2
PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประกอบด้วยภาควิชา วิสัญญีวิทยา ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ภาควิชาโสตศอ นาสิก วิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ และภาควิชาศัลยศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเพื่อ วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) พัฒนาแนวทางการดูแลผู ้ป่วยที่มีปัญหา ทางเดินหายใจ 2) เป็นศูนย์กลางการให้ความรู้ด้านทางเดินหายใจและ แลกเปลี่ยนเรียนรู ้ระดับอาเซียน 3) พัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ด้านทางเดิน หายใจให้ยอมรับระดับสากล ปัจจุบันพบภาวะที่คาดว่าผู้ป่วยมีภาวะใส่ท่อหายใจยากมีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้น โดยเกิดทั้งแบบคาดการณ์ล่วงหน้าและแบบคาดไม่ถึงภาวะ แทรกซ้อนที่เกิดตามมาจากภาวะใส่ท่อหายใจยาก หรือใส่ท่อหายใจ ไม่ส�าเร็จ คือ ภาวะออกซิเจนในเลือดต�่าภาวะสมองขาดออกซิเจน และ ภาวะหัวใจหยุดเต้นซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้น้อยแต่มีผลรุนแรง และอาจท�าให้ผู้ป่วยมีอันตรายถึงแก่ชีวิต ดังนั้นในการจัดการทางเดิน หายใจจึงมีความจ�าเป็นที่ต้องให้ความส�าคัญทั้งในด้านการวางแผน และทักษะในการจัดการทางเดินหายใจ ทักษะการใช้อุปกรณ์ช่วยเปิด ทางเดินหายใจในภาวะวิกฤต เพื่อให้ผู ้ป่วยเกิดความปลอดภัยสูงสุด ซึ่ง จะเป็นประโยชน์ต่อแพทย์ หลายกลุ่ม ทั้งวิสัญญีแพทย์ แพทย์ฉุกเฉิน ศัลยแพทย์ และอายุรแพทย์ เป็นต้น รวมทั้ง พยาบาลที่ให้การดูแลผู ้ป่วย ที่มีปัญหาทางเดินหายใจ เช่น หน่วยโสตศอนาสิกที่ดูแลผู้ป่วยมีปัญหา เสี่ยงกับการใส่ท่อหายใจยาก เช่น มีก้อนที่คอ รวมถึงหน่วยเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน หน่วยอุบัติเหตุ หน่วยเวชบ�าบัดวิกฤติ อายุรกรรมและศัลยกรรม ที่ดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาทางเดินหายใจ เช่น ผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุ โดย เฉพาะอย่างยิ่งการบาดเจ็บบริเวณใบหน้า ดังนั้นในบทบาทของแพทย์ และพยาบาลผู้ช่วยเหลือแพทย์ ทุกหน่วยงานที่กล่าวมาข้างต้น ควรมี ความรู้ความสามารถในด้านการวางแผนและทักษะในการจัดการทาง เดินหายใจ ทักษะการใช้อุปกรณ์ช่วยเปิดทางเดินหายใจในภาวะวิกฤต เพื่อช่วยเหลือการจัดการภาวะใส่ท่อหายใจยากเพื่อเพิ่มความปลอดภัย แก่ผู้ป่วย ในนามของ PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC) เล็งเห็นถึงความส�าคัญ ขององค์ความรู้ด้านวิชาการและ จากประสบการณ์จึงได้ร่วมกันจัดประชุมเรื่อง การบริหารจัดการผู ้ป่วย ที่มีปัญหาทางเดินหายใจข้นสูง เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนและถ่ายทอด ประสบการณในการดูแลผู้ป่วยอันจะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่มี คุณภาพมากยิ่งขึ้น 1. เพื่อเพิ่มความรู้และทักษะในด้านการวางแผนและทักษะในการจัดการ ทางเดินหายใจ ทักษะการใช้อุปกรณ์ ช่วยเปิดทางเดินหายใจในภาวะ วิกฤต ในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางเดินหายใจ 2. สามารถใช้อุปกรณ์ช่วยเปิดทางเดินหายใจในภาวะวิกฤตได้อย่างถูกต้อง และตระหนักถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการใส่ท่อหายใจยากได3. สามารถเตรียมอุปกรณ์ในการใส่ท่อหายใจ/ช่วยหายใจได้อย่างถูกต้อง หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เพอให้ผู้เข้าอบรม ติดต่อ/ส่งใบสมัครและหลักฐานการชำาระเงิน มาที่: งานเวชนิทัศน์และการจัดประชุม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท์ : 074-451147 โทรสาร : 074-451127 E-mail : [email protected] ใบสมัคร ชื่อ นาย/นาง/น.ส. (ตัวบรรจง) ...................................................................................................................................................................................... เลขที่สมาชิกสภาฯ................................................................................................................................................................................................................ โรงพยาบาล.......................................................................................................................................................................................................................... อำาเภอ...........................................................................จังหวัด.....................................................................รหัสไปรษณีย์ .................................................. โทรศัพท์.......................................................................มือถือ*............................................................................................................................................ e-mail address : ...................................................................................................................อาหาร ทั่วไป อิสลาม SCAN QR CODE ลงทะเบียนออนไลน์ (มีคะแนนCNEU, อยู่ระหว่างด�าเนินการ) หมดเขตสมัคร วันที่ 5 มีนาคม 2563 ค่าลงทะเบียน 3,500 บาท

PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC)medinfo2.psu.ac.th/prupload/files/UPLOAD_20191216_152556_CIWV… · และทักษะในการจัดการทางเดินหายใจ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC)medinfo2.psu.ac.th/prupload/files/UPLOAD_20191216_152556_CIWV… · และทักษะในการจัดการทางเดินหายใจ

PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC)

คณะแพทยศาสตร มหาวทยาลยสงขลานครนทร ประกอบดวยภาควชา

วสญญวทยา ภาควชาเวชศาสตรฉกเฉน ภาควชาโสตศอ นาสก

วทยา ภาควชาอายรศาสตร และภาควชาศลยศาสตร จดตงขนเพอ

วตถประสงคดงน 1) พฒนาแนวทางการดแลผ ป วยทมป ญหา

ทางเดนหายใจ 2) เปนศนยกลางการใหความรดานทางเดนหายใจและ

แลกเปลยนเรยนรระดบอาเซยน 3) พฒนาองคความรใหมดานทางเดน

หายใจใหยอมรบระดบสากล

ปจจบนพบภาวะทคาดวาผปวยมภาวะใสทอหายใจยากมแนวโนม

เพมสงขน โดยเกดทงแบบคาดการณลวงหนาและแบบคาดไมถงภาวะ

แทรกซอนทเกดตามมาจากภาวะใสทอหายใจยาก หรอใสทอหายใจ

ไมส�าเรจ คอ ภาวะออกซเจนในเลอดต�าภาวะสมองขาดออกซเจน และ

ภาวะหวใจหยดเตนซงเปนภาวะแทรกซอนทเกดขนไดนอยแตมผลรนแรง

และอาจท�าใหผปวยมอนตรายถงแกชวต ดงนนในการจดการทางเดน

หายใจจงมความจ�าเปนทตองใหความส�าคญทงในดานการวางแผน

และทกษะในการจดการทางเดนหายใจ ทกษะการใชอปกรณชวยเปด

ทางเดนหายใจในภาวะวกฤต เพอใหผปวยเกดความปลอดภยสงสด ซง

จะเปนประโยชนตอแพทย หลายกลม ทงวสญญแพทย แพทยฉกเฉน

ศลยแพทย และอายรแพทย เปนตน รวมทง พยาบาลทใหการดแลผปวย

ทมปญหาทางเดนหายใจ เชน หนวยโสตศอนาสกทดแลผปวยมปญหา

เสยงกบการใสทอหายใจยาก เชน มกอนทคอ รวมถงหนวยเวชศาสตร

ฉกเฉน หนวยอบตเหต หนวยเวชบ�าบดวกฤต อายรกรรมและศลยกรรม

ทดแลผปวยทมปญหาทางเดนหายใจ เชน ผปวยประสบอบตเหต โดย

เฉพาะอยางยงการบาดเจบบรเวณใบหนา ดงนนในบทบาทของแพทย

และพยาบาลผชวยเหลอแพทย ทกหนวยงานทกลาวมาขางตน ควรม

ความรความสามารถในดานการวางแผนและทกษะในการจดการทาง

เดนหายใจ ทกษะการใชอปกรณชวยเปดทางเดนหายใจในภาวะวกฤต

เพอชวยเหลอการจดการภาวะใสทอหายใจยากเพอเพมความปลอดภย

แกผปวย

ในนามของ PSU Airway Management Excellent Center

(PAMEC) เลงเหนถงความส�าคญ ขององคความรดานวชาการและ

จากประสบการณจงไดรวมกนจดประชมเรอง การบรหารจดการผปวย

ทมปญหาทางเดนหายใจขนสง เพอเปนการแลกเปลยนและถายทอด

ประสบการณในการดแลผปวยอนจะสงผลใหผปวยไดรบการดแลทม

คณภาพมากยงขน

1. เพอเพมความรและทกษะในดานการวางแผนและทกษะในการจดการ

ทางเดนหายใจ ทกษะการใชอปกรณ ชวยเปดทางเดนหายใจในภาวะ

วกฤต ในผปวยทมปญหาทางเดนหายใจ

2. สามารถใชอปกรณชวยเปดทางเดนหายใจในภาวะวกฤตไดอยางถกตอง

และตระหนกถงภาวะแทรกซอนทอาจเกดขนจากการใสทอหายใจยากได

3. สามารถเตรยมอปกรณในการใสทอหายใจ/ชวยหายใจไดอยางถกตอง

หลกการและเหตผล

วตถประสงค เพอใหผเขาอบรม

ตดตอ/ส

งใบ

สมครและห

ลกฐานการชำาระเง

น มาท:

งานเว

ชนทศนและก

ารจดประช

ม ค

ณะแ

พทยศาสตร ม

หาวทยาลยสงขลานครนทร

อ.ห

าดให

ญ จ

.สงขลา 9

0110 โท

รศพท : 074-4

51147 โท

รสาร : 074-4

51127 E-m

ail

: meetin

g@

medic

ine.p

su.a

c.th

ใบสมครชอ นาย/นาง/น.ส. (ตวบรรจง) ......................................................................................................................................................................................เลขทสมาชกสภาฯ................................................................................................................................................................................................................โรงพยาบาล..........................................................................................................................................................................................................................อำาเภอ...........................................................................จงหวด.....................................................................รหสไปรษณ

ย..................................................โทรศพท.......................................................................มอถอ*............................................................................................................................................e-mail address : ...................................................................................................................อาหาร

ทวไป

อสลาม

SCAN QR CODE

ลงทะเบ

ยนออนไล

(มคะแ

นนCNEU, อ

ยระห

วางด�าเน

นการ)

หมดเข

ตสมคร ว

นท 5

มนาคม 2

563

คาลงทะเบ

ยน

3,5

00 บาท

Page 2: PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC)medinfo2.psu.ac.th/prupload/files/UPLOAD_20191216_152556_CIWV… · และทักษะในการจัดการทางเดินหายใจ

วนท 20 มนาคม 2563

08.30-09.00 น. ลงทะเบยน

09.00-09.10 น. เปดงาน

คณบดคณะแพทยศาสตร

09.10-10.00 น. Assessment of Difficult Airway

Patients

“Does the ultrasound have roles?”

ผศ.พญ.สมตรา ประเทพ

พว.ยพน อภสทธวงศ

10.00-10.30 น. Break

10.30-11.20 น. Airway Management in Trauma

Patients

“How to manage at the first

checkpoint at ER”

อ.พญ.อาฮยซะห ดาเดะ

พว.สรพร ด�านอย

11.20-12.10 น. Airway Management in Head and

Neck Cancer

“Sharing the airway with the tumor”

อ.นพ.พศษฎ ลลาสวสดสข

พว.นาร ปานทอง

12.10-13.00 น. พกรบประทานอาหารกลางวน

13.00-13.50น. Percutaneous Tracheostomy :

What is the benefit?

อ.พญ.อสมา นวสกลพงศ

พว.วรรด รกอม

13.50-14.40 น. New Supraglottic Airway Devices :

easy to manage the airway?

ผศ.พญ.นลน โกวทวนาวงษ

พว.นสรา ดลกรตนพจตร

14.40-15.00 น. Break

15.00-15.50 น. Anterior Neck Access & Introduction

for workshop

Pin-Tarn Chen, MD

15.50-16.30 น. Case Based Panel Discussion

“When will we perform surgical airway?”

อ.นพ.พศษฎ ลลาสวสดสข

ผศ.พญ.สมตรา ประเทพ

อ.พญ.อาฮยซะห ดาเดะ

วนท 19 มนาคม 2563

SCAN QR CODE

ลงทะเบยนออนไลน

08.30-09.00 น. ลงทะเบยน

09.00-12.00 น. Hands on workshop แพทย

• Anterior neck access

• Supragottic Airway Devices

• Video laryngoscope

Pin Tarn Chen, MD

ผศ.พญ.นลน โกวทวนาวงษ

อ.นพ.พศษฎ ลลาสวสดสข

อ.พญ.อาฮยซะห ดาเดะ

09.00-12.00 น. Hands on workshop พยาบาล

• Nursing Care in Different types of

tracheostomy Tubes

• Difficult Airway Cart

พว.นาร ปานทอง

พว.วรรด รกอม

พว.วภารตน จฑาสนตกล

12.00-13.00 น. พกรบประทานอาหารกลางวน

13.00-16.30 น. Simulation

• case CA BOT

• case tracheostomy problem