัณฑควรมี ดังนี ้1. ความแปลกใหม (Innovative) ผลิตภัณฑควรเปนส่ิงท่ีไมซํ้าซาก มีการนําเสนอส่ิงท่ี

แปลกใหม เชน ประโยชนใชสอย รูปแบบ วัสดุ ฯลฯ 2. มีท่ีมา (Story) ผลิตภัณฑท่ีดีนั้นควรประวัติหรือท่ีมา ไมวาจะเปนตนกําเนิด ความคดิรวบ

ยอด (Concept) ของการออกแบบเพื่อใหผูบริโภคทราบถึงเร่ืองราวเหลานั้นเปนการเสริมคุณคาและความสําคัญของผลิตภัณฑ

3. ระยะเวลาเหมาะสม (Timing) การออกแบบและผลิตสินคาใหสอดคลองกับระยะเวลาหรือฤดูกาลจะทําใหตัวผลิตภัณฑมีความตองการสอดคลองกับสภาพของระยะเวลาเปนการเพิ่มคุณคาของตัวผลิตภัณฑอีกวธีิหนึ่ง

4. ราคาเหมาะสม (Price) หมายถึงราคาขายของผลิตภัณฑมีความเหมาะสมกับสมรรถนะ หรือ รูปแบบของผลิตภัณฑ การกําหนดราคาใหมีความเหมาะสมน้ันตองอาศัยการศึกษาวจิัยกลุมผูบริโภคกอนการออกแบบ

5. มีขอมูลขาวสาร (Information) ขอมูลขาวสารของตัวผลิตภัณฑท่ีควรทราบนั้นผูออกแบบควรจัดทําและส่ือใหผูบริโภคทราบจากท้ังในตัวของผลิตภณัฑเองและจากส่ือตางๆ เพื่อใหเกิดความเขาใจท่ีถูกตองในการบริโภคสินคา

6. เปนท่ียอมรับ (Regional Acceptance) ผลิตภัณฑท่ีดนีั้นควรเปนท่ียอมรับของสังคมหรือหมูชนทุกช้ันทุกระดับท่ีเปนกลุมเปาหมายของผลิตภัณฑ รวมท้ังผลิตภัณฑท่ีดไีมควรเปนท่ีเส่ือมเสียหรือขัดกับขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ศาสนา

7. มีอายุการใชงาน (Life Cycle) ผลิตภัณฑท่ีดีควรมีอายกุารใชงานท่ีเหมาะสมกับราคาและลักษณะของการใชงาน สามารถคงทนตอสภาวะการใชงานอยางเหมาะสมกับระยะเวลา 4.2.3 กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ในกระบวนการของการพัฒนาผลิตภัณฑใหมนั้น นักวิชาการทางการตลาดไดจัดแบงข้ันตอนในกระบวนการไว คือ การเร่ิมตนแสวงหาความคิดใหมๆ คัดเลือกความคิดท่ีเหมาะสม คนควาทดลองผลิต ทดสอบตลาด และวางแผนการจดัจําหนาย โดยแบงออกเปนข้ันตอนดังนี ้

Page 74: princeple of design

73

1. การแสวงหาความคิดใหม (Idea Generation) เปนการแสวงหาความคิดใหมๆ อยางกวางขวาง แตอยูภายใตขอบเขตของวัตถุประสงค สามารถแบงออกไดเปนสองสวนใหญๆ คือ การหาความคิดใหมจากแหลงความคิดภายใน และการหาความคิดใหมจากแหลงความคิดภายนอก 2. การคัดเลือกความคิด (Idea Screening) หลังจากมีการแสวงหาความคิดใหมๆ แลวตามข้ันตอนของการแสวงหาความคิด นักออกแบบตองนําความคิดเหลานัน้มาทําการคัดเลือกใหไดความคิดท่ีเหมาะสมท่ีจะนําไปผลิตเปนผลิตภัณฑ 3. การพัฒนาและทดสอบแนวคิด (Concept Development and Testing) หลังจากคัดเลือกความคิดใหมมาแลวจะนํามาพัฒนาเปนแนวคิดของผลิตภัณฑ (Product Concept) หรือคนหาส่ิงท่ีเปนความตองการอยางแทจริงของตลาดเปาหมาย เพื่อเปนแนวคิดท่ีชัดเจนในการนาํไปพัฒนาผลิตภัณฑ (Product Idea) จากน้ันจึงนําไปทําการทดสอบแนวความคิด (Concept Testing) ใหชัดเจน 4. การวิเคราะหเชิงธุรกิจ (Business Analysis) ข้ันตอนนี้เปนข้ันตอนท่ีจะนําความคิดผลิตภัณฑท่ีไดมาวิเคราะหความสามารถในการสรางผลตอบแทนหรือกําไรใหแกกจิการ โดยพิจารณาขนาดของตลาด คาดคะเนอุปสงค ประมาณการยอดขาย ประมาณการตนทุน เปรียบเทียบผลกําไรที่จะเกิดวาจะเปนไปตามวัตถุประสงคของกิจการหรือไม 5. การพัฒนาผลิตภัณฑ (Product Development) หลังจากวิเคราะหแนวคิดในเชิงธุรกิจแลวฝายวิจยัพัฒนาและวิศวกรรมจะดําเนินการพัฒนาผลิตภณัฑใหเปนรูปรางข้ึนโดยพฒันาเปนผลิตภัณฑตนแบบหรือตัวอยางเพื่อทดลองตลาดตอไป 6. การทดสอบตลาด (market Testing) เปนข้ันตอนท่ีนําเอาผลิตภัณฑตนแบบไปศึกษาปฏิกิริยาของผูบริโภคท่ีมีตอผลิตภัณฑใหม กอนตัดสินใจผลิตในปริมาณมาก 7. การวางตลาดผลิตภัณฑ (Idea Generation) เปนข้ันตอนสุดทายหลังจากทดสอบตลาดดวยตัวอยางผลิตภัณฑแลวและพบชองทางในการจําหนายท่ีคุมคาและมีความเปนไปไดในเชิงการผลิตในระบบอุตสาหรรมตอไป 4.2.4 การออกแบบผลิตภัณฑตามหลักการออกแบบผลิตภัณฑ ใหนกัศึกษาออกแบบงานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมโดยใหเขียนเปนภาพรางอยางคราวๆ ลงในกระดาษและทดลองทําเปนหุนจาํลองอยางงายเพื่อศึกษาถึงความสัมพันธระหวางผลงานการออกแบบกับสภาพความเหมาะสมของส่ิงแวดลอมตามหลักการทางการออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

Page 75: princeple of design

74

5.1 การสรางแนวความคดิ ในการออกแบบนั้นแนวความคิดเปนส่ิงท่ีสําคัญท่ีจะทําใหนกัออกแบบสามารถทําการ

ออกแบบผลิตภัณฑไดอยางถูกตองตามความตองการของผูบริโภคและสามารถคิดสรางสรรครูปแบบใหมๆ ได การสรางแนวความคิดจดัไดวาเปนท้ังศาสตรและศิลป ท่ีนักออกแบบใหมๆ ตองทําการศึกษาถึงหลักการและการฝกฝนประสบการณใหมีความชํานาญเพียงพอท่ีจะสรางความม่ันใจในการคิดสรางสรรคผลิตภัณฑใหมๆ สูตลาดผูบริโภค

5.1.1 วิธีการสรางจินตนภาพผลิตภัณฑ การกําหนดความคิดรวบยอดของผลิตภัณฑท่ีจะทําการออกแบบหลังจากท่ีพิจารณา วิเคราะหขอมูล จนไดรับขอสรุปแลวก็นําขอมูลนั้นมากาํหนดจุดประสงคโดยยอ ซ่ึงในจดุประสงคอาจกําหนดขอบเขตใหชัดเจน โดยอาศัยองคประกอบเหลานี้คือ 1. การแสวงหาความสะดวกสบายของผูบริโภค 2. หนาท่ีใชสอยของผลิตภัณฑ 3. ขอกําหนดตางๆ ของผลิตภัณฑ 4. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี จุดประสงคดังกลาวจะเปนตัวกําหนดลักษณะขอบเขตของงาน โดยจะมีการผสมผสานแนวคิดของนกัออกแบบที่ไดรับขอมูลมาจากผูใช ทําการสรุปกําหนดออกมาเปนแนวความคิดรวบยอด (Concept) ซ่ึงแนวความคิดนี้เปนเสมือนโจทยใหนกัออกแบบไดปฏิบัติตามขอบเขตมิใหเกินเลยหรือผิดเปาหมายออกไป ในการกําหนดความคิดรวบยอดของการออกแบบผลิตภณัฑนั้น พืน้ฐานในการกําหนดท่ีสําคัญจะมาจากผูใชผลิตภัณฑ ซ่ึงเกิดจากขั้นตอนในการดํารงชีวิตประจําวันมองเหน็ความตองการจนสามารถท่ีจะสราง “จินตภาพ” (Image) ของผลิตภัณฑออกมา (จินตภาพมีความหมายในลักษณะการจนิตนาการของผูใชท่ีมีตอผลิตภัณฑนัน้ๆ วา ควรจะมีความแตกตางในหนาท่ีการใชงานหรือดานอ่ืนๆ อยางไร) ดังตัวอยางแผนผังซ่ึงเปนหลักการออกแบบภาชนะเคร่ืองใชในครัวเรือนของนักออกแบบผลิตภัณฑในประเทศญ่ีปุน

Page 76: princeple of design

75

ในภาพจะเหน็ตําแหนงของเสนประ ท่ีแสดงสวนใหญจะตกอยูในพื้นท่ีของผูใชผลิตภัณฑเปนหลัก แลวยังไดรวมเอาขัน้ตอนการตลาด ซ่ึงเปนขอกาํหนดทางสังคม หรือเปนปญหาของกฎเกณฑบรรทัดฐานในการออกแบบลงไปดวย ถึงแมวาจะมีสินคามากมายหลากหลายอยูในตลาดปจจุบัน แตความแตกตางกันในดานหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑกไ็มไดแตกตางกนัมากนกั แตถามีผลิตภัณฑใดแตกตางในการใชงานความแตกตางในสวนนี้ตอไปเร่ิมมีความสําคัญเปนพิเศษท่ีจะทําใหเกดิจนิตภาพของผลิตภัณฑ นักออกแบบจะตองสรางจินตนาการนี้ใหแกผูใช โดยศึกษาจากสภาพการดํารงชีวิตและแนวโนมท่ีจะเปล่ียนไป ส่ิงท่ีควรพิจารณาอยางหน่ึงคือ จะตองมีการดิ้นรนเพื่อสรางสรรคส่ิงท่ีดีกวาเพือ่ใหผูบริโภคมีวัฒนธรรมการเปนอยูท่ีดีข้ึน มีความสะดวกสบายมากข้ึน โดยใหความสนใจตอสภาพความเปนอยูท่ีเปล่ียนไปแตละยุคสมัย แยกแยะใหถูกตอง และควรรักษาระดับหรือเพิ่มพูนการใชงานของสินคาเอาไว

5.1.2 วิธีพิจารณากําหนดความคิดรวบยอด สถาบันดานการออกแบบท่ีมีช่ือเสียงแหงหนึ่งของยุโรป ไดกลาวถึงจดุประสงคของ

ผลิตภัณฑท่ีนกัออกแบบจะกําหนดใหไดมาซ่ึงความคิดรวบยอดนั้นจะสามารถวัดและกําหนดไดจากวัฒนธรรมและแฟช่ันของมนุษยท่ีมีมาแตละยุคสมัย ซ่ึงจะแตกตางกันออกไปต้ังแตยุคบุคเบิกประมาณคริสตศตวรรษท่ี 50 วัฒนธรรมและแฟช่ันก็มีการเปล่ียนแปลงกันไปตามยุคเร่ือยมาถึงปจจุบัน วัฒนธรรมและแฟชั่นบางอยางของยุคกอนก็อาจมีการกลับคืนยอนยุคมาสูยุคปจจุบันอีกไดวนเวียนเปนวฏัจักร

Page 77: princeple of design

76

การศึกษาคานยิมความช่ืนชอบของกลุมคนน้ันสามารถศึกษาไดหลายวิธี แตวิธีท่ียึดถือกันอยูคือ ศึกษาจากพฤติกรรมทางวัฒนธรรม รสนิยม รูปแบบของมนุษยท่ีส่ือออกมาจากการแตงกายหรือแฟช่ัน เช่ือวาเปนส่ิงท่ีบงบอกถึงความชื่นชอบตางๆ ของมนุษยในแตละกลุมชน ซ่ึงจุดนี้อาจจะใชเช่ือมโยงไปถึงรสนิยม ความช่ืนชอบในสินคาผลิตภัณฑตางๆ ไดเปนอยางดี การกําหนดจุดประสงคผลิตภัณฑกจ็ะทําโดยขอมูลเหลานี้ นํามาแสดงความคิดรวบยอดใหตรงจดุท่ีสุด การที่จะศึกษาวดัรสนยิมของคนเรานั้นก็สามารถสรุปวัฒนธรรมหรือรสนิยมและรูปแบบในแตละลักษณะของสังคมไดออกมาเปนตารางกริด ดังท่ีแสดง

จากตารางจะถูกแบงออกเปนแนวต้ังและแนวนอนตัดกนัซ่ึงมีความหมายสามารถอธิบายไดดังนี ้

แนวตั้ง ประกอบดวยตัวเลข 1-5 เปน 5 ลักษณะทางวัฒนธรรมของแฟช่ันหรือรูปแบบเอง ยึดถือเปนลักษณะเฉพาะตัว เชน

1. Extreme Shocking หมายถึง ลักษณะท่ีใครพบเห็นแลวตองสะดุง สะทานอารมณ เปร้ียวสุดๆ หลุดโลกแฟช่ันออกไปเลย

2. Different Set Apart หมายถึง ลักษณะโดดเดนแตกตางไมเหมือนใครในกลุมเดน 3. Original Nonchalant หมายถึง ลักษณะแบบฉบับ เรียบๆ งายๆ แบบสบาย 4. Neat Wall Groomed หมายถึง ลักษณะเกลี้ยงเกลา สะอาดหมดจด ดดู ีเรียบรอย 5. Smart Chic หมายถึง ลักษณะท่ีดูผ่ึงผาย โก เก ตามประเพณีนยิม ดูเปนผูดี

แนวนอน ประกอบดวยอักษร A – E เปน 5 ลักษณะของรสนิยม คานิยมหรือกลุมแฟช่ัน

ของแตละคนท่ีช่ืนชอบ เชน A. Avant-garde หมายถึง แฟช่ันลํ้ายุคไปไกล ไมมีใครมองออก เขาใจ ตามไมทัน B. Renewing หมายถึง การเปนตนตนตํารับ หรือผูนําแฟช่ัน เปนตนแบบ C. Up to Date หมายถึง ทันสมัย ตามสมัยนยิมในยุคปจจุบัน D. Know หมายถึง ลักษณะช่ืนชอบแฟช่ันผลิตภัณฑท่ีมีช่ือเสียงหรือมียี่หอท่ีโดงดังคน

ท่ัวไปรูจักด ีE. Dated หมายถึง ความช่ืนชอบแฟช่ัน ส่ิงของท่ีมีลักษณะบงบอกระดับช้ันสูงในสังคม

หรือท่ีมีราคาสูง

พื้นท่ีบริเวณตารางท่ีมีรูปกากบาทอยูกึ่งกลางแลวมีตัวหนงัสือกํากับไว หมายถึง ถาแนวโนมการจดัรสนิยม เพื่อกําหนดความคิดรวบยอดไปตกอยูท่ีบริเวณใด แสดงวาการพัฒนาผลิตภัณฑนัน้ๆ มีแนวโนมไปในทิศทางตามอิทธิพลของประโยคดังกลาว เชน

Page 78: princeple of design

77

บน Innovative คือ มีอิทธิพลไปในทิศทางของการเปล่ียนแปลงใหดูดหีรือใหใหมข้ึน ซาย Attacking Culture คือ มีอิทธิพลทางการไมยอมรับของสังคม หรือมีการตอตานใน

ทางการพิจารณา หมายถึง สําหรับพัฒนาใหแกสังคมบางกลุมท่ีไมใชสังคมสวนใหญ ขวา Affirming Culture คือ มีอิทธิพลทางการยอมรับหรือเห็นดวยของสังคมสวนใหญ ลาง Old Fashioned คือมีอิทธิพลในทางยอนกลับไปสูยุคกอนๆ หรือแบบโบราณ

ตัวอยางการใชตารางกริด ดังกลาวถาวัดรสนิยมและความพึงพอใจไปกําหนดอยูในพื้นท่ีบริเวณใดของตารางบริเวณนั้นคือ มีแนวโนมของความคิดรวบยอดของผลิตภัณฑท่ีมีตอกลุมเปาหมายเชน

- อยูในพืน้ท่ีบริเวณ B4 หมายความวา ผลิตภัณฑนั้นมีจุดประสงคไปยังกลุมผูใชท่ีรักความสะอาด เรียบรอย มีความเปนผูนําในสังคม ทิศทางในการพัฒนามีโอกาสเปล่ียนแปลงพฒันาข้ึนใหมไดอยูเสมอ

Page 79: princeple of design

78

- อยูในพืน้ท่ีบริเวณ C1 หมายความวา ผลิตภัณฑนั้นมีจุดประสงคไปยังกลุมผูใชท่ีเปนคนกลา ไมอยูในกฎเกณฑหรือขอบเขตของสังคมแตงตัวทันสมัยในแนวเปร้ียว ทิศทางในการพัฒนามุงไปยังสังคมบางกลุม

- อยูในพืน้ท่ี E5 หมายความวา ผลิตภัณฑนัน้มีจุดประสงคไปยังกลุมผูใชท่ียึดถือขนบธรรมเนียมประเพณี มีสังคมผูดี ระดับสูง มีฐานะดี ทิศทางในการพัฒนาก็ยดึลักษณะยุคเกาหรือยอนยุค

จากตัวอยางเหลานี้ก็พอท่ีจะเปนแนวทางใหเกิดความเขาใจในการที่จะศึกษาพิจารณาถึง

รสนิยม และความพึงพอใจของผูใชผลิตภัณฑ โดยเทียบเคียงกับวัฒนธรรมแฟช่ันของสังคมเพื่อท่ีจะไดมาซ่ึงความคิดรวบยอดในการกาํหนดการออกแบบหรือพัฒนาผลิตภัณฑ 5.2 หลักการรางแบบอยางงาย

การถายทอดความคิดของนักออกแบบท่ีเหมาะสมในการเสนอแบบข้ันตนก็คือ การรางภาพดวยมือเปลา (Freehand Sketching) นักออกแบบควรจะมีความชํานาญในการรางภาพไดอยางแมนยําและรวดเร็วเขาใจในการนําเสนอมุมมองภาพท่ีผูดูเห็นแลวเขาใจชัดเจนแบบรางข้ันตนตองแสดงอยางหลากหลาย คือ คิดอะไรก็ถายทอดออกมาเปนภาพรางใหหมดแลวจึงคอยๆ กล่ันกรอง โดยใชหลักของเหตุผลในแงมุมตางๆ เชน ดานการใชงาน ดานรูปราง เปนตน เพื่อตัดแบบท่ีไมเหมาะสมออกทีละแบบจนเหลือแบบรางนอยท่ีสุด แลวจึงนํามาวเิคราะหเปรียบเทียบอยางละเอียด เพื่อนําไปสูการตัดสินใจในแบบของผลิตภัณฑตอไป

5.2.1 วิธีพัฒนาแนวคิดดวยแบบรางขัน้ตน การเขียนแบบรางแบบคราวๆ เสมือนกับการจดบันทึกของความคิดในการออกแบบที่นักออกแบบไดแสดงออกมาเปนภาพผลิตภณัฑในข้ันตน (Preliminary Ideas) ดวยวิธีการสเกตซภาพดวยมือเปลา (Freehand Sketching) แสดงรูปรางผลิตภัณฑอยางคราวๆ หลายๆ แบบเทาท่ีคิดออกมาในข้ันตน เพื่อจะไดคัดเลือกแบบท่ีเหมาะสมท่ีสุดมาทําการทดลองปรับปรุงพัฒนาแบบและกล่ันกรองพิจารณาใหไดแบบสุดทายเพยีงแบบเดยีว แบบรางหลายแบบเหลานี้ รางออกมาจากความคิดสรางสรรค (Creative) ของนักออกแบบ ประสานกับขอมูลท่ีไดศึกษาและสรุปออกมา โดยแตละแบบท่ีรางนั้นอาจมีขอดี และขอเสีย สวนท่ีเหน็วาดกี็เก็บเอาไว เพือ่นํามาปรับปรุงผสมผสานเฉพาะสวนท่ีดตีอไป จนกวาจะไดแบบรางท่ีนาพอใจประมาณ 2-3 แบบ เพื่อนําไปเปรียบเทียบ กล่ันกรอง วิเคราะหขอดีขอเสียในข้ันตอนตอไป ฉะนั้นการเขียนแบบรางดวยมือเปลาจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางมาก

Page 80: princeple of design

79

เม่ือเห็นความสําคัญของการรางแบบดวยมือเปลาแลวนักออกแบบจึงควรท่ีจะหม่ันฝกฝนการรางภาพดวยมือเปลาใหเกิดความชํานาญมีความแมนยําของการลากเสน ท้ังแนวนอน แนวต้ัง แนวเฉียง เสนโคง วงกลม วงรี หรือรูปทรงอ่ืนๆ ซ่ึงจะเปนสวนประกอบกันของภาพ 2 และ3 มิติ โดยอาจเร่ิมตนอยางหยาบๆ กอน แลวคอยขัดเกลา ไปเพิ่มใหความละเอียดจนเปนรูปผลิตภัณฑ โดยประโยชนของการสเกตซภาพดวยมือเปลาเปนขอๆ ดังนี ้

1. สามารถพัฒนาแบบผลิตภณัฑใหมไดอยางรวดเร็วข้ึน 2. ชวยรวบรวมเกี่ยวกับแนวความคิด 3. ชวยจดัรูปแบบแนวความคิด 4. ชวยบันทึกความคิด 5. ชวยในการออกแบบ 6. ชวยในการเปล่ียนแปลงการออกแบบ 7. ชวยวางผังในการเขียนแบบ 8. ชวยสรุปปญหาในการออกแบบมาเปนภาษาภาพ 9. ชวยลดเวลาและคาใชจายของอุปกรณการเขียนแบบ

ภาพแสดงการรางแบบอยางงายเพ่ือคนหาแนวความคิด

Page 81: princeple of design

80

การถายทอดความคิดมาเปนแบบรางมีขอแนะนํา ดงันี ้ 1. รางภาพดวยมือเปลา โดยใชดินสอ ปากกา หรืออุปกรณอ่ืนๆ แลวแตความถนัดของแตละคน 2. แสดงแบบรางหลายๆ แบบเปนภาพ 3 มิติ เทาท่ีคิดออก เพราะเปนงานในลักษณะแสดงความคิดริเร่ิม (Idea Sketching) 3. ภาพรางอาจมีการแรเงา ลงน้ําหนกั ลงสี หรือเปนเพยีงลายเสนก็ได แลวแตจะเหน็เหมาะสม คือ ถายทอดภาพใหไดความชัดเจนท่ีสุด 4. ในขณะรางแบบควรปลอยความคิดริเร่ิม (Idea) เปนไปโดยอิสระ แมวาบางแบบอาจจะดูเกินเลยหรือแปลกในตอนแรก เพราะมีข้ันตอนการกล่ันกรองภายหลัง 5. แบบหลายแบบท่ีรางออกมาตองมีความถูกตองหรือเหมาะสมเล็กๆ นอยๆ แฝงอยูในแตละแบบ ซ่ึงควรจับเอาความถูกตองในแตละจุดมาผสมรวมกันใหได 6. แบบรางท่ีไดกล่ันกรองข้ันตนแลวอาจนําไปแตกขยายพัฒนารูปแบบ (Ideas Develop) ออกไปไดอีก เพอวิเคราะหหารูปแบบผลิตภัณฑท่ีเหมาะสม

5.2.2 วิธีการกล่ันกรองแบบราง การกล่ันกรองแบบรางเปนข้ันตอนในการคัดเลือกแบบรางผลิตภัณฑท่ีไดรางเอาไวหลายๆ

แบบ โดยเลือกหาแบบท่ีคิดวาจะเหมาะสม มีความเปนไปไดมากท่ีสุด 2 – 3 แบบ เพื่อนํามาหาขอเปรียบเทียบสวนดี สวนเสีย แลวสรุปใหเหลือแบบเดียวตอไป

ในข้ันตอนการกล่ันกรองนี้ นักออกแบบตองใชขอมูลเปนบรรทัดฐานในการคัดเลือก ตองยึดม่ันตามขอมูลมากกวาความชอบ หรือความรูสึกของตนเองแบบใดเห็นวามีความเหมาะสมนอยกวา ไมตรงตามขอมูลหรือจุดประสงคก็ตัดท้ิงไปทีละแบบ โดยพยายามใหเหลือแบบใหนอยท่ีสุดท่ีเห็นวาตัดท้ิงไมไดแลว เพราะท่ีเหลือนีด้ีเหมาะสมทุกแบบ ซ่ึงก็อาจเหลืออยูเพียง 2 หรือ 3 แบบเทานั้น แลวจึงนํา 2-3 แบบนีม้าทําการเปรียบเทียบหรือพจิารณากล่ันกรองใหเหลือเพยีงแบบเดียวตอไป เกณฑในการพิจารณาคัดเลือกจะตองยึดหลักเกณฑท่ีตรงตามขอมูลท่ีหามาไดท่ีสุด เชน

- พิจารณาประโยชนใชสอยของผลิตภัณฑ - พิจารณาดานความสวยงาม - พิจารณาดานการผลิต และราคา - อ่ืนๆ

Page 82: princeple of design

81

ภาพแสดงการรางแบบและนํามากล่ันกรอง

5.2.3 การรางแบบอยางงาย ใหนกัศึกษาทําการรางแบบผลิตภัณฑลงในกระดาษพรอมท้ังทําการวเิคราะหแบบรางโดยกล่ันกรองแบบรางตามหัวขอของการกล่ันกรอบแบบรางลงในแบบ

Page 83: princeple of design

82

5.3 การเขียนแบบรางและการวิเคราะหแบบราง การเขียนแบบรางเพื่อการวิเคราะหเปนการเขียนแบบอยางละเอียด ซ่ึงเปนแบบท่ีตัดสินใจ

จะนําไปผลิต กอนการนําไปผลิตนั้นตองมีข้ันตอนของการกล่ันกรอง วิเคราะหทางวชิาการ งานแบบนี้จะใหรายละเอียดของรูปทรง สัดสวน มุมมอง สีสัน สวนประกอบและกลไกตางๆ ของผลิตภัณฑ ซ่ึงทําใหผูดูเกิดความเขาใจชัดเจน สวยงามในตัวแบบ นักออกแบบจึงตองทําการเขียนแบบราง (Sketch Design) ใหมีความละเอียดและเนนจดุตางๆ ใหผูดูไมวาจะเปนบุคคลกลุมใดก็สามารถดูแบบแลวรูเร่ืองเขาใจไดอยางถ่ีถวน ลักษณะงานออกแบบเขียนแบบรางนี้เปนการเขียนแบบกึ่งสเกตซ กึ่งใชเคร่ืองมือเขียนแบบชวย หรือจะใชเคร่ืองมือชวยท้ังหมดกไ็ดแลวแตความถนดัทางทักษะของนักออกแบบ ถาเปนการสเกตซหรือการรางแบบมือเปลา (Freehand Sketching) ก็เปนการรางท่ีคอนขางประณีตพิถีพิถัน ความรูสึก อารมณ ของภาพสเกตซเม่ือออกมาจะมีลักษณะออนหวาน ดูมีชีวิตชีวา ไมแข็งหรือดูท่ือๆ เหมือนใชเคร่ืองมือชวยท้ังหมด แบบของผลิตภัณฑจะตองมีมาตราสวนท่ีถูกตอง ชัดเจน สามารถวัดขนาดไดจากแบบรางนี้

จุดประสงคของแบบราง (Sketch Design) เพื่อนําเสนองาน 1. เพื่อส่ือความคิดในการออกแบบของนกัออกแบบไปยงับุคคลอ่ืนใหเขาใจ 2. เพื่อพัฒนาคุณภาพจากแบบรางเดิมใหมีคุณภาพดีข้ึน มีรายละเอียดมากข้ึนและมีความ

สวยงาม 3. เพื่อเปนขอมูลตนแบบในการนําไปเขียนแบบเพื่อการผลิต (Working Drawing) ใน

ภายหลัง 4. เพื่อการนําเสนองาน แสดงนิทรรศการและเผยแพรประชาสัมพันธตัวผลิตภัณฑ 5.3.1 วิธีการเขียนแบบรางดวยมือและเคร่ืองมือ

การเขียนแบบรางดวยมือนั้นจะใชหลักการของการวาดภาพ (Drawing) มาใชในการรางแบบซ่ึงหลักท่ีตองนํามาพิจารณาเพิ่มเติมเพือ่ใหภาพท่ีไดมีความสวยงามนั้นไดแกการเขียนภาพใหมีทัศนะมิติมากข้ึนดวยวิธีการเขียนในมุมมองแบบสามมิติเพื่อใหเกิดความลึกของภาพและมีความสมจริงมากข้ึนการรางแบบดวยมือนัน้อาจใชความสามารถจากการฝกหดัวาดภาพมาเปนส่ิงชวยใหการรางแบบสามารถทําไดงายหรืออาจใชเคร่ืองมือในการชวยรางแบบท้ังนี้เพื่อใหเกดิความชัดเจนแนนอนในรายละเอียดตางๆ เชน ขนาด และความเท่ียงตรงอ่ืนๆ ลักษณะของการรางแบบในระยะตนนี้สามารถทําได 2 ลักษณะคือ 1. การรางแบบดวยภาพดานของงานท่ีมีลักษณะเปนภาพสองมิติเพื่อใหสามารถกําหนดสัดสวนไดงายและกําหนดคาตางๆ ไดชัดเจนในการเขียนอาจใชการกําหนดอัตราสวนของภาพ (Scale) หรือใชการกําหนดโดยคราวๆ กไ็ด ท้ังนี้ข้ึนอยูกบัแบบท่ีตองการแสดงวาตองการใหมีความสมจริงเพียงใด ภาพดานเหลานี้ประกอบดวย

Page 84: princeple of design

83

- ภาพดานหนา (Front View) - ภาพดานขางซาย และภาพดานขางขวา (Left hand side and Right hand side) - ภาพดานหลัง (Back View Side) - ดานบน (Plan or Top View Side) - ดานลาง (Bottom View Side) - ภาพตดัของช้ินงาน (Section View)

ลักษณะของการรางภาพแบบสองมิติ หรือภาพดาน

2. การรางแบบดวยภาพสามมิติ เปนการรางแบบท่ีตองการแสดงความสมจริงอาจเปนการรางดวยลายเสนของช้ินงานเทานั้นหรือจะลงสีและนํ้าหนักแสงเงาเพื่อใหดูสมจริงและตองการเนนความเหมือนของภาพใหผูดภูาพเขาใจในตัวช้ินงานออกแบบไดโดยงาย

Page 85: princeple of design

84

ลักษณะของการรางภาพแบบสามมิติ

Page 86: princeple of design

85

5.3.2 วิธีการลงสีและแสงเงาในแบบราง วิธีการลงสีและเงาในแบบรางจะใชหลักการในการวาดเขียน (Drawing) และระบายสีภาพ

(Painting) ซ่ึงในการลงแสงเงานั้นจะสามารถทําดวยเทคนิคและวิธีการไดหลายๆ อยางเชน การใชวิธีขีดเปนเสนทับซอน การใชจุดไลน้ําหนกั หรือการลงแสงเงาแบบตัดกันของสีขาวและสีดําก็ไดท้ังนี้ตองใหถูกตองตามหลักของการสองและตกกระทบของแสงบนวัตถุ

สวนการลงสีกเ็ชนเดยีวกับการลงเงาโดยใชทฤษฎีของการใชสีในการออกแบบมาเปนหลักในการพจิารณาออกแบบ ท้ังนี้ตองคํานึงถึงความถูกตองของเนื้อวัสดุท่ีตองการใหเปน เชน พลาสติกท่ีมีความมันวาว ผาท่ีมีผิวหยาบและไมสะทอนแสง หรือ ไม หิน โลหะ ฯลฯ รวมถึงตองลงสีใหถูกตองตามสีท่ีผูออกแบบตองการใหเปน ท้ังนีน้อกจากการลงสีท่ีตัวของผลิตภัณฑแลวการลงสีของฉากหลังนับวามีสวนชวยสงเสริมใหผลิตภณัฑท่ีออกแบบมีความเดน สวยงามข้ึนได การลงสีของฉากหลังนั้นมีหลักการอยางงายๆ คือ เลือกใชสีท่ีมีน้ําหนกัตรงขามกับตัวผลิตภัณฑท่ีเขียน เชน ถาตัวผลิตภัณฑท่ีออกแบบเปนสีท่ีคอนขางออน เชนสีเหลือง ควรใชสีท่ีมีน้ําหนักมากทําเปนสีพื้นหลังเชน สีน้ําตาลไหม สีน้ําเงินเขม หรือ สีเทาผสมดวยสีอ่ืนท่ีคอนขางเขม เชนเทาน้ําเงิน เปนตน จะทําใหงานท่ีออกแบบดูเดนเห็นไดชัดเจน หากใชสีท่ีมีน้ําหนักใกลเคียงกันมาเปนสีพื้นจะทําใหช้ินงานดูไมสดใสและจมไปกับพื้นหลังจนหมดคุณคาไมสรางความสนใจใหกบัตัวผลิตภัณฑได

การลงเงาภาพอยางงายๆ

Page 87: princeple of design

86

การลงสีช้ินงานและสีของฉากหลังหรือพ้ืนหลัง

5.3.3 วิธีการกําหนดคาและเขียนตัวอักษรในแบบราง

การกําหนดคาและเขียนตัวอักษรในภาพรางมีจุดมุงหมายเพื่อแสดงรายละเอียดของช้ินงานใหผูดูแบบรางสามารถทําความเขาใจในรายละเอียดตางๆ ท้ังรายละเอียดทางดานเทคนิคและแนวคิดในการออกแบบของนักออกแบบใหเกิดความเขาใจท่ีตรงกัน การเขียนตัวอักษรอาจใชการเขียนดวยลายมือของผูออกแบบอยางเปนระเบียบท่ีอานงายสวยงาม หรืออาจใชเคร่ืองมือในการเขียนตัวอักษรชวยก็ได รายละเอียดของการกําหนดคาและเขียนตัวอักษรประกอบดวย 1. การเขียนตัวอักษรแสดงรายการภาพดานทุกดานท่ีเขียน 2. การเขียนหวักระดาษเพื่อแสดงรายละเอียดของแบบท่ีรางประกอบดวยตัวอยางรายละเอียดดังนี้

Page 88: princeple of design

87

- ช่ือผูออกแบบ - ช่ือช้ินงานท่ีออกแบบ - มาตราสวน (Scale) - หนวยท่ีใช (Unit) - วันเดือนปท่ีเขียนหรือรางแบบ - หนวยงานของผูเขียนแบบ และหนวยงานเจาของแบบ - หมายเลขแบบ (ในกรณีท่ีแบบมีหลายแผน) 3. การเขียนแนวความคิดรวบยอดของการออกแบบ (Concept of Design) เปนการเขียนบรรยายแสดงแนวความคิดของผูออกแบบท่ีเปนเหตุผลของการออกแบบชิ้นงานนั้นๆ 4. การเขียนตัวอักษรกํากับรายระเอียด (Detail) หรือการเขียนรายการของช้ินสวน เชน การกาํหนดวัสดุ การกําหนดกรรมวิธีในการผลิต หรือการตกแตงดวยกรรมวิธีตางๆ

5.3.4 หลักการวิเคราะหแบบราง งานออกแบบเปนผลรวมข้ันสุดทายจากกระบวนการทํางานของฝายตางๆ ท่ีเกี่ยวของรวมกันพัฒนาแบบดังนัน้งานออกแบบท่ีดจีึงเกิดข้ึนจากการทํางานประสานกันอยางรอบคอบในการรวบรวมขอมูลการแยกแยะและจัดลําดบัความสําคัญของปญหาไดอยางถูกตอง ตลอดจนความสามารถในการเช่ือมโยงองคประกอบตางๆ ในงานออกแบบเขาดวยกันไดเปนอยางดีจนเหลือปญหาตกคางอยูนอยท่ีสุด หลักเกณฑในการพิจารณางานออกแบบโดยท่ัวไปมักมาจากการพจิารณาปจจัยท่ีมีผลตองานนั้นๆ ซ่ึงแบงออกเปนปจจัยจากภายนอกและภายใน เกณฑดังกลาวสามารถสรุปออกไดเปน 5 หัวขอ คือ 1. ประโยชนใชสอย (Function) เปนศูนยกลางของการออกแบบท่ีนกัออกแบบจําตองคํานึงถึงเปนประการแรกเพราะถางานออกแบบท่ีนํามาพจิารณาขาดความเหมาะสมทางการใชสอย ตลอดจนไมใหความสะดวกสบายและความปลอดภัย กน็ับเปนความสิ้นเปลืองและสูญเปลา ประโยชนใชสอยมีผลตอการเลือกใชลักษณะของรูปทรง วัสดุ และกรรมวิธีการผลิต งานออกแบบท่ีดีอยางแทจริงจึงควรเปนงานท่ีมีประโยชนครอบคลุมต้ังแตกอนการใชงาน ขณะใชงานและภายหลังเสร็จส้ินการใชงานแลว มีลักษณะถูกตองสอดคลองกับสรีระสวนท่ีใชงาน ไมกอใหเกิดความขัดของ เม่ือยลา อันเปนการบ่ันทอนประสิทธิภาพในการใชงาน 2. ความงาม (Aesthetics) หรือสุนทรียภาพของงาน ซ่ึงความงามมักเกิดข้ึนจากลักษณะโดยรวมของรูปทรงตลอดจนการตกแตงหนาตาของงานออกแบบ ความงามเปนสวนหน่ึงท่ีมีความสําคัญไมนอยไปกวาดานประโยชนใชสอยลักษณะความงามของงานออกแบบควรพิจารณาตามประเภทหรือธรรมชาติเฉพาะของงานออกแบบนั้นๆ ผลิตภัณฑแตละชนิดมีหนาท่ีใชสอยเฉพาะอยางและทําข้ึนใหเหมาะสมกับผูใชเฉพาะกลุม ดังนั้นลักษณะหนาตาท่ีปรากฏจึงควรสามารถส่ือถึงลักษณะการใชงานและอยูในแนวทางท่ีเหมาะสมกับกลุมผูใช จึงจะเรียกไดวาเปน

Page 89: princeple of design

88

งานออกแบบที่มีความงามอยางถูกตอง นอกจากมีลักษณะหนาตาท่ีส่ือไดเหมาะสมดังกลาวแลว งานออกแบบที่ดียังตองมีลักษณะเฉพาะซ่ึงสามารถสรางความสนใจตอผูพบเห็น มีความใหมและมีเอกลักษณแตกตางจากงานออกแบบท่ีมีอยูท่ัวไป 3. การเลือกใชวัสดุและกรรมวิธีการผลิต (Material and Process) ปจจุบันนักออกแบบมีทางเลือกอยางกวางขวางสําหรับการนําวัสดุชนิดตางๆ ตลอดจนเทคโนโลยีทางการผลิตท่ีมีความกาวหนามาใชกับงานออกแบบ ลักษณะงานออกแบบท่ีดีควรมีการเลือกใชวัสดุใหเหมาะกับหนาท่ีใชสอยในดานความแข็งแรงทนทานตอการใชงาน ผลิตไดงายไมกอใหเกิดความสูญเสียระหวางการผลิต และเปนการรมวิธีท่ีชวยใหงานออกแบบมีความประณีตเรียบรอยปราศจากตําหนิแมในสวนรายละเอียดใหสังเกตได ลักษณะโดยรวมท่ีเกิดข้ึนจากการรูจกัเลือกใชวัสดุ และกรรมวิธีการผลิตอยางถูกตองชวยใหงานออกมามีคุณภาพดี อันเปนคุณคาท่ีสําคัญสําหรับงานออกแบบในปจจุบันซ่ึงผูบริโภคมีมาตรฐานการดํารงชีวิตท่ีดีข้ึนและตองการงานออกแบบที่มีคุณภาพสูง 4. ความเหมาะสมทางการตลาด ความถูกตองตามกฎระเบียบ ระบบและการคํานึงถึงสภาพแวดลอม (Market Environments & Law) เกณฑการพิจารณาเหลานี้มาจากปจจัยภายนอกของงานออกแบบ ลักษณะงานออกแบบท่ีดคีวรมีความสอดคลองกับความตองการของตลาด มีราคาท่ีเหมาะสมสามารถแขงขันไดเปนอยางดี มีการออกแบบอยางรอบคอบ ไมขัดกับระเบียบขอบังคับตลอดจนระบบท่ีใชกันเปนมาตรฐานสากลในขณะน้ัน นอกจากนี้ยังเปนงานออกแบบท่ีแสดงสํานึกความมีสวนรับผิดชอบตอปญหาสภาพแวดลอมท่ีเกิดข้ึน ปจจยัจากภายนอกเหลานีแ้มจะไมใชเกณฑสําคัญเปนอันดับแรกของการพิจารณางานออกแบบ แตก็อาจเปนเกณฑท่ีใชตัดสินช้ีขาดเม่ือเปรียบเทียบกนัในดานตางๆ แลว 5. ความกาวหนาทางการประดิษฐคิดคน (Innovation) นอกจากเกณฑพื้นฐานแลว ปจจุบันพบวางานออกแบบสวนใหญไดรับการออกแบบใหถูกตองตามมาตรฐานและมีลักษณะสอดคลองตามเกณฑเบ้ืองตนครบถวน จึงทําใหการพจิารณาผลิตภัณฑท่ีดีของสมัยใหมนี้มุงเนนไปในประเด็นเกีย่วกับการประดษิฐคิดคนหรือการสรางใหเกิดส่ิงใหม การริเร่ิมใหม (Innovation) นั้นอาจทําได 2 ลักษณะคือ การนํางานออกแบบเกามาปรับปรุงท้ังทางดานการใชสอยใหมีประสิทธิภาพดีข้ึน และอยูในลักษณะหนาตาใหม และการสรางใหเกิดการใชงานอยางใหมสอดคลองตามวิถีชีวิตท่ีเปล่ียนไปโดยอาศัยความกาวหนาทางเทคโนโลยีท่ีเกิดข้ึนมาประยุกตใชอยางเหมาะสม