121

Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ทัศนะของศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย ว่าด้วยวิทยาลัยชุมชน

Citation preview

Page 1: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College
Page 2: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“ความสำเร็จที่เกิดขึ้นของวิทยาลัยชุมชน ไมไดมาจากผลงานของใครคนใดคนหน่ึง แตมาจากความ

รวมมือของทุกทานภายในจังหวัดนั้นๆ ที่มั่นใจ และเช่ือวา วิทยาลัยชุมชนเดินทางไป

อยางถูกตองตามครรลองครองธรรม”

“ทั้งชีวิตเรา ไมไดทำอาชีพ เพียงอาชีพเดียว เราสามารถจะเขามาเรียนวิทยาลัยชุมชน เพิ่มสาขาอาชีพ

ที่สอง ที่สาม...ได”

“ที่สำคัญ อยาเปล่ียนสถานภาพวิทยาลัยชุมชน ไปสอนปริญญาตรี

โดยเด็ดขาด...”

“คาเลาเรียนท่ีนี่เราจะเก็บใหถูกท่ีสุด เทาท่ีจะไมทำใหเราขาดทุน เพราะเราขาดทุนไมได

เราตองมีคาใชจายในการจัดการศึกษา”

Page 3: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ชื่อหนังสือ เลม 1 : ทัศนะของ ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน บรรณาธิการ วิวัฒน คติธรรมนิตย และกรเกษ ศิริบุญรอด ที่ปรึกษา ดร.สุเมธ แยมนุน ดร.ฉันทวิทย สุชาตานนท ดร.รุงเรือง สุขาภิรมย สุนันทา แสงทอง พิมพครั้งแรก กันยายน 2552 จำนวนพิมพ 15,000 เลม จัดพิมพโดย สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ถนนราชดำเนิน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 02-280-0091-96 โทรสาร 02-280-4162 ISBN 978-616-202-031-5 ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน เลม 1 : ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติตคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย วาดวยวิทยาลัยชุมชน. -- กรุงเทพฯ : สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน, 2552. 126 หนา. 1. การศึกษากับชุมชน 2. วิทยาลัยชุมชน I. วิวัฒน คติธรรมนิตย, บรรณาธิการ II. กรเกษ ศิริบุญรอด, บรรณาธิการรวม. III. ชื่อเรื่อง 378.73 ISBN: 978-616-202-032-2

2 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 4: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

คำนำ

สืบเนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะจัดสัมมนา เรื่อง “วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือก

อุดมศึกษาเพื่อปวงชน” ระหวางวันท่ี 4-6 กันยายน 2552 ณ หองบางกอกคอนเวนช่ันเซ็นเตอร ศูนยการคา

เซ็นทรัล ลาดพราว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรายงานผลการดำเนินงานเผยแพรและแลกเปลี่ยนความคิด

ความเขาใจในการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชนอันกอใหเกิดการเรียนรูรวมกันในการพัฒนางานวิทยาลัยชุมชน

อยางตอเนื่อง

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนมีความเห็นวาในงานนี้

ควรมีหนังสือรวบรวมความคิดสำคัญๆ ในการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชนเปนเอกสารประชาสัมพันธในเชิงลึก

จึงไดคัดสรรปาฐกถา นโยบาย บทความและความคิดเห็นในโอกาสตางๆ ของบุคคลสำคัญที่เก่ียวของกับ

วิทยาลัยชุมชนมาเปนหนังสือ “คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน”

เลมที่หนึ่ง ไดรวบรวมแนวคิดของบุคคลสำคัญเปนคนแรก คือ ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทย

เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เพราะทานมีคุณูปการที่สำคัญยิ่งตอวิทยาลัยชุมชน เริ่มจากเปนผูกอตั้ง วางระบบ

ใหคำแนะนำในการบริหารจัดการและการพัฒนา ตลอดถึงคอยติดตามใหกำลังใจและชวยแกปญหาสำคัญๆ

อยางตอเนื่องตลอดระยะเวลากวา 8 ป

เลมท่ีสอง ไดรวบรวมแนวคิดของบุคคลสำคัญหลายทาน ซึ่งเปนผูกำหนดนโยบายและผูบริหาร

ที่กำกับดูแลงานวิทยาลัยชุมชน ที่กำหนดทิศทาง สนับสนุน ผลักดัน ใหคำแนะนำ และแกปญหาสำคัญๆ

ตลอดจนตดิตามใหกำลังใจ ประกอบดวย ฯพณฯ พลเอกสรุยทุธ จลุานนท องคมนตร ี ฯพณฯ พลากร สวุรรณรฐั

องคมนตรี ฯพณฯ พลเรือเอกชุมพล ปจจุสานนท องคมนตรี นายจุรินทร ลักษณวิศิษฏ รัฐมนตรีวาการ

3คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 5: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

กระทรวงศึกษาธิการ ดร.สิริกร มณีรินทร อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ และประธาน

กรรมการวิทยาลัยชุมชน ดร.รุง แกวแดง อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ รองศาสตราจารย

ดร.วรากรณ สามโกเศศ อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน รัฐมนตรี

ชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ศาสตราจารยนายแพทยวิจารณ พานิช ประธานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา ดร.ชุมพล พรประภา รองประธานกรรมการวิทยาลัยชุมชน ศาสตราจารยพิเศษ ดร.ภาวิช

ทองโรจน อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดร.กฤษณพงศ กีรติกร อดีตเลขาธิการ

คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดร.สุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งสำนัก

บริหารงานวิทยาลัยชุมชนมีความประทับใจ รำลึกถึง และขอบพระคุณอยางสูงในความกรุณาของทาน

หวังวาหนังสือชุดนี้ จะชวยเพิ่มความเขาใจใหกับผูมีสวนรวมกับกิจการของวิทยาลัยชุมชน สามารถ

นำไปบูรณาการเพ่ือสรางสรรควิทยาลัยชุมชนใหมีคุณคาตอไป

สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 6: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เกริ่นนำ หนังสือ “คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน” เปนผลงานเรียบเรียงปาฐกถา นโยบาย บทความ

และความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ ผูบริหารระดับสูง และฝายนโยบาย ที่ใหไวแกชาววิทยาลัยชุมชน ตั้งแต

ชวงป 2545 - ปจจุบัน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อเผยแพรโอวาท ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพื่อพัฒนาการ

ดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชนที่ทานเหลานั้นไดเมตตามอบใหแกชาววิทยาลัยชุมชน

หนังสือชุด “คมทัศน : ทางวิวัฒนวิทยาลัยชุมชน” แบงการจัดพิมพออกเปน 2 เลม โดยคณะ

บรรณาธิการไดคัดสรรขอคิดเหลานั้นนำเสนอในรูปแบบ “วรรคทอง” หรือ “คมทศัน” ที่สามารถหยิบมาอาน

เมื่อไรก็ไดประโยชน และทันสมัยอยูตลอดเวลา

หลกัเกณฑในการคดัสรรคือ เปนปาฐกถา นโยบาย บทความและความคิดเห็นทีส่ะทอนใหเหน็แนวคดิ

ปรัชญา และบทบาทการจัดการศึกษาในรูปแบบท่ีเปนเอกลักษณของวิทยาลัยชุมชนในการเติมเต็มการศึกษา

หรือเปนทางเลือกในระบบอุดมศึกษาของไทย

เลมแรก นำเสนอ “คมทัศน” ของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ใน

ฐานะผูกอตั้งวิทยาลัยชุมชน ซึ่งเปยมดวยปรัชญาแนวคิดอันลึกซึ้งรอบดานของทาน ในประการสำคัญ

เนื่องจากทานเปนท้ังผูริเร่ิมกอตั้งวิทยาลัยชุมชน และยังไดเมตตาสนับสนุนงานของวิทยาลัยชุมชนมาอยาง

ตอเนือ่งยาวนานเกือบทศวรรษ ขอคดิของทานจงึสะทอนใหเหน็ถงึพฒันาการของวิทยาลัยชมุชนไดเปนอยางดี

ซึ่งชาววิทยาลัยชุมชนตางนอมนำมาเปนหลักชัยในการดำเนินงาน และการประพฤติปฏิบัติทั้งในการทำงาน

และในวิถีชีวิตสวนตัวมาจนถึงปจจุบัน

5คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 7: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เลมสอง เปนการนำเสนอ “คมทัศน” ของฝายนโยบาย ผูทรงคุณวุฒิ และผูบริหารระดับสูงใน

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผูซึ่งเปนกัลยาณมิตรคอยใหคำแนะคำ ผลักดัน และสานตอการ

ดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชนใหเขมแข็งจนถึงทุกวันนี้

ประสบการณและแนวคิดของผูทรงวุฒิในหนังสือทั้งสองเลม เปรียบเสมือนดั่งอัญมณีที่ล้ำคา คณะ

บรรณาธิการพยายามเลือกสรรขอคดิทางปญญาท่ีกระชับมานำเสนอ เพือ่จดุมุงหมายในการสรางแรงบันดาลใจ

แกผูอานเปนสำคัญ แตดวยขอจำกัดทางสติปญญาและเวลาของคณะบรรณาธิการผูรวบรวม จึงอาจศึกษา

ผลงานอันทรงคุณคาเหลานั้นยังไมลึกซึ้งพอ การคัดสรรมาเผยแพรนี้หากมีขอบกพรอง คณะบรรณาธิการ

ใครขอนอมรับไว หากทานสนใจศึกษาขอคิดและผลงานฉบับสมบูรณ โปรดศึกษาจากขอมูลในแหลงอางอิง

ทายเลม หรือติดตอสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนไดโดยตรง

คณะบรรณาธิการ

สิงหาคม 2552

6 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 8: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“วิทยาลัยชุมชนแมเปนภาคสวนใหมของระบบการศึกษาไทย แตเปนภาคสวนที่จำเปนมาก เปรียบเสมือนสะพาน

ที่เช่ือมระหวางระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กับระดับอุดมศึกษา”

7คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 9: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

8 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี สำเร็จการศึกษาระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลายท่ีโรงเรียนปรินสรอยแยลสวิทยาลัย จากน้ันศึกษาตอที่คณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกา

เริ่มรับราชการที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในป 2511 จนกระทั่งไดดำรง

ตำแหนงอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหมในป 2532-2535 เปนผูริเริ่มการสงนักศึกษาแพทยไปอยูรวม

กับชาวไทยภูเขาเพื่อใหสัมผัสกับวิถีชีวิตและความยากลำบากของประชาชนในถิ่นทุรกันดาร ถือไดวา

เปนผูมีสวนสำคัญในการจุดประกายการสรางแพทยชนบทขึ้นในประเทศไทย

จากนั้นไดดำรงตำแหนงรองปลัดทบวงมหาวิทยาลัย และปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ตามลำดับ

ในป 2544 ดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนผูรเิริ่มและผลักดันการจัด

ตั้งวิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยจนสำเร็จ เปนผูใหการสนับสนุนการดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชน

ตั้งแตกอตั้งจนถึงปจจุบัน

ไดรับพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหดำรงตำแหนงองคมนตรีเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม

พ.ศ. 2544

ประวัติโดยสังเขป ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

ราระดับ

Page 10: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

9คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

ทามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ และสังคม หลังยุคฟองสบูแตกในป 2540 ศาสตราจารยเกียรติคุณ

นายแพทยเกษม วัฒนชัย หนึ่งในนักบริหารการศึกษาที่มีประสบการณทำงานและบริหารองคกรระดับชาติ

ไดครุนคิดถึงแนวทางการจัดระบบการศึกษาในรูปแบบใหมเพื่อเปนทางเลือกของการศึกษาระดับอุดมศึกษา

สำหรับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนกวาคอนประเทศ และหาทางผลักดันไปสูนโยบายจนกระท่ังประสบ

ความสำเร็จ ไดรับการยอมรับเปนนโยบายทางการศึกษาของรัฐบาลในป 2544

“วิทยาลัยชุมชน” จึงเปนหนึ่งในนโยบายการศึกษาที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภาเมื่อ พ.ศ.2544 วาจะ “จัด

ใหมวีทิยาลยัชมุชนขึน้โดยเฉพาะในจงัหวดัทีย่งัขาดแคลนสถาบนัอดุมศกึษา” นบัจากนัน้ งานของวทิยาลยัชมุชน

ยุคใหมจึงเริ่มตนขึ้น โดยมี ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย รัฐมนตรีวาการกระทรวง

ศึกษาธิการ เปนผูวางรากฐานจนถึงปจจุบัน

แมวา ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย จะดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวง

ศึกษาธิการไมนานนัก แตภายในระยะเวลาอันสั้น ทานไดวางฐานรากใหแกการจัดต้ังและบริหารงานวิทยาลัย

ชุมชนเปนอยางดี และแมกระทั่งพนจากตำแหนงดังกลาวแลว ทานก็ยังใหการอนุเคราะหสนับสนุนงานของ

วิทยาลัยชุมชนอยางสม่ำเสมอตราบกระท่ังปจจุบัน

ศาตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย ผูวางรากฐาน วิทยาลัยชุมชน

Page 11: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ทามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ และสังคม หลังยุคฟองสบูแตกในป 2540 ศาสตราจารยเกียรติคุณ

นายแพทยเกษม วัฒนชัย หนึ่งในนักบริหารการศึกษาที่มีประสบการณทำงานและบริหารองคกรระดับชาติ

ไดครุนคิดถึงแนวทางการจัดระบบการศึกษาในรูปแบบใหมเพื่อเปนทางเลือกของการศึกษาระดับอุดมศึกษา

สำหรับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนกวาคอนประเทศ และหาทางผลักดันไปสูนโยบายจนกระท่ังประสบ

ความสำเร็จ ไดรับการยอมรับเปนนโยบายทางการศึกษาของรัฐบาลในป 2544

“วิทยาลัยชุมชน” จึงเปนหนึ่งในนโยบายการศึกษาที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภาเมื่อ พ.ศ.2544 วาจะ “จัด

ใหมวีทิยาลยัชมุชนขึน้โดยเฉพาะในจงัหวดัทีย่งัขาดแคลนสถาบนัอดุมศกึษา” นบัจากนัน้ งานของวทิยาลยัชมุชน

ยุคใหมจึงเริ่มตนขึ้น โดยมี ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย รัฐมนตรีวาการกระทรวง

ศึกษาธิการ เปนผูวางรากฐานจนถึงปจจุบัน

แมวา ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย จะดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวง

ศึกษาธิการไมนานนัก แตภายในระยะเวลาอันสั้น ทานไดวางฐานรากใหแกการจัดต้ังและบริหารงานวิทยาลัย

ชุมชนเปนอยางดี และแมกระทั่งพนจากตำแหนงดังกลาวแลว ทานก็ยังใหการอนุเคราะหสนับสนุนงานของ

วิทยาลัยชุมชนอยางสม่ำเสมอตราบกระท่ังปจจุบัน

ในสายตาและการรับรูของชาววิทยาลัยชุมชน ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย จึง

เปนเสมือนผูกอตั้งวิทยาลัยชุมชน ที่ไดใหแนวทางการทำงาน และขอแนะนำตางๆ ที่เปนประโยชนอยางย่ิง

ตอการดำเนนิงานของวทิยาลยัชมุชน ซึง่สะทอนใหเหน็อยางเดนชดัจากปาฐกถา คำบรรยาย และโอวาท ทีท่าน

ไดใหแกชาววิทยาลัยชุมชนในโอกาสตางๆ ดังไดคัดสรร “คมทัศน” ของ “กัลยาณมิตร” ชาววิทยาลัยชุมชนทานนี้มานำเสนอไวดังนี้

10 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 12: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...วิทยาลัยชุมชนคืออะไร ผมถามคำถามน้ีในหองน้ีเมื่อ 6 – 7 ปที่แลว ทำไมตอง

ถามคำถามนี้อีก ผมตองถามบอยๆ เพราะวามีคนสับสน เขาใจผิดระหวางวิทยาลัยชุมชน

กับมหาวิทยาลัยอื่นบาง วิทยาลัยชุมชนกับการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) บาง วิทยาลัย

ชุมชนกับอาชีวะบาง เหมือนกันหรือไมเหมือนกันอยางไร ตองตอบใหได ไมงั้นจะเกิดความ

สับสนและเขาใจผิด

วิทยาลัยชุมชนนี้ตั้งขึ้นมาบนพื้นฐานที่เชื่อวามนุษยทุกคนมีศักดิ์ศรีและสามารถ

พัฒนาไดถึงจุดสูงสุดถาใหโอกาสเขาเรียนหนังสือ วิทยาลัยชุมชนมีความเช่ือวา มนุษย

ทุกคนมีศกัดิ์ศรีและมีความสามารถท่ีจะพัฒนาตัวเองไดตลอดเวลาถาใหโอกาสเขา

ปญหาของระบบการศึกษาทั่วโลกคือ โอกาสทางการศึกษาไปไมทั่วถึง ไปเฉพาะ

อำเภอใหญ จังหวัดใหญ เมืองใหญ และเมืองหลวงเทาน้ัน ไปเฉพาะประเทศท่ีเจริญแลว

ประเทศที่ยากจนโอกาสทางการศึกษาไปไมถึง นี่คือปญหาใหญ ซึ่งหลายประเทศเขาพบ

ปญหานี้มากอนเรา เพราะฉะนั้นเขาจึงไดออกแบบวิทยาลัยชุมชนเพื่อเปนจุดที่จะใหโอกาส

กับคนตัวเล็กตัวนอย ไมมีอิทธิพลอะไร ไมมีความร่ำรวยอะไร เพราะถามีอิทธิพลมีความ

ร่ำรวยก็จะไปเรียนที่เมืองใหญๆ เรียบรอยแลว แตนี่คือการใหโอกาส ถามีโอกาสเขาเรียน

อะไรก็ไดครับ ครั้งหนึ่งในชีวิตวิทยาลัยชุมชนมาใหโอกาส...” เมษายน 2552

“…วิทยาลัยชุมชนจะไปจัดสถานท่ีเรียนใหใกลกับคนเรียนท่ีสุด คนเรียนอยูอำเภอ

ไหนก็ไปจัดท่ีอำเภอน้ัน นี่คือเจตนารมณของวิทยาลัยชุมชน ที่ตองการใหชุมชน ประชาชน

ทุกระดับชั้นไดเรียนหนังสือ ถาอยากเรียนแลวตองไดเรียน ทำใหเรียนใหจบ และตองได

เรียนอยางมีคุณภาพดวย…” มิถุนายน 2549

11คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 13: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...เรามีนโยบายในการกำหนดคาหนวยกิตต่ำมากๆ คาหนวยกิตเราต่ำท่ีสุดใน

ประเทศไทย เพราะอะไร เพราะอยากใหทุกคนเขามาเรียนหนังสือ และเมื่อคาหนวยกิตต่ำ

คนจนมาเรียนแลว ผูบริหารจะตองจัดระบบการบริหารวิทยาลัยชุมชนใหโปรงใส จะตอง

ไมมีการทุจริตคอรัปชั่นใดๆ ทั้งสิ้น” มีนาคม 2552

“...ขาดทุนในที่นี้ก็คือวา บางคร้ังสภาฯ ก็ตองลงมติเกี่ยวกับการลงทุน ผลกำไรคือ

นักศึกษา นักเรียนไดประโยชน ประชาชนไดประโยชน ในการฝกอบรมบางโครงการ

อาจจะตองขาดทุนนิดหนอย เพ่ือคนจนบางคนท่ีเขาไมมีเงินจายคาอบรม บางโครงการ

อบรมใหคนรวย เก็บใหมากหนอยเพื่อใหไดกำไร บางโครงการตองยอมขาดทุน เพราะ

มิฉะนั้นคนจนจะไมไดเรียน โดยรวมแลววิทยาลัยชุมชนมิไดตองการร่ำรวยจากการเก็บเงิน

แตเราตองเฉลี่ยเพราะลูกคาเรามีหลายระดับ ขาดทุนคือกำไร...” สิงหาคม 2550

“วิทยาลัยชุมชนอยูบนฐานท่ีไมใชองคกรเพ่ือผลประโยชน แตเปนองคกรสาธารณะ เปนหนวยงานการศึกษา เพราะฉะน้ันการตัดสินใจเปดหลักสูตรอะไร จะทำอะไรก็ตาม ใหยึดหลักประหยัด เรียบงาย ประโยชนสูงสุด ซ่ึงนาจะ

เปนคาถาของวิทยาลัยชุมชนท่ัวประเทศ”

12 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 14: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...ถามวานักเรียนวิทยาลัยชุมชนอายุเทาไหร คนเรียนวิทยาลัยชุมชน อายุตั้งแต

สิบเจ็ดถึงเจ็ดสิบแปดสิบ นักศึกษาของเราท่ีรับอนุปริญญาไปแลวอายุ 70 กวาก็มี ตอนน้ี

ไมทราบวาไปเรียนหนังสือที่ไหนตอ

วิทยาลัยชุมชนหยิบยื่นโอกาสใหกับคนตัวเล็กตัวนอย ไมวาจะอยูอำเภอหางไกล

เพียงใด หรือที่ไหนก็ไดที่เขาอยากเรียนหนังสือ เขาตองไดเรียน เพราะฉะน้ันคาหนวยกิตเรา

ตกลงกันทั่วประเทศ คาหนวยกิตของวิทยาลัยชุมชนจะตองถูกที่สุด ไมอยากใหคาหนวยกิต

เปนเครื่องกีดขวางไมใหคนเขาสูการศึกษาระดับนั้น เปนขอที่เราคิดมาก

เรื่องท่ีสอง เมื่อเราเรียนถูกๆ คาใชจายจะพอหรือ เราบอกวาไมเปนไร เราอาศัยการ

บริหาร การสรางเครือขาย เราจะไมสรางตึกเอง แตเราจะไปใชโรงเรียนโนน โรงเรียนน้ี

เมื่อสักครูผูอำนวยการโรงเรียน ผูอำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่ ไดรับโลหขอบคุณจากเรา

โลหไมกี่ตังค แตเปนโลหน้ำใจ เพราะเราเก็บเงินถูกมาก เราไมมีปญญาไปจางอาจารย

แพงๆ เราไมมีปญญาจะไปสรางตึกและหาเครื่องไมเครื่องมือใหญโต เพราะฉะนั้นสิ่งที่เรา

ทำคือเอาน้ำใจเขาแลก เราไปขอความรวมมือทั่วจังหวัดเลย ทุกอำเภอเลย ไปต้ังศูนยการ

เรียนรู ศูนยการศึกษาไวทั่ว ทุกคนใหหมด เขาเห็นประโยชนอะไรจึงใหความรวมมือกับ

เรา…” เมษายน 2552

13คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 15: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“ความสำเร็จที่เกิดขึ้นของวิทยาลัยชุมชน ไมไดมาจากผลงานของใครคนใดคนหน่ึง แตมาจากความรวมมือของทุกทานภายในจังหวัดนั้นๆ ที่มั่นใจและเช่ือวา วิทยาลัยชุมชนเดินทางไปอยางถูกตองตามครรลองครองธรรม”

“…ภาพลักษณของวิทยาลัยชุมชนข้ึนอยูกับการพิสูจนตัวเอง วิทยาลัยชุมชนเปน

ทางออกของประเทศในการยกระดับการศึกษาของประเทศใน 5 - 10 ปขางหนา วิทยาลัย

ชุมชนจะเปนหนวยรองรับการเปล่ียนแปลงนโยบายทางการจัดการศึกษาตามรัฐธรรมนูญ

(ตามมาตรา 43) รวมท้ังนโยบายการเปล่ียนแปลงอุดมศึกษา และจะเปนที่พึ่งของผูที่จบ

ม. 6 ตามอำเภอตางๆ…” มกราคม 2549

14 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 16: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“อยากเห็นการขยายตัวของวิทยาลัยชุมชนใน 2 – 3 ทิศทาง ประการแรก คือ การ

ขยายตัวของวิทยาลัยชุมชนใหปูพรมไปทุกพื้นที่ ไมอยากใหมีจังหวัดใดไมมีวิทยาลัยชุมชน”

ประการท่ีสอง คือ “ควรหาเครือขาย ไมวาจะเปนกระทรวงแรงงาน กศน. อาชีวะ

มหาวิทยาลัย องคกรปกครองสวนทองถ่ิน สวนภูมิภาค ประชาชน วัด โรงเรียนตางๆ ซึ่งเปน

เครือขายที่พิเศษที่สุด ที่ควรจะยื่นมือไปขอความรวมมือในการจัดการเรียนการสอนของ

วิทยาลัยชุมชนในชุมชน”

มิถุนายน 2548

“วิทยาลัยชุมชนเปนการศึกษาของประชาชน บริหารจัดการโดยประชาชน และจัดตาม

ความตองการของประชาชน” นี่เปนปรัชญาสำคัญ ไมทราบวาปรัชญาน้ีจะยืนไปไดนาน

สักเทาใด ขึ้นกับทางการเมือง ปรัชญาของเราขณะน้ีเปนระบบเดียวที่การสรรหาผูอำนวยการ

วิทยาลัยชุมชนทำกันโดยผูแทนประชาชนในจังหวัดมาเปนกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ไมตอง

สั่งมาจากกรุงเทพฯ อีกตอไปแลว หลักสูตรเกิดขึ้นจากทองถ่ินชวยกันคิดวา จะสรางผูจบการ

ศึกษาอยางไร ประเภทไหนดี เพื่อความสอดคลองกับความตองการทองถิ่น เปนระบบการ

ศึกษาระบบเดียวเทานั้นในประเทศไทยที่ทำไดแบบนี้ โรงเรียนเทศบาลยังทำไมไดเลย ...แต

วิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยคิดเองไดหมดเลย จะสรางหลักสูตรอะไรไมมีใบส่ังมาจากสวนกลาง

ที่ สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) ไมมีสิทธิ์ไปบอกทานวา เปดหลักสูตรนี้

ปดหลักสูตรนี้ ไมมีสิทธ์ิเปด แลวสิทธ์ิไปอยูที่ไหน สิทธิ์อยูที่สภาวิทยาลัยชุมชน หรือคนใน

จังหวัดชวยกันคิดแลวเสนอสภาฯ”

กันยายน 2548

15คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 17: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...ขณะน้ีมีวิทยาลัยชุมชน 19 แหง และยังมีอีกหลายจังหวัด ขอเปด ถาผมเปนฝายการเมือง ผมใหเปด 76 จังหวัดรวมท้ังกรุงเทพฯ ดวย เพราะมีประโยชนสำหรับคนจน เปดคร้ังแรกลงทุนจังหวัดละ 5 ลานบาท 10 จังหวัดก็ 50 ลานบาท 100 จังหวัด 500 ลานบาท ประเทศไทยมีแค 76 จังหวัด แลวทำไม

ไมเปด ทำไมไมใหโอกาสคนจน”

“…ในระบบอุดมศึกษาของทุกประเทศโดยเฉพาะทางตะวันตก จะมีกลุมที่เรียกกันวา

“วิทยาลัยชุมชน” สอนอนุปริญญาและวิชาชีพพื้นฐานท่ีอาชีวศึกษาไปไมถึง ไมครอบคลุม

ทุกพื้นที่ หรือบางอยางไมไดทำ เชน วิชาลับมีดกรีดยางพารา ฯลฯ เขาทำไมได วิทยาลัย

ชุมชนจะเขาไปทำ บางชางอาชีวะอาจทำ แตไปไมถึงพื้นที่บางอำเภอ วิทยาลัยชุมชนจะเขาไป

ทำใหครบพื้นท่ี วิทยาลัยชุมชนจะปูพรมใหครบจนหมดทุกพื้นที่ของประเทศ นี่เปนหลักทั่วไป...” มิถุนายน 2550

16 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 18: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...การสรางศูนยการเรียนรูในอำเภอตางๆ ในจังหวัดเรา วิทยาลัยชุมชนอยากให

คนจน คนท่ีติดภาระ เรียนใกลบานมากท่ีสุด หลักของเราอยูตรงน้ัน ถาทำไดเราจะสงครู

ไปสอนใกลบาน เชน เปดจุดการเรียนทุกอำเภอ โดยเฉพาะอำเภอไกลๆ ยิ่งตองไปเปด

จุดการเรียนใหเขา ตองใหโอกาสเขา เวลาจะไปเปดจุดการเรียนรูตามอำเภอตางๆ แตละ

อำเภอ มคีวามแตกตางกันท้ังทางดานภมูศิาสตร สงัคมศาสตร เราตองนึกถึงความแตกตาง

มิใชวาจะสรางกระทอมแลวออกแบบกระทอมเหมือนกันหมด สำหรับเปนศูนยการเรียนรู

ทุกอำเภอ ตองหาความเหมาะสมเฉพาะของอำเภอท่ีจะไปสรางศูนยการเรียนรูนั้น…”

สิงหาคม 2550

“...วิทยาลัยชุมชนนอกจากจะเปดโอกาสใหผูคนไมวาจะอยูในอำเภอใหญ อำเภอ

เล็ก เขาสูอุดมศึกษา เขายังมีหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งเปดสอนเพ่ือพัฒนาสังคม พัฒนา

คุณธรรม พัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะ พัฒนาสุขภาพ ทุกดาน แลวแตชาวตราดอยากได

ความรูอะไรบอกมา วิทยาลัยชุมชนจะเปนตัวกลางเปดให เปนหลักสูตรระยะส้ัน จะสั้นมาก

หรือสั้นนอยแลวแตเนื้อหาหลักสูตรท่ีเราอยากได...” มกราคม 2552

17คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 19: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...คนขาดโอกาสทางการศึกษา ณ วันนี้ ทำงานไปกอน ทำงานราคาถูกๆ ที่ไหนก็ได

คาจางถูกๆใหอยูรอดไวกอน และตอนน้ีมีโอกาสทองแลว มีวิทยาลัยชุมชนมาตอยอดให

ไดทักษะอาชีพ ไดเปนคนดี ไดความรู ก็คอยๆ พัฒนาตัวเองหารายไดเพิ่มขึ้น เสร็จแลว

ก็สามารถไปตอปริญญาตรี และอาจตอโท เอกได เปนการพัฒนาอยางตอเนื่อง สำหรับปจเจก

สำหรับครอบครัว สำหรับชุมชน ถาคนทั้งจังหวัด โดยเฉพาะท่ียากจนเปนคนสวนใหญของ

จังหวัด มีโอกาสไดตอยอดอยางนี้ไปเรื่อยๆทุกป ทุกป ก็จะกลายเปนจังหวัดที่เขมแข็ง ทั้งทาง

ดานเศรษฐกิจและสังคม จึงขอฝากไว คุณคาของวิทยาลัยชุมชนถามองใหลึกซ้ึงมีมากและกวาง

ใหทำตอเนื่องและทำใหดี…” มิถุนายน 2550

“ชีวิตเราท้ังชีวิตเราไมไดทำอาชีพเพียงอาชีพเดียว เราสามารถจะเขามาเรียนวิทยาลัยชุมชน

เพ่ิมสาขาอาชีพที่สอง ที่สาม ตามความตองการของสังคมและเศรษฐกิจของท่ีนั่น…”

นนี้ ทำงานไปกอน ทำงานราคาถูกๆ ท่ีไหนก็ได

อกาสทองแลว มีวิทยาลัยชุมชนมาตอยอดให

อยๆ พัฒนาตัวเองหารายไดเพ่ิมข้ึน เสร็จแลว

พพชนม

…”

18 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 20: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...การลดแรงกดดันที่ตองขึ้นคาเลาเรียน (reducing the rate of tuition increase)

ถาเราทำ cost containment ดี และจัดสรรทรัพยากรใหมมาได มันก็ลดแรงกดดันที่ตองขึ้น

คาเลาเรียนแกเด็ก เด็กก็ไมตองไปแบกรับ มันงายถาสภาจะไมสนในการบริหารอะไรเลย แลว

ก็บอก ปที่แลวขาดทุน ปนี้ขอขึ้นคาเลาเรียน ภาระก็ไปอยูที่ผูเรียนรุนใหม แตถาเรา

มาพิจารณากันอยางนี้ ทำใหการบริหารจัดการชัดขึ้น จะลดแรงกดดันที่จะขึ้นคาเลาเรียน

แกผูเรียน ก็จะตรงตามปรัชญาของเรา...” มิถุนายน 2549

“...ที่แคลิฟอรเนียมีอุตสาหกรรมสรางเคร่ืองบิน สงไปขายท่ัวโลก อุตสาหกรรม

เครื่องบินมีขึ้น มีลง พวกที่ทำงานมักจบปริญญาเอกดานวิศวการบิน วิศวอากาศยาน ชวงไหน

ก็ตามถาการส่ังซื้อเครื่องบินตกทั่วโลก ตองเอาคนออกและวางงาน คนเหลาน้ีจบปริญญาเอก

แตไปเขาเรียนวิทยาลัยชุมชนในสาขาท่ีขาดคนอยู วิทยาลัยชุมชนรับตั้งแตจบมัธยมปลาย

ปริญญาตรีจบปริญญาโท ปริญญาเอก ก็ไปเรียนได ไปเรียนสาขาใหม สัก 4-5 ป พอ order

เครื่องบินเพ่ิมขึ้นอีก เราก็ตองไปสอบเขาไปทำงาน หมายความวา ชีวิตเราท้ังชีวิตเราไมไดทำ

อาชีพเพียงอาชีพเดียวเราสามารถจะเขามาเรียนวิทยาลัยชุมชน เพ่ิมสาขาอาชีพที่สอง ที่สาม

ตามความตองการของสังคมและเศรษฐกิจของท่ีนั่น…” กุมภาพันธ 2552

ถาเราทำ

คาเลาเรีย

ก็บอก ป

มาพิจาร

แกผูเรียน

เครื่องบิน

19คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 21: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...ปจจุบัน “คนไทยท่ีจบมัธยมศึกษาตอนปลายและเขามหาวิทยาลัยไดนั้นมีเพียง

1 ใน 4 เทานั้น อีก 3 ใน 4 ไปไหน...เพราะวาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไมไดเนนสอน

ทักษะอาชีพ แตเปนสายสามัญ” ดังนั้นเพื่อเอื้อใหกับคนไทย 3 ใน 4 ที่เหลือ วิทยาลัยชุมชน

จึงเกิดขึ้น สามารถสรางโอกาสใหกับผูจบมัธยมศึกษาตอนปลายตามอำเภอตางๆ ในแตละ

จังหวัดเขามาสูระดับอนุปริญญา เปนการเตรียมคนเขาสูอาชีพไดเลย และตอบสนอง

การพัฒนาทองถ่ิน แทนการผลักดันเด็กเขาไปอยูในเมืองใหญๆ จะทำอยางน้ีได วิทยาลัย

ชุมชนตองบริหารโดยชุมชน...” วิทยาลัยชุมชนเปนระบบการศึกษาที่เชื่อมโยงกับระบบ

การศึกษาอื่นๆ ดังนี้

1. เปนสะพานเช่ือมระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการศึกษาระดับปริญญา เช่ือม

ไดมากท่ีสุด ทำไดมากท่ีสุด ในแตละจังหวัด แตละอำเภอ มีโรงเรียนมัธยม 1 - 2 แหง

บางอำเภอมากกวา 2 แหง เด็กจบ ม. 6 แลวไปเขามหาวิทยาลัยไมไดทุกคน เพราะความ

ยากจน เพราะมีจำนวนรับจำกัด และอ่ืนๆ ถาไมมีวิทยาลัยชุมชน เขาจะเควงควาง รับจาง

สงยาบา ไปทำสิ่งผิดกฎหมาย ที่ผานมาไมเคยเรียนวิชาไถนาจากปู ยา ตา ยาย หรือถา

20 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 22: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เรียนก็นอยมาก ทำใหขาดการเรียนรู ทักษะ ภูมิปญญาชาวบาน ทักษะทำกับขาว ฯลฯ

เพราะระบบการศึกษาไปพรากลูก/หลานจากการเรียนรูในวัด ในบาน ในชุมชน แตถูก

จับมาใสในโรงเรียน 12 ป เรียนจันทรถึงศุกร เทานั้น

ที่ตางประเทศจึงไดจัดวิทยาลัยชุมชนข้ึนมา เพื่อรองรับใหศึกษาตอขึ้นไปอีก เปน

สะพานเช่ือมระหวางระบบการศึกษา การฝกอบรม กับโลกของการทำงาน เพราะฉะน้ัน

วิทยาลัยชุมชนตองเนนตรงนี้อยางมาก ในหลักสูตรตองเนนตรงน้ี

2. เปนสะพานเชื่อมระหวางหลักสูตรกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจ

ในชุมชน เพราะหลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตองเปดเร็ว ปดเร็ว ตามความตองการของชุมชน

หลักสตูรตองพัฒนาไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ทั้งเศรษฐกิจและสังคม “ มิถุนายน 2548

“...จัดวิทยาลัยชุมชนข้ึนมา เพื่อรองรับใหศึกษาตอ ขึ้นไปอีก เปนสะพานเช่ือมระหวางระบบการศึกษา

การฝกอบรม กับโลกของการทำงาน…”

21คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 23: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ที่สำคัญ อยาเปล่ียนสถานภาพวิทยาลัยชุมชน ไปสอนปริญญาตรีโดยเด็ดขาด... ถาไปสอนปริญญาตรีเม่ือใด จะดูดทรัพยากร ทั้งเวลา คน เงิน และจะเลิกทำหนาท่ีวิทยาลัยชุมชน

ไปโดยอัตโนมัติ

22 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 24: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“…การกำหนดหลักสูตร ตองมาจากความตองการและสอดคลองกับลักษณะของการ

พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของทองถิ่น ที่สำคัญ อยาเปล่ียนสถานภาพวิทยาลัยชุมชนไปสอน

ปรญิญาตรีโดยเด็ดขาด...เมือ่ใดก็ตามท่ีวทิยาลัยชมุชนยกฐานะตัวเองข้ึนไปสอนระดับปริญญาตรี

จะทำใหลดการตอบสนองตอชุมชนไปทันที ในขณะเดียวกัน วิทยาลัยชุมชนนาจะตกลงกับ

มหาวิทยาลัยในทองถ่ินเพ่ือจะไดตอยอดจากอนุปริญญาไปสูปริญญาตรีในสาขาน้ัน...ความ

รวมมอืระหวางวทิยาลัยชมุชนกบัมหาวิทยาลยัควรมรีปูแบบกิจกรรมทีจ่ะสงเสรมิกันทีห่ลากหลาย

เพื่อประโยชนของผูเรียนและการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน

…ไมอยากเห็นวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี อยาไดทำ ถาไปสอนปริญญาตรีเม่ือใด

จะดูดทรัพยากร ทั้งเวลา คน เงิน และจะเลิกทำหนาที่วิทยาลัยชุมชนไปโดยอัตโนมัติ ประโยชน

จะไปตกกับคนท่ีจบปริญญาตรี เรียนปริญญาตรีที่ไหน ขณะน้ีที่ตั้งมหาวิทยาลัยหลัก 170 กวา

แหง และยังมีที่ไปสอนในท่ีตางๆ ตามสาขาอีก 300 สาขารวมท้ังหมด 500 - 600 แหง มีที่

เรียนปริญญาตรีมากมาย แตปญหาคือ หลังเรียนจบ ม. 6 แลว คนสวนหน่ึงไมรูจะไปไหน

ยังมีจำนวนมากในจังหวัดท่ีวิทยาลัยชุมชนรับผิดชอบอยู อยาใหวิทยาลัยชุมชนไปรับใชคนกลุม

นอย แลวทำใหคนกลุมใหญเสียโอกาส ...จะกลายเปนทำลายโอกาสพวกตาดำๆ ที่จบ ม.6 แลว

เควงควางไปมา

...ตองทำความเขาใจใหชัดเจนวา วิทยาลัยชุมชนจะไมกลายไปเปนมหาวิทยาลัย เปรียบ

วิทยาลัยชุมชนเปนโรงงานทำจักรยานถีบที่ดีมาก แลวอยูๆ อยากจะทำสิบลอขึ้นมา ขออยาคิด

อยางนั้น เพราะสิบลอนั้นมีคนอื่นเขาทำแลว วิทยาลัยชุมชนมาทำจักรยานถีบนี่แหละ ทำใหดี

เปดระยะสั้นเพ่ือการประกอบอาชีพ เพื่อทักษะในการบริหารจัดการ เพ่ือสังคม วัฒนธรรม

สิ่งแวดลอม และก็เพื่อทักษะทางดานคุณธรรมจริยธรรม เราทำได …” มิถุนายน 2549

23คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 25: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...จุดออนของอุดมศึกษาไทย ไมสนใจเร่ืองหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

ไปสนใจอะไรก็ไมทราบ ไปเลาะขอบรอบๆ นอก ไปเสียเวลาบริหารอุดมศึกษามาก แต

ไมสนใจบริหารหลักสูตร” กันยายน 2548

“...สภาวิทยาลัยชุมชน ทานผูอำนวยการ ทานผูบริหาร มีหนาที่ตองหารือกันทุกป

ตองตั้งคำถามวาหลักสูตรท่ีสอนปที่แลว หลักสูตรไหนพอแลว เราจะปดก็ปด หลักสูตร

เหลานี้ เปดอยูแลวยังจำเปนอยูก็เปด หลักสูตรไหนยังไมไดปด แสดงวายังมีเสียงเรียกรอง

จากผูวา เสียงเรียกรองจากหอการคา เสียงเรียกรองจากองคการปกครองสวนทองถิ่น

เพราะนั้นความคลองตัว และการตอบสนองจากจังหวัดสูงมาก วิทยาลัยชุมชนนั้นคลองตัว

มาก แลวก็ตอบสนองตอจังหวัดมาก สูงที่สุดในจำนวนประเภทของสถานศึกษาดวย...” กุมภาพันธ 2552

“...หลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนตอบสนองตอทองถ่ิน เปดงายปดงาย หลักสูตร

การศึกษาปฐมวัยถาเราใหการศึกษาไปจนครบแลว ศูนยเด็กเล็ก ศูนยปฐมวัยมีครบแลว

“หัวใจที่จะทำใหวิทยาลัยชุมชน เขมแข็งคือ หลักสูตรและการจัด

การเรียนการสอน ไมใชเร่ืองอื่นเลย”

24 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 26: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เราก็ปด ทางวิทยาลัยชุมชนสตูลไดเอาตัวอยางหลักสูตรอาชีพระยะสั้น สำหรับชาวเล

สำหรับแมบานมุสลิม หลักสูตรเหลานั้นไมใชกรรมการสภาคิดเอง ไมใชผูอำนวยการ

คิดเอง ไมใชอาจารยผูสอนคิดเอง หลักสูตรเหลาน้ันเกิดจากความตองการของชุมชน

ผมเลยเรียนกับกรรมการสภาทุกแหงทุกป เราตองประเมินหลักสูตรของเราวา หลักสูตร

นี้ปนี้มีคนมาเรียนก่ีคน แลวก็นอยลงไหม ถานอยลงถึงจุดหน่ึง ถามตัวเองวาคิดอะไร

แลวทุกปตองไปถามชาวบานทุกอำเภอวาอยากเรียนอะไรแลวทางเรา เอาการบาน

มาหารือกันในสภา หารือกันในผูบริหาร แลวก็ออกแบบสำหรับหลักสูตรปตอไป เพราะ

หลักสูตรจะเปนอยางไร ก็คือ ใหมอยูเสมอ ตอบสนองอยูเสมอ…” เมษายน 2552

“…หลักสูตรการปกครองสวนทองถ่ิน เปนที่ตองการมาก เปนเพราะวา

การกระจายอำนาจการปกครองไปสูทองถ่ิน การจัดต้ังองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

รัฐบาลไมไดผลิตคนขึ้นมารองรับ มหาวิทยาลัยไมไดเตรียมตัวจึงทำใหผลิตคนไมทัน

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เกิดจากการปฏิรูปการศึกษาจึงทำใหมีการศึกษาต้ังแตวัย

เด็ก บุคลากรท่ีมาเปนครูจึงจบแคมัธยมศึกษาปที่ 6 ซึ่งบางคร้ังขาดความรูความเขาใจ

เด็ก 2-4 ขวบ หลักสูตรปฐมวัยของวิทยาลัยชุมชนจึงเปนที่ตองการ สิ่งที่วิทยาลัยชุมชน

จะตองเนน คือ เรื่องทักษะในหลักสูตร และเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การสราง

Character Education ซึ่งจะทำใหวิทยาลัยชุมชนแตกตางจากหนวยงานอื่น แลวคุณคา

ของผูสำเร็จการศึกษาของวิทยาลัยจะเกิดขึ้น และถือเปนเร่ืองทาทาย…” มกราคม 2549

25คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 27: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...วิทยาลัยชุมชนจะตองคำนึงถึงมาตรฐานขั้นต่ำที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ไดกำหนดใหกับทุกมหาวิทยาลัย ไมควรมีขอยกเวนในเรื่องคุณภาพ ตรงกันขาม วิทยาลัย

ชุมชนจะตองเนนในเรื่องคุณภาพเพื่อใหเกิดความเช่ือมั่นแกประชาชนและผูเรียน และ

ตองตอบคำถามใหไดวา เราจะรักษามาตรฐานอยางไร ใหเปนมาตรฐานระดับชาติ ซึ่งถาทำ

ตรงนี้ได ความเชื่อมั่นของประชาชนกับผูเรียนท่ีมีตอวิทยาลัยชุมชนก็จะตามมา...” มิถุนายน 2548

“วิทยาลัยชุมชนจะตองเนนในเร่ืองคุณภาพ เพ่ือใหเกิดความเช่ือมั่นแกประชาชนและผูเรียน... ตองตอบคำถามใหไดวาเราจะรักษามาตรฐาน

อยางไร ใหเปนมาตรฐานระดับชาติ...”

26 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 28: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...การมีระบบการประเมินการเรียนการสอนท่ีผานมา และมีระบบการวางแผน

การเรียนการสอนในปตอไปสำคัญมาก แตมหาวิทยาลัยสวนใหญไมไดทำกัน โรงเรียนก็

มักจะไมทำ จึงอยากใหวิทยาลัยชุมชนทำมากๆ จะไดพัฒนาขึ้นไปได ขณะนี้ในบาง

มหาวิทยาลัย บางวิชา ครูที่เปนเจาของรายวิชาอยูใครมาแตะตองไมได เปนสมบัติสวนตัว

วิทยาลัยชุมชนอยาปลอยใหเกิดความรูสึกเชนที่วานี้ เราไปเชิญคนนี้มาสอนและไวใจเขามาก

แตไมมีใครมาประเมินเขาเลยซัก 5 ป 10 ป เขาบอกวาวิชาน้ีเปนของเขาแลวใครมาแตะตอง

ไมได ดังนั้น ถาตองการพัฒนาคุณภาพหลักสูตร เรื่องของการประเมินตั้งแตรายวิชา

หมวดวิชา จำเปนตองทำ ถาทำไดรับรองไดหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนจะแนนมาก...” มกราคม 2549

“...ปลูกฝงอะไรใหผูเรียนมาเรียนวิทยาลัยชุมชน” ตองยอมรับวา ผูมาเรียนใน

วิทยาลัยชุมชนเปนผูใหญ เปนผูที่จบมัธยมปลายหรือเทียบเทา 5 ปที่ผานมา นักเรียนของ

วิทยาลัยชุมชนมีอายุตั้งแต 15-71 ป เปนผูใหญแลว อยาไปเช่ือวาไมแกดัดยาก อยูที่วาจะ

ดัดไมแกหรือไม เพราะถาปลอยไมแกไวเปนไมรุงรัง สังคมไทยก็ไปไมไดสักที ควรตัดคำวา

ไมแกดัดยาก ถึงจะดัดยากจริงแตไมใชวาดัดไมได วิทยาลัยชุมชนจะตองดัดทั้งไมออน

ไมแก…” มิถุนายน 2549

27คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 29: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...วิทยาลัยชุมชนตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนท่ีจะเขาไปพัฒนา ใหมีสภาพความพรอมท่ีจะรับการพัฒนา

เสียกอน มิใชนำเอาความเจริญจากท่ีอื่นมาพอก จึงจะตรงกับปรัชญาของวิทยาลัยชุมชน...”

“...เร่ืองการจัดสรางอาคารสถานก็เปนงบประมาณแผนดิน เพราะรายไดเราจาก

ผูเรียน เราตั้งเปาหมายเลยวา เราจะไมเก็บคาเลาเรียนแพง เพราะเราอยากใหคนทุกฐานะ

ไดเขาเรียน จากนโยบายท่ีเก็บเงินแบบนั้นงบประมาณที่จะมาสรางอาคารก็ไมมี ก็ตองขอ

รัฐบาล และรัฐบาลจะไดอะไรคืน พอผลิตคนเกงๆ ขึ้น พวกน้ีเขาหาเงินเกง พอหาเงินเกง

ก็จายภาษีเยอะ รัฐบาลก็ไดภาษีกลับคืน ไมตองกลัวรัฐบาลจะขาดทุน ยิ่งสรางคนเกงมากข้ึน

เทาไหร รัฐบาลก็ไดภาษีมากขึ้นเทานั้น และก็จะไดเอาเงินมาชวยเรื่องของการศึกษา ศาสนา

และเรื่องอื่นๆ ตอไป…” กุมภาพันธ 2552

28 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 30: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยทุกจังหวัดจะมีชุมชนเขามาสนับสนุนงานตลอดเวลา เพราะ

ชุมชนเขาเห็นประโยชน เมื่อใดก็ตามที่ผูบริหารวิทยาลัยชุมชนหันหลังใหชุมชน แลวชุมชนเขา

ไมเห็นประโยชนเขาจะไมมาสนับสนุนอีกเลย เพราะฉะนั้นสภาวิทยาลัย ผูบริหาร อาจารย

นักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนแตละจังหวัดตองยึดมั่นตรงนี้ใหดี ตองใสใจชุมชน ชุมชนมี

ปญหาอะไรเราตองรีบลงไปชวย นอกจากชวยในเรื่องของหลักสูตรอนุปริญญากับหลักสูตร

อาชีพระยะส้ันแลว ถามีเร่ืองอ่ืนเดือดรอนอะไรเราตองลงไปชวย และตองดึงชุมชนเขามาสู

วิทยาลัยชุมชนของเรา ใหเขามีความรูสึกวาเขาเปนเจาของวิทยาลัยชุมชนน้ีเหมือนกับเรา”

“...วิทยาลัยชุมชนตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนท่ีจะเขาไปพัฒนา ใหมีสภาพ

ความพรอมท่ีจะรับการพัฒนาเสียกอน มิใชนำเอาความเจริญจากท่ีอื่นมาพอก จึงจะตรงกับ

ปรัชญาของวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนตองการใหคนในจังหวัดระเบิดความเกงของเขา

ออกมา โดยไมตองการนำความความเจริญจากที่อื่นมาใสในจังหวัด ตองการใหคนในจังหวัด

เราเกงขึ้นจากการผานกระบวนการเรียนรู ตัวอยางหลักสูตรในวิทยาลัยชุมชนท่ีทำใหคน

ในชุมชนระเบิดขึ้นมา เชน หลักสูตรการรับมีดกรีดยางของวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส เดิมตอง

อาศัยคนจากภายนอกจังหวัดมารับมีดกรีดยาง วิทยาลัยชุมชนนราธิวาสจึงพัฒนาหลักสูตร

ทำใหคนในจังหวัดสามารถประกอบอาชีพไดเอง…” สิงหาคม 2551

29คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 31: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...เรื่องวิทยาลัยชุมชนเมื่อเราตั้งเปาหมายวา เปนการศึกษาเพื่อพัฒนาทองถ่ิน

โครงสรางการบริหารก็เลยยกใหประชาชนเขาบริหาร กระทรวงศึกษาเปนผูสนับสนุน ยกใหเขา

ไปเลย เพราะฉะน้ันโครงสรางจะมีสภาวิทยาลัยชุมชนท่ีมีผูหลักผู ใหญจากทองถ่ินซ่ึง

เห็นความสำคัญของการศึกษาอาสาสมัครเขามาไมมีเงินเดือน เสียสละ ที่กรุงเทพฯ ตรง

สวนกลาง กระทรวงศึกษาธิการ เราก็มีสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนดูแลวิทยาลัยชุมชน

ทั่วประเทศ ตรงนั้นไมไดเขามาดูแลวิทยาลัยชุมชนอยางใกลชิด ตรงน้ันสนับสนุนวิทยาลัยชุมชน

ตามจังหวัดตางๆ ที่ไหนออนแอก็ชวย ที่เขมแข็งแลวก็ชื่นชม...” กุมภาพันธ 2552

“...เร่ืองวิทยาลัยชุมชนเม่ือเราต้ังเปาหมายวา เปนการศึกษา เพื่อพัฒนาทองถิ่น โครงสรางการบริหารก็เลย

ยกใหประชาชนเขาบริหาร กระทรวงศึกษาธิการปนผูสนับสนุน”

30 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 32: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...สภาวิทยาลัยชุมชน ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิที่อาสาสมัครเขามาทำงาน

เปนปจจัยสำคัญมากที่วิทยาลัยชุมชนประสบความสำเร็จในชวง 5-6 ป ที่ผานมา เพราะทาน

เหลานั้นเปนหูเปนตา เปนกำลังใจใหกับผูอำนวยการ ครูอาจารย เจาหนาที่ และประชาชน

ในจังหวัดม่ันใจวา วิทยาลัยชุมชนของจังหวัดจะเดินทางไปตามครรลองครองธรรมที่เปน

ประโยชนอยางแทจริง แสดงใหประชาชนและนักการเมืองเห็นประโยชน และชวยขับเคลื่อน

ระบบวิทยาลัยชุมชนใหเกิดคุณคา..” มิถุนายน 2549

“...กรรมการสภาวทิยาลัยชมุชนเปนผูทีอ่าสาสมคัรเขามาทำงาน ไมมเีงินเดอืน มเีบีย้ประชุม

เพียงเล็กนอยเทานั้น ที่กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนเขามาทำงานนั้นทำใหทราบวา ทานมา

เพราะมีจิตใจอาสาสมัคร และจิตใจสาธารณกุศล สองตัวนี้สำคัญมาก ...

...การที่แตละทานมาเปนกรรมการสภานั้น สิ่งที่ทานอยากไดแนนอนคือทานตองไดรับ

ความเช่ือมัน่ ความเคารพจากประชาชน ซึง่จะเกิดขึน้ไดคอื ทานตองปฏิบตัใินความรับผดิชอบ

ในฐานะกรรมการสภาอยางเต็มท่ี นอกจากนั้นถามีพันธะพิเศษ งานพิเศษอ่ืนใด ทานก็ตอง

กระวีกระวาดรับใช เพราะวามีความคาดหวังจากทุกฝาย นักเรียน ประชาชน ผูอำนวยการ

อาจารยมีความคาดหวังจากทาน รวมท้ังคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชนระดับชาติก็มีความ

คาดหวังจากทาน เปนความคาดหวังท่ีหลายๆ ฝายมีตอทาน ทำอยางไรจึงจะใหสมกับความ

คาดหวังของหลายๆ ฝาย... เพราะฉะนั้นการเปนกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนเปนสุดยอดของ

การรับใชสังคม” มิถุนายน 2549

ๆ ฝาย... เพรา

31คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 33: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...วิทยาลัยชุมชน มีงานหลายอยางท่ีเปนงานปดทองหนาพระ

และมีงานหลายอยางท่ีเปนงานปดทองหลังพระ และถาเราขมีขมันแยงกันปดทองหนาพระ

ขางหลังพระก็จะเปดโหว และวิทยาลัยชุมชน จะสมบูรณไดอยางไร ถาเราปดทองหลังพระ

แลวเรามีความสุขท่ีไดปดทองหลังพระ อันน้ีเปนความสุขท่ีเรียกวา

นิรามิสสุข…”

32 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 34: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“…วิทยาลัยชุมชนเปน Management Unit เปนหนวยบริหาร สวนสถานท่ีไปขอใชสถานท่ี

ของหนวยงานราชการอื่น ถามีคุณภาพหนวยงานอื่นก็จะสนับสนุนเราเอง การเลือกกรรมการ

สภาวิทยาลัยชุมชน ขอใหคิดวา เราตองการคนท่ีมีใจรักและศรัทธาตอจังหวัดนั้นจริงๆ และ

สวนสำคัญอยูที่ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน จะตองซ่ือสัตย สุจริต เปนผูใหญ ทำงานไดตาม

นโยบาย บรรลุเปาหมาย จะตองไมขี้ฉอ ขี้โกง คนในจังหวัดก็อยากมาเปนกรรมการสภาวิทยาลัย

ถาผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนทำตัวเปนสมภารกินไกวัด หรือผูอำนวยการไม Perform กรรมการ

ก็จะหนีหมด เพราะฉะน้ันคนท่ีมาทำหนาที่ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนใจตองแนวแนวาเรามา

ทำอะไร วิทยาลัยชุมชนไมมีสายสะพาย เปนการทำงานเพ่ือปดทองหลังพระ มาดวยศรัทธา

สุดทายก็จะทำใหจังหวัดมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงทางสังคม วิทยาลัยชุมชน

มองถึงผลกระทบตอพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดเปนหลัก เปาหมายของ

วิทยาลัยชุมชนไมไดอยูที่จำนวนผูสำเร็จการศึกษา แตอยูที่บุคลากรของวิทยาลัยชุมชน จบแลว

มีอาชีพ มีรายได เปนพลังสำคัญในการพัฒนาจังหวัด นี่คือ เปาหมายของวิทยาลัยชุมชน…” มกราคม 2549

“...ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนจะตองทำความเขาใจกับปรัชญาวิทยาลัยชุมชนใหถองแท

อยาเอาจิตวิญญาณการบริหารงานรูปแบบหนวยงานเดิมมาบริหารงานวิทยาลัยชุมชน แตให

นำประสบการณเดิมมาปรับใชในการบริหารงานของวิทยาลัยชุมชน และสรางจิตวิญญาณ

การบริหารงานรูปแบบวิทยาลัยชุมชนใหม ใหมีความคลองตัว ติดตอ และประสานงานกับองคกร

ภายนอกมากๆ …” มกราคม 2549

33คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 35: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...สภาวิทยาลัย กอนจะตัดสินอะไร ใหฟงความคิดจากหลายๆ ฝาย เชน ระดับลางนอกสภาฯ ซ่ึงจะทำให

รอบคอบข้ึนเวลามีมติ”

“...ในสภาวิทยาลัยชุมชนหน่ึงๆ ก็มีบุคคลมาจากหลายๆ ภูมิหลัง บางทานก็เปน

นักวิชาการ เปนนักธุรกิจ แตเมื่อมาเปนสภาแลว ผมวาเราตองบูรณาการกันใหได เราตอง

สลัดความเปนนักธุรกิจ ความเปนรองผูวา ความเปนอะไรตออะไรออกใหหมด แลวทุกคนจะ

เปนสมาชิกของสภาวิทยาลัยชุมชน ตองบูรณาการ และตองคิดกันเปนหน่ึงเลย ถาคิด

แตกแยกก็จะไมสำเร็จ เพราะฉะนั้นถาพูดกันในระดับบุคคลแลวก็ตองมีความดีงาม ซื่อสัตย

มั่นคง...” มิถุนายน 2549

“...ทำงานวิทยาลัยชุมชนบางครั้งตองหงุดหงิด มีเร่ืองขัดหูขัดตาไปหมด แตไมเปนไร

เรามาชวยกันแกปญหา นี่แหละกรรมการสภาฯมีหนาที่ตองมาชวยกัน อยาไปทอถอย ถา

กรรมการสภาทอถอย คนในวิทยาลัยชุมชนหายหมด กรรรมการสภาตองยืนหยัดตองเปน

ผูใหญ ตองมีความเพียร…” สิงหาคม 2550

34 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 36: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...สภาวิทยาลัยชุมชนจะตองเปนสะพาน หรือกันชนระหวางวิทยาลัยชุมชนกับชุมชนได

สวนมากเมื่อกลาวถึงสะพาน จะมองวาเปนสะพานเช่ือมไมตรี เชน สะพานไทย-พมา สะพาน

ไทย-ลาว และเม่ือกลาวถึงกันชนสวนมากจะทะเลาะกันแลว ก็ไปเปนกันชนใหเขา บางคร้ัง

อาจจะตองเปนกันชนและบางครั้งอาจจะเกิดการเขาใจผิดกัน ระหวางชุมชนกับวิทยาลัยชุมชน

สภาวิทยาลัยชุมชนก็ตองเขาไปไกลเกล่ีย เขาไปเจรจาใหเขาใจ คิดวากรณีนี้คงจะไมมีเพราะ

สภามาจากชุมชน นอกจากนี้สภาวิทยาลัยชุมชนจะตองชวยสรางความเขาใจระหวางชุมชนกับ

วิทยาลัยชุมชน...” มิถุนายน 2549

“...สภาวิทยาลัย กอนจะตัดสินอะไร ใหฟงความคิดจากหลายๆ ฝาย เชน ระดับลาง

นอกสภาฯ ซึ่งจะทำใหรอบคอบข้ึนเวลามีมติ สภาฯ ออกมา อาจเสียเวลาในการฟงความเห็น

ขอใหอดทนเสียเวลา เพราะเวลามีมติลงไปแลว เวลาเอาไปทำจะงาย คนเขาใจ เพราะทุกคน

มีสวนรวม นี่เปนวิธีทำงานของบริษัทญี่ปุน เสียเวลาหนอยตอนท่ีถามคนอ่ืน (Formulation of

Policy) ถาจะมีมติทำอะไรถามไถกันใหถวนทั่ว ทุกคนมีสวนรวมในมตินั้น เมื่อสภามีมติแลว

เวลานำไปปฏิบัติตามมติจะงายขึ้นเยอะ…” สิงหาคม 2550

35คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 37: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การที่ทานสำเร็จการศึกษาอนุปริญญาน้ี จะเปนประโยชนโดยสวนตัวอยางแนนอน จะ ทำใหทานมีความรูมีทักษะ มีความสามารถท่ีจะประกอบการงานในหนาที่ไดอยางดี ในขณะเดียวกันก็เปนการสรางพันธะในจิตใจของทานดวยเหมือนกันวาเมื่อไดรับการศึกษาดวย คาหนวยกิตที่ถูกมากอยางนี้และโดยการลงทุนของรัฐมากมายที่ลงมา เมื่อเทียบกับ การเสียคาหนวยกิต ตรงน้ีอยากใหทานรูสึกตระหนัก ระลึกบุญคุณวา เราไดรับการศึกษา ที่ประเทศชาติแหงนี้ไดจัดใหเรามีโอกาสเขาไปศึกษา ยิ่งไดโอกาสมากเทาไรจะตองคืนโอกาส ใหประชาชนมากเทานั้น เปนหนาที่คนไทยที่จะตองคืนสิ่งที่ดีงามกลับคืนไปสูเพื่อนรวมชาติ ของเรา นี่คือพันธะทางใจ อยากใหทุกทาน เกิดความรูสึกพันธะทางใจ เราไดโอกาส เรารับโอกาส เราผานในวันนี้มาแลว เราจะตองคืนโอกาสน้ีกลับไปสูสังคม

คำกลาวใหโอวาทเน่ืองในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตรวิทยาลัยชุมชนตาก เมษายน 2552

Page 38: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ปาฐกถา และคำบรรยาย ของ

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

Page 39: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College
Page 40: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

สิ่งที่ผูอำนวยการสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนกลาวมา คือ ประวัติความเปนมาของการจัดตั้ง

วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทย ในขณะที่วิทยาลัยชุมชนไดกอกำเนิดมาจากประเทศทางตะวันตกแลวกวา 100

ป เปนการออกแบบระบบการศึกษารูปแบบหน่ึงท่ีมีประโยชนมาก เปนระบบยอยของระบบการศึกษาที่สราง

ความม่ันใจและความม่ันคงใหกับระบบและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในสหรัฐอเมริกาไดยืนยันถึงทุก

วันนี้วา เปนระบบท่ีสรางความม่ันใจ สรางความม่ันคงใหกับการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอยางย่ิง

มีคำ 2 คำที่ควรทำความเขาใจ คือ การเรียนรู (To learn) กับการศึกษา (Education)

การเรียนรู เปนเร่ืองของการทำใหเกิดการเปล่ียนแปลงในตัวผูเรียน 3 ขอดวยกัน คือเปล่ียนแปลง

เรื่อง (1) ความรู (2) ทักษะ และ (3) คานยิมหรือเจตคติ

ถามีลูกอายุ 2 ขวบ อยากใหลูกเรียนรูอะไรจะใหใน 3 เรื่อง ถามีนักศึกษาระดับอนุปริญญาสาขา

คอมพิวเตอรธุรกิจ จะใหมีความรูอะไร ก็ใสความรูนั้น อยากใหเขามีทักษะอะไร ก็ใสทักษะนั้นเขาไป และถา

อยากใหเขาเห็นคุณคาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ เราก็ใสเจตคตินั้นลงไปในหลักสูตร รวมทั้งการจัดการเรียน

การสอน

ดังนั้น To Learn จึงหมายถึงการทำใหรู จะไดเรียนความรูจากโลก เรียนความดี เรียนทำงาน แมเปน

พระเจาอยูหัวก็ยังเรียนรูใน 3 ขอดังกลาวเชนกัน คือ (1) เรียนความรู (2) เรียนความดี และ (3) เรียนการ

ทิศทางการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชน* โดย

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

*เรียบเรียงจากการบรรยายเรื่อง “ทิศทางการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชนตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (2551-2565) และแผนปฏิบัติการวิทยาลัยชุมชน ประจำปงบประมาณ 2551” วันที่ 30 มิถุนายน 2550 ณ โรงแรมฮอลิเดยอินน รีสอรทบีช ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

39คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 41: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ทำงานเปน

กรณีตัวอยางการเรียนรูคอมพิวเตอรธุรกิจ อยากใหเขารูเรื่องอะไรบาง เชน ทฤษฎีคอมพิวเตอร

ธุรกิจ ก็จัดใหเปนการเรียนความรู อยากใหทำงานคอมพิวเตอรเปนก็ตองจัดหอง Lab ใหเขาไปฝกงานใน

สถานประกอบการตางๆ เมื่อจบหลักสูตรแลวก็จะตองทำไดตามที่หลักสูตรกำหนดไว สวนเรื่องความดีงาม

มี 2 ระดับ ในขณะที่เรียนอยูในวิทยาลัยชุมชน 2 ป ตองการใหเขาดีงามอยางไร ก็ใสเขาไป จัดใหไป ซึ่ง

หลักสูตรอื่นก็จะเหมือนกัน

การศึกษา คือ ระบบการจัดการเรียนรูตามวัตถุประสงค ประเทศไทยแบงระบบยอยของการศึกษา

เปน 4 ระบบ คือ (1) การศึกษาปฐมวัย (2) การศึกษาข้ันพื้นฐาน (3) การอาชีวศึกษา และ (4) การ

อุดมศึกษา ซึ่งหมายความวาเราไดจัดระบบการเรียนรูในแตละระบบ ดังน้ี

(1) ระบบการศึกษาปฐมวัย เปนการจัดการเรียนรูสำหรับเด็กอนุบาล 3-4 ,4-6 ขวบ จะให

เด็กอนุบาลเรียนรูอะไร ทำอะไรเปน มีระบบคุณคาคุณธรรมอะไร และวัตถุประสงคของการศึกษาปฐมวัยคือ

อะไรตองบอกใหชัด ซึ่งตามกฎหมายบอกวา การศึกษาปฐมวัยเปนการเตรียมความพรอม

(2) ระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเทศตางๆ สวนใหญจัด 12 ป บางประเทศจัด 11 ป

บางประเทศ 13 ป แต 86% จัด 12 ป ประเทศเราจัด 12 ป ทุกประเทศบอกวา วัตถุประสงคเพื่อสราง

พลเมือง การศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยก็เปนไปเพื่อสรางพลเมืองไทย คำถามคือ ตองการใหพลเมืองทำอะไร

เปน มีความรูเรื่องอะไร มีคุณคาคุณธรรมอะไรบาง ก็ใสลงไป ถาเราไดพลเมืองท่ีไมมีจรรยาบรรณ

เปนคนขี้โกง ฯลฯ สวนหนึ่งเราตองตำหนิการศึกษาไทยวาไมไดเรื่อง

(3) ระบบการอาชีวศึกษา การสรางชางในระดับตางๆ ชางฝมือ ชางชำนาญการ และขณะน้ี

มีการสรางชางระบบเทคโนโลยีขึน้แลวในระดบัปรญิญาตร ีกำลงัออกกฎหมายใหอาชวีศกึษามถีงึระดบัปรญิญา

(4) ระบบการอุดมศึกษา เปนการสรางนักวิชาชีพ กับนักวิชาการ มีหลายระดับ อนุปริญญา

ปริญญาตรี-โท-เอก ประกาศนียบัตรบัณฑิต ประกาศนียบัตรช้ันสูง ของวิทยาลัยชุมชนมีจุดเดียว คอื รับตอ

จากการศึกษาขั้นพื้นฐาน วางไวที่อนุปริญญา ถามวาทำไมไมทำปริญญาตรี คำตอบคือมันจะกลายพันธุ เปน

มหาวิทยาลัย จะไมใชวิทยาลัยชุมชนอีกตอไป และไมมีใครทำ และจะทำใหวิทยาลัยชุมชนกลายพันธุได

ในระบบอุดมศึกษาของทุกประเทศโดยเฉพาะทางตะวันตก จะมีกลุมที่เรียกกัน “วิทยาลัยชุมชน” สอนอนุปริญญาและวิชาชีพพื้นฐานที่อาชีวศึกษาไปไมถึงไมครอบคลุมทุกพื้นที่ หรือบางอยางไมไดทำ เชน

วิชาลับมีดกรีดยางพารา ฯลฯ เขาทำไมได วิทยาลัยชุมชนจะเขาไปทำ บางชางอาชีวะอาจทำแตไปไมถึงพื้นที่

40 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 42: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

บางอำเภอ วิทยาลัยชุมชนจะเขาไปทำใหครบพื้นที่ วิทยาลัยชุมชนจะปูพรมใหครบจนหมดทุกพื้นที่ของ

ประเทศ นี่เปนหลักทั่วไป วิทยาลัยสวนมากจะสอนท่ัวไป กำหนดหลักสูตรเอง สถาบันอุดมศึกษาสวนใหญมี

3 หลักสูตร ปริญญาตรี-โท-เอก จะกำหนดหลักสูตรเอง ไมตองสนองตอบความตองการในพ้ืนที่ใด แตเปน

การเปดกวางใหคนท้ังประเทศไปเรียนได แตวิทยาลัยชุมชนรับผิดชอบการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจชุมชน

ประเทศเราเปนประเทศเล็ก แตละจังหวัดมีพื้นที่ไมมาก ยกเวนบางจังหวัดเทานั้น ในสหรัฐฯ มีมลรัฐที่ใหญ

มาก มลรัฐจะเอาแค 1 แหงก็พอ เพราะฉะนั้นวิทยาลัยชุมชนตั้งเปาหมายตอนตนไวจังหวัดละ 1 แหง เชน

จังหวัดตาก ก็มีแหงเดียว แทนท่ีจะมีแมสอดดวย แตไปเปดสาขาตามอำเภอตางๆ โดยใชกระบวนการหรือ

ระบบการบริหารจัดการ ซึ่งทำไปไดคอนขางดี กลายเปนการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่ง

การจัดทำแผน สังคมเปล่ียน โลกเปล่ียน ประเทศไทยก็เปล่ียน เปล่ียนทุกป 5 ป 10 ป 15 ป สวนมากระบบการ

ศึกษาออกแบบเพ่ือการเรียนรู รัฐเปนผูควบคุมระบบการศึกษา รัฐมอบหมายใหกระทรวงศึกษาธิการ เอกชน

องคกรปกครองสวนทองถิ่นไปจัดการศึกษา รัฐบาลรับผิดชอบจัดการศึกษาใหตอบสนองการพัฒนาประเทศ

การพัฒนาประเทศตองมีแผน ใน 1 ปไปทางไหน 5 ป จะไปทางไหน 10 ป 15 ป จะไปทางไหน

เรยีกวาแผนระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว ประเทศไทยมสีภาการศกึษามาเกอืบ 50 ป สภาการศกึษามหีนาที่

รับผิดชอบจัดทำแผนการศึกษาของชาติ แผนจะบอกการกาวไปอยางมั่นคง จะกาวไป 15 ป ทางไหนบาง

กาวไป 5 ปทางไหน กาวแตละปเปนอยางไร กาวไป 15 ป เรียกวาแผนพัฒนาการศึกษาชาติ เสร็จแลวทอน

15 ป เปนแผนละ 5 ป แผน 5 ปแรกไปทางไหน 5 ปที่สองไปทางไหน และ 5 ปที่สามเปนอยางไร และอาจมี

การปรับแผน บางครั้งปรับเยอะเพราะมีการเปลี่ยนแปลง แตแผนก็ยังช้ีบอกวาไปทางนี้ ไมใชตางคนตางไป

แผนจะทำใหพวกเราไปในทิศทางเดียวกัน ถาเปล่ียนก็เปล่ียนดวยกัน และจากแผน 5 ป ก็นำมาทำเปน

แผนประจำป ใสงบประมาณประจำปลงไป เชน ปนีก้ระทรวงศึกษาธกิารไดงบประมาณ 3.1 แสนลานบาท เปนตน

จากแผนที่มี จะตองแปลงเปนโครงการเพื่อนำไปสูการปฏิบัติ และจากนั้นนำโครงการไปบริหาร

ดำเนินงาน เมื่อเสร็จก็เปนผลงานซ่ึงมี 3 ชุด คือ ผลงานเชิงปริมาณ (Output) เชิงคุณภาพ (Outcome)

และเชิงผลกระทบ (Impact) เพราะฉะนั้น จึงอยากใหเห็นวาการจัดทำแผน 15 ป กระบวนการจัดทำแผน

เพื่อใหไดผลผลิตออกมาในเชิงปรมิาณ เชิงคุณภาพ และผลกระทบ (ไมวาจะเปนผลบวก หรือลบ) สิ่งเหลานี้

สามารถนำมาปรับปรุงแกไขไดในครั้งตอไป

41คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 43: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

วิสัยทัศน (Vision) วิสัยทัศน คือ การสรุปแผนใหสั้น กินใจ และคนตองการทำตาม (เอาไปปฏิบัติได) และวิสัยทัศน คือ

สิ่งที่จะทำและตองทำได

วิทยาลัยชุมชนมีปรัชญาการศึกษาวา “การศึกษาเปนของประชาชน บริหารจัดการโดยประชาชน และ

จัดตามความตองการของประชาชน” วิทยาลัยชุมชนแตกตางจากสถาบันการศึกษาอ่ืน เชน มหาวิทยาลัย

อาชีวศึกษา ไมตองจัดทำหลักสูตรตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ แตวิทยาลัยชุมชนจะสรางหลักสูตรให

ชุมชนตามความตองการของประชาชนในจังหวัด

ในการจัดทำแผนของวิทยาลัยชุมชน จะตองรูวาแผนของจังหวัดมีวาอยางไร แผนของประเทศมีวา

อยางไร จากน้ันนำขอมูลแผนท่ีไดมาวิเคราะหจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปวิทยาลัยชุมชน แผน 5 ป และ

แผน 4 ป แผนเหลานี้เปนแนวทางจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนหลักสูตรอนุปริญญา และระยะสั้น

วิทยาลัยชุมชนหาผูเชี่ยวชาญภายในจังหวัดมาสรางองคความรูใหกับวิทยาลัยชุมชนและประชาชน

เชน ผูรูเรื่องขาว การปลูกผัก แลววิทยาลัยชุมชนก็มาจัดการอบรมใหกับประชาชน บริหารจัดการโดย

ประชาชน ซึ่งขณะนี้วิทยาลัยชุมชนไดดำเนินการชัดเจนแลว โดยมีกรรมการสภาบริหารวิทยาลัย

วิทยาลัยชุมชน เจาของ คือ รัฐบาล ประชาชน กระทรวงศึกษาธิการ สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน

วิทยาลัยชุมชนตองการขยายองคความรูและใหโอกาสทางการศึกษาแกทุกคน ทุกระดับอายุ และใหการ

ศึกษาแบบตลอดชีวิต ซึ่งภาคเอกชนไมสามารถทำได เพราะไมมีผลกำไรแกภาคธุรกิจ

กรรมการนโยบาย คือ กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนของจังหวัดน้ัน คือประชาชนในจังหวัดน้ันๆ ไมวา

จะเปนผูมีอาชีพใด แตไมใหนักการเมืองสามารถเขามาเปนกรรมการ เพราะไมตองการใหมีระบบการเมือง

เขามาเกี่ยวของกับการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน

ผูบริหาร คือ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ดังน้ัน จึงพูดไดวาวิทยาลัยชุมชนคือการจัดการศึกษาใหกับ

ประชาชนโดยประชาชน

วิทยาลัยชุมชนคือสะพานเช่ือมโยง 1. เปนสะพานเช่ือมระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทา

2. เปนสะพานเช่ือมระหวางระบบการศึกษากับโลกของการทำงาน (บุคคลที่จบจากวิทยาลัยชุมชน

42 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 44: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

แลวจะตองมีความรู เปนคนดี และทำงานเปน พรอมท้ังมีการติดตอกับนักศึกษาท่ีจบแลววาทำ

อะไรที่ไหน เปนอยางไร เพื่อติดตามคุณภาพของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแลว) ควรใหมีการ

ติดตามนักศึกษาท่ีจบการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนทุก 5 ป สำหรับความตองการของตลาด

แรงงานตอไป และควรสงนักศึกษาไปฝกงานจากสถานประกอบการจริง

3. เปนสะพานเช่ือมระหวางหลักสูตรกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจของชุมชน

เปาหมายวิทยาลัยชุมชน 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนผานกระบวนการเรียนรูและฝกฝนตนเอง

2. ใชการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีสำหรับปจเจก ครอบครัว และชุมชน

3. ใชการศกึษาและฝกอบรมเพือ่รองรบัการเปล่ียนแปลงทางวัตถ ุสงัคม สิง่แวดลอม และวฒันธรรม

คนขาดโอกาสทางการศึกษา ณ วันนี้ ทำงานไปกอน ทำงานราคาถูกๆ ที่ไหนก็ได คาจางถูกๆ ให

อยูรอดไวกอน และตอนนี้มีโอกาสทองแลว มีวิทยาลัยชุมชนมาตอยอดให ไดทักษะอาชีพ ไดเปนคนดี ได

ความรู ก็คอยๆ พัฒนาตัวเองหารายไดเพิ่มขึ้น เสร็จแลวก็สามารถไปตอปริญญาตรี และอาจตอโท เอกได

เปนการพัฒนาอยางตอเนื่อง สำหรับปจเจก สำหรับครอบครัว สำหรับชุมชน ถาคนท้ังจังหวัด โดยเฉพาะที่

ยากจนเปนคนสวนใหญของจังหวัด มีโอกาสไดตอยอดอยางน้ีไปเรื่อยๆ ทุกป ทุกป ก็จะกลายเปนจังหวัดที่

เขมแข็งทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม จึงขอฝากไว คุณคาของวิทยาลัยชุมชนถามองใหลึกซ้ึงมีมากและ

กวาง ใหทำตอเนื่องและทำใหดี

กิจกรรมทางวิชาการ แบงเปน 2 กลุมใหญ

1. หลักสูตรอนุปริญญา เปดเฉพาะสาขาที่เปนประโยชนตอจังหวัด โดยไมสนใจจังหวัดอื่น เพราะ

จังหวัดอื่นก็จะดูแลวิทยาลัยชุมชนของตนเอง ขณะน้ีมีวิทยาลัยชุมชน 19 แหง และยังมีอีกหลายจังหวัด

ขอเปด ถาผมเปนฝายการเมืองผมใหเปด 76 จังหวัดรวมกรุงเทพฯ ดวย เพราะมีประโยชนสำหรับคนจน

เปดครั้งแรกลงทุนจังหวัดละ 5 ลานบาท 10 จังหวัดก็ 50 ลานบาท 100 จังหวัด 500 ลานบาท ประเทศไทย

มีแค 76 จังหวัด แลวทำไมไมเปด ทำไมไมใหโอกาสคนจน ขอถามอยางนี้หลายๆ ครั้งทำไมไมใหโอกาส

คนจน ใชเงินแค 5 ลานบาทเอง แลวอาจารยเอามาจากไหน มีอาจารยพิเศษในพ้ืนที่จำนวนมากมาเปน

43คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 45: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

อาจารย ก็เปดสอนและเรียนกันได จึงขอฝากไว เปนการลงทุนจากการศึกษาที่ถูกที่สุด และใชไดตรงจุดที่สุด

2. หลักสูตรระยะส้ัน วิทยาลัยชุมชนยังไมคอยไดทำนัก จึงขอเชิญชวนใหทำระยะสั้นใหมาก เพราะ

ลงทุนไมมากเลย และถาคนเรียนไมมีเงินเรียน ขอใหสภาวิทยาลัยชุมชน หรือผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน

หาคาใชจายให เรยีกวา Third Party Pay

สมมุติ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารเปดวิชาสอนใหทำยางแผน แตชาวบานจนไมมีคาเรียน เราก็เก็บ

ไมแพง เก็บคนละ 300 บาท แตเขาบอกไมมี ถาผมเปนสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ผมจะไปขอคนที่เขา

มีใจกุศล ชวยคาใชจายรุนที่ 1 รุนที่ 2 รุนที่ 3...และยกชื่อประกาศทุกวันวา รุนที่ 1 สปอนเซอรเปนใคร

ใครทำดี ใครมาชวยการศึกษา นี่ไดขาววาทางรัฐบาลเขาจะออกกฎหมายใครบริจาคเพื่อการศึกษา จะไดรับ

การยกเวนภาษี การมาเรียนเรื่องการเดินทางสำคัญ การไปจัดที่อำเภอที่อยูไกลจะชวยคาเดินทางอยางไร

คนจนยิ่งลำบากใหญที่จะเขาสูความรู เทคโนโลยี

- หลักสูตรระยะส้ันเพื่อทักษะในการประกอบอาชีพมีความสำคัญอันดับหนึ่ง ชวยสอนประชาชน เอา

ความรูไปเผยแพรใหทั่วแผนดินผานระบบของวิทยาลัยชุมชน ถาวันหน่ึงมีวิทยาลัยชุมชนทุกจังหวัดแลว

ไมจำเปนตองทำเอง สมมุติจะทำเร่ืองประมง สอนเร่ืองประมง ก็ไปทำรวมกับประมงจังหวัด สอนเร่ืองการ

ปลูกผักสวนครัวทำรวมกับเกษตรจังหวัดก็วากันไป ใหหลายฝายมาชวยกัน

- หลักสูตรระยะส้ันเพื่อทักษะการบริหารจัดการ

- หลักสูตรระยะส้ันเพื่อสังคมและวัฒนธรรม

- หลักสูตรระยะส้ันเพื่อทักษะทางศีลธรรม-จริยธรรม

เพราะฉะน้ันการอบรมหลักสูตรระยะส้ันทำไดหลายหมวด

ความเปนไปของโลกาภิวัตน ปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานไวเพื่อเปนหลักคิด หลักปฏิบัติใหกับครอบครัว ชุมชน

บริษัทเอกชน โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ ในการรองรับผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง เชน โรงพยาบาล

เปลี่ยนผูบริหาร ซึ่งก็มีผลกระทบ ถาโรงพยาบาลนี้ทุกคนเขมแข็งหมดเลย ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม

วัฒนธรรม เทคโนโลยี จะเปล่ียนผูอำนวยการกี่คนเราก็ไมลม เปลี่ยนเจาอาวาส เปลี่ยนมาเถอะไมเปนไร

ถาวันนั้นเขมแข็งท้ังพระ ทั้งเณร ทั้งมรรคทายก เปนคนดี มั่นคง ก็ไมเปนไร

44 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 46: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ปรัชญานี้ตองการใหทุกสวนของเมืองไทย สรางความเขมแข็งพื้นฐาน ใหหลักคิดเพื่อรองรับ

ผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง คำโลกาภิวัตนใชมาไมถึง 10 ป พระเจาอยูหัวไดมีพระราชดำรัสในวันขึ้น

ปใหมเมื่อป 2521 พูดถึงผลกระทบโลกาภิวัตน ทานบอกอยางนี้ วิธีการดำเนินงานของบานเมือง มีการ

เปลี่ยนแปลงมาตลอด เนื่องมาจากความวิกฤตผันแปรของสังคม การเมือง และอื่นๆ ของโลก ยากที่เราจะ

หลีกเลี่ยงไดจำเปนตองระมัดระวัง เราประคองตัวเราใหมากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องการเปนอยูเพื่อจะใหอยูรอด

และตองกาวตอไปได ใหระวังเรื่องการเปล่ียนแปลง เพราะการเปล่ียนแปลงมีผลกระทบตอชีวิต

การเปลี่ยนแปลง มี 4 ขอ 1. ทุกสิ่งทุกอยางไมมีอะไรหยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติ วิทยาลัยชุมชนมีการ

เปลี่ยนแปลง ครอบครัวเปลี่ยนแปลง ชีวิตเปลี่ยนแปลง ประเทศไทยเปล่ียนแปลง ไมมีอะไรหยุดน่ิง

2. การเปลี่ยนแปลงทุกอยางมีเหตุปจจัย เหตุภายนอก เหตุภายใน เหตุที่เราคุมได เหตุปจจัยที่เราคุม

ไมได ถายิ่งคุมเหตุปจจัยได กย็ิ่งคุมการเปลี่ยนแปลงได แตถาชอบหลีก ไมสนใจในปจจัยเลย ก็จะคุมไมได

เลย ปลอยใหคนที่เขาคุมเหตุปจจัยมาคุมเรา มันทำใหเราตองพึ่งตนเอง ตองฉลาด ตองหลักแหลม

3. การเปล่ียนแปลงมีลักษณะเปนวงจร ที่มีลักษณะท้ังขึ้นทั้งลง วันนี้ลง ไมไดหมายความวาลงจน

ตาย พรุงนี้อาจข้ึนก็ได แตถาลงเราตองรูวาจะลงอยางไร เราตองมีระบบกำกับ Modify System

การบริหารงานวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนแตละแหง ตองมีระบบขอมูลขาวสารเปนระบบ Modify

System วาเรากำลังลง หรือกำลังขึ้น ไมอยางนั้น สภาวิทยาลัยชุมชนก็ไมรูเรื่อง ผูอำนวยการก็ไมรูเรื่อง วา

เราจะลงถึงเหวแลวก็ไมรูเรื่อง เพราะเราไมมีการวิเคราะห เราผลิตบัณฑิตไปเราไมไดติดตามเลย จะไปไหน

ก็ไมมีใครทราบ รุนแรกอาจมีคนจางดหีนอย รุนสองไมมีคนจางเลย แตถาเรามีระบบติดตามเราก็จะรูวาเรา

กำลังขึ้นหรือกำลังลง ขึ้นก็ไมประมาท ลงก็ตองระวัง ตองยับยั้ง

4. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดเร็ว รุนแรงและกวางขวางได อันน้ีเปนคำเตือนของ

Peter Drucker

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบอกวา ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง ตองระวังทั้ง 4 ดาน คือ ดานวัตถุ

หรือเศรษฐกิจ ดานสังคม ดานสิ่งแวดลอม และดานวัฒนธรรม พระเจาอยูหัวรอบคอบมาก ไมมองเฉพาะ

ดานเศรษฐกิจอยางเดียว ไมไดมองวาเราขายไดขายไมได แตมองดานสังคมส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมดวย

หลังสงครามเย็น โลกแบงออกเปน 2 คาย คือ คายคอมมิวนิสต และคายประชาธิปไตย และหามไป

มาหาสูกัน แตหลังสงครามเย็นจาก ค.ศ. 1990 เปนเวลา 17 ปมาแลว โลกท้ังโลกไปมาหาสูกันหมด ไมมี

45คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 47: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การแบงคายเปนคอมมิวนิสตกับประชาธิปไตย เมื่อโลกไมแบงคายไปมาหาสูกันมากข้ึน ผลกระทบจาก

จุดหน่ึงจะกระทบท้ังโลกไมกระทบเพียงคร่ึงโลกแลว สมัยกอนอะไรท่ีเกิดขึ้นในโลกคายคอมมิวนิสตจะ

กระทบเฉพาะคายคอมมิวนิสต คายประชาธิปไตยไมมีผล แตตอนนี้ไมไดแบงคาย จะไปเท่ียวดวยกัน จะ

ทำมาหากินดวยกัน เพราะฉะน้ันเกิดปญหาก็จะกระทบกันทั้งโลก

Peter Drucker บอกวาสงครามเย็นจะเปนยุคของการไมเหมือนเดิม บริษัทเราตั้งมา 30 ป หลังจาก

สงครามเย็น บริษัทจะไมเหมือนเดิม มีอะไรมากระทบไดงาย คูแขงก็จะมากขึ้น ตลาดอาจจะแคบลง

การชวงชิงกันมากข้ึน

Joseph Schumpeter บอกวาตอไปนี้ เตรียมรับมือกับการทำลายลาง ที่มาในรูปแบบแปลกๆ ใหม

แลวก็จริง อันนี้เขาทำนายมาหลายปแลว ปรากฏวาจริง ใครจะนึกวาคนจะทำลายคนอ่ืนๆ โดยฆาตัวเองดวย

เอาระเบิดมาติดตัวเองใหคนอื่นตายแลวตัวเองตายตาม

Rowan Gibson บอกวา การขางหนาก็ดี ชีวิตขางหนาก็ดี เหมือนขับรถ Off-Road คือ ขับรถนอก

เสนทาง บนเสนทางเขามีถนนลาดยางอยางดี ขับสบายไมขับ ไปขับขางทาง มันจะเปนอยางไร จะกระเด็น

กระดอน กระปุมกระปำ ชีวิตขางหนามีความไมแนนอนมากข้ึน อีกอันหน่ึงคือ Full of surprises จะเต็มไป

ดวยความแปลกใจ คนที่เคยอยูพรรคเดียวกันไปอยูพรรคโนนแลว อันนี้เปนการเปล่ียนแปลงท่ีมีการทำนายไว

กอน ค.ศ.1990 แลวก็เปนจริงทุกขอ ใน 8 ขอดวยกันวา โลกในวันขางหนาจะเปนดังน้ี

1. ระบบการเมืองของโลกจะเปล่ียนไป

2. ระบบความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินจะเปลี่ยนไป ทายไวสมัยกอนนานแลว และ

เปนจริง สมัยนี้จะข้ึนเครื่องบินที ตรวจหมด ทั้งของเหลว รองเทา บางประเทศตรวจท้ังขางในขางนอก ใคร

จะนึกวาลำบากยากเย็นขนาดนี้ 3 จังหวัดภาคใตออกจากบานไมได เปนเร่ืองใหมหมดเลย

3. การคากับการเงินจะไปทำเฉพาะประเทศใดประเทศหนึ่งไมไดแลว ทั่วโลกถึงกันหมดทุกประเทศ

ใครตามไมทันเจงหมด

4. การคมนาคมการขนสง และการโทรคมนาคมเปล่ียนรูปแบบใหมหมด แลวมากระทบกับชีวิตเรา

5. มนุษยจะสรางความรูและเทคโนโลยีใหมๆ ขึ้นมารวดเร็วมาก การคนพบสูตรทำยา ยารักษา

มะเร็งใหมๆ กลองถายรูปเดี๋ยวก็ตองเปลี่ยนโมเดล ตั้งแตลานพิกเซลข้ึนมา ก็หาลาน สิบลาน เปลี่ยนเร็วมาก

กลองถายรูปสมัยกอน สมัยพอเราหลายสิบปกวาจะเปลี่ยนโมเดลที เดี๋ยวน้ีมาใหมเปลี่ยนเร็วมาก

46 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 48: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

6. จะมีการครอบงำทางวัฒนธรรมและภาษา หลายภาษาจะตายไปในโลกน้ี เพราะวาถูกครอบงำผาน

โทรคมนาคมกับสื่อสารมวลชน ภาษาไทยก็โดนครอบงำไปมากแลว

7. จะมีการกอการราย

8. จะมีโรคไวรัสใหมๆ เกิดข้ึน โรคซาร โรคไขหวัดนก นี่ก็เกิดขึ้นจริงตามท่ีเขาทำนาย ประเทศเราก็

เปล่ียนแปลงมาตลอด ตั้งแตสมัยสุโขทัยเปล่ียนมาตลอด สมัยกอนเปลี่ยนชา แตสมัยน้ีเปลี่ยนเร็ว สมัยกอน

จะเปลี่ยนแปลงอยางไรก็ตาม คุณคึกฤทธิ์ ปราโมช บอกวาใหยึด 3 อยางไวเปนสถาบันหลัก คือ สถาบัน

พระมหากษัตริย สถาบันพระศาสนา และสถาบันประชาชน ไดแก ครอบครัว และชุมชน

สถาบันครอบครัวเริ่มออนแอลง สถาบันชุมชนบางแหงแยลง ในภาคเหนือบางหมูบานที่คุณพอคุณแม

ตายดวยโรคเอดส จะเหลือคนแกกับเด็กไวทำงาน บางประเทศลมสลาย

ประเทศเราหลัง ค.ศ. 1990 ถกูเหตุปจจัยเหลานี้มากระทบกระเทือน ตั้งแตโลกาภิวัตนนำทั้งส่ิงที่เรา

ไดเปรยีบและเสยีเปรยีบเขามา ระบบทนุนยิมเสรแีละตลาดเสร ีความรูเทคโนโลยีใหมๆ เทคโนโลยสีารสนเทศ

ผานเว็บไซต ผานอินเทอรเน็ต สื่อมวลชนขามชาติ อาชญากรรมขามชาติ วัฒนธรรมตางถ่ิน และการเมือง

ระหวางประเทศ เปนตน ใครถูกใครผิดชาง แตผลของมันคือประเทศไทยกำลังเปล่ียนไปดังน้ี

1. เปนสังคมสุดข้ัว เปนสังคมแยกขั้ว อันตรายมาก วิทยาลัยชุมชนในหลายจังหวัดจะเปนกลไก

อันหนึ่งที่ลดการแยกข้ัว อยางนอยทำใหคนจนลืมตาอาปากได ไมใหชองวางหางจากคนม่ังมีมากนัก

2. นโยบายประชานิยมเหมือนกับยาเสพติด ทำใหคนพอใจโดยเฉพาะคนจนซ่ึงอันตรายมาก ทำใหคน

ไมพึ่งตนเอง จะพ่ึงกองทุนหมูบาน ไปทำผลิตภัณฑ OTOP ตามนโยบายรัฐบาล รวมท้ังไปกูเงินมากกวา

อยากพ่ึงหวยมากกวา

3. ฉอราษฎรบังหลวง ที่เปนมาทุกยุค ทุกสมัย

4. คนหลายระดับเลนการพนัน อบายมุข

5. มัวเมาไสยศาสตร เกาะกระพ้ีศาสนา

ในทามกลางการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ ถาครอบครัวมั่นคงมีคุณธรรมศีลธรรม ประกอบสัมมาอาชีพ

หม่ันเก็บออม แทนท่ีจะไปกูหนี้ ถึงจะเปลี่ยนรัฐบาลกี่ชุดก็ดำรงครอบครัวอยูได นี่คือเจตนาของปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง ที่จะทำอยางไรทามกลางการเปล่ียนแปลงเพ่ือใหคนไทยอยูได

เงื่อนไขหน่ึงสำหรับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ถาวิทยาลัยชุมชนไหนจะเอาปรัชญาน้ีไปใช ตอง

สรางวิทยาลัยชุมชนเปนวิทยาลัยแหงคุณธรรมกอน หรือที่เรียกวา Moral College หรือวิทยาลัยคุณธรรม

47คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 49: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ถาวิทยาลัยนั้นมีแตการฉอราษฎรบังหลวง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะใชไมได ไมมีประโยชน

คุณธรรม คือสิ่งที่กำกับจิตใจใหแสดงออกทั้งคำพูดและการกระทำ หรือออกมาเปนพฤติกรรม คนที่มีคุณธรรม คือ คนท่ีมีสิ่งกำกับจิตใจออกมาเปนพฤติกรรมท่ีตีคาไดวาเปนความดี ความจริง ความงาม ตีคา

ไดอยางไร ที่ทุกคนบอกวานี่คือความดี ความจริง ความงาม สิ่งที่เขาพูด พูดแตสิ่งที่ดี สิ่งที่เปนจริง สิ่งที่งาม

สิ่งที่เขาทำก็เหมือนกัน คนไรคุณธรรมคือคนที่มีสิ่งกำกับจิตใจ แลวสุดทายคนตีคาออกมาเปนความช่ัว ความ

เท็จ ความอัปลักษณ

เครื่องชี้คุณธรรม สังคมมนุษยตั้งแตโบราณไดออกแบบเคร่ืองช้ีคุณธรรมมาหลายชุดดวยกัน

ชุดที่ 1 คือ ศาสนาไดแก ศาสนธรรมหรือศีลธรรมตางๆ ทุกศาสนาบอกวาอันนี้ชั่ว อันนี้ดี อันนี้เลว

อันนี้งาม เพราะฉะนั้นถาเราเปนคนที่มีศาสนาและเรายึดในหลัก ในแกนของศาสนา ก็จะอยูในกรอบของ

คุณธรรม

ชุดที่ 2 ไมเกี่ยวกับศาสนา เปนชุดท่ีเราออกแบบกันเอง ชุดความประพฤติ และจริยธรรม อาจจะเปน

จริยธรรมท่ัวไป จริยธรรมเฉพาะกลุม เฉพาะอาชีพก็ได อยางเชน จริยธรรมของสมาชิกสภาวิทยาลัยชุมชน

เราออกแบบได มีกันหรือยัง จริยธรรมของผูบริหาร จริยธรรมของผูปฏิบัติ จริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัย

ชุมชน อันนี้มีแลวใชไหม หรือท่ีเรียกวาวินัย วินัยนักศึกษาก็คือจริยธรรมของนักศึกษานั่นเอง

ชุดที่ 3 คือ นิติธรรม กฎหมายบานเมืองเกี่ยวกบัการบริหารบานเมือง

ชุดที่ 4 เปนจริยธรรมสำหรับการบริหารองคกรหรือบรรษัทก็คือ ธรรมาภิบาล หรือบรรษัทภิบาล

ชุดที่ 5 เปนชุดท่ีกำหนดเกณฑทางสังคม เชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี มารยาท

ชุดที่ 6 เปนคุณธรรมประจำตระกูล เปนคำสอนประจำครอบครัว

คุณธรรมมีหลายชุด ถาจะสรางสังคมคุณธรรม ตองรวมมือกันทั้งศาสนา ครอบครัว กระบวนการ

ยุติธรรม ระบบการศึกษา สื่อมวลชน องคกรทุกประเภท คำท่ีใหญคลุมหมดคือคุณธรรม โดยจริยธรรม

และศีลธรรมเปนสวนหนึ่งของคุณธรรม

ความสัมพันธระหวางความรูกับคุณธรรม มีหลายความสัมพันธ เชน 1. มีความรูแตไรคุณธรรม อันนี้ไมชอบเพราะไมดี พวกน้ีเกงแตโกง รวมท้ังพวกเกง คิดวาตัวเองดี

โดยใสรายปายสีผูอื่นวาเลวหรือโกง

48 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 50: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

2. มีความรูคูคุณธรรม ทั้งดีทั้งเกง

3. มีคุณธรรมนำความรู เอาคุณธรรมนำหนา ตอนน้ีหลายโรงเรียนตองเปล่ียนปาย เพราะเคยเขียน

ปายวา ความรูคูคุณธรรม แตก็ยังมีคนเปลี่ยนปายนอย

พระเจาอยูหัวไดพระราชทานชุดคุณธรรมใหกับชาวไทยเปนระยะๆ ตอนฉลอง 200 ปกรุงเทพฯ เมื่อ

พ.ศ. 2525 ก็ไดพระราชทานคุณธรรม 4 ประการ พวกเราคงจำไดเวลาขึ้นไปศาลากลางเขาก็จะพิมพไว

สังเกตดูไมคอยมีใครหยุดยืนอาน

เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2550 ไดพระราชทานใหอีกชุดหนึ่ง ในการออกมหาสมาคม ที่ทุกคนใสสีเหลือง

ไปเปนแสนคน ที่ดูทีวีที่บานอีกเปนลานๆ คน ถาวิทยาลัยชุมชนอยากจะทำ เชน ชุดคุณธรรมของวิทยาลัย

ชมุชนมุกดาหาร ก็ไปคิดกัน คุณธรรมของวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนในแผน 15 ป จะเลนเร่ืองความซ่ือสัตย

สุจริต อยาไปใสประเด็นเล็กๆ มา ใหใสที่หลักๆ ที่เกิดผลจริง ใสที่ดีจริงๆ วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครมี

ชุดคุณธรรมเปนอยางไร หรือถาคิดอะไรไมออก ยืมของพระเจาอยูหัวไปใชก็ได ทานใหไว 4 ขอ ดังน้ี

1. ทุกคนคิดพูดทำดวยความเมตตา มุงดีมุงเจริญตอกัน ขอใชคำวา เมตตาธรรม

2. แตละคนชวยเหลือเก้ือกูล ประสานงาน ประสานประโยชนใหงานท่ีทำสัมฤทธิผลแกตนเอง

ผูอื่น และประเทศชาติ ขอใชคำวา สามัคคีธรรม

3. ทุกคนประพฤติปฏิบัติในความสุจริต ในกฎกติกา ในระเบียบแบบแผนโดยเทาเทียมเสมอกัน

(Simple Standard) ขอใชคำวา สุจริตธรรม

4. แสดงความเห็นของตนใหถูกตอง เที่ยงตรง มีเหตุมีผล ขอใชคำวา เที่ยงธรรม

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร

บานเรามีแผนพัฒนาประเทศหลายฉบับ เดิมกอน พ.ศ. 2504 ไมมีแผน เวลารัฐบาลเก็บภาษีได

รัฐบาลจะเอาไปทำอะไรก็แลวแตนโยบายรัฐบาลของยุคนั้นๆ ปนั้นๆ ไมมีแผนระยะ 5 ป รัฐบาลไหนอยากได

อะไรก็เชิญ เพราะฉะน้ันการพัฒนาประเทศไมมีทิศทาง ไมไดเอาปญหาหลักของประเทศข้ึนมาเปนแผนเพ่ือ

จะแก เชน เรื่องความยากจนไมไดเอา ตอมาเปนรัฐบาลเผด็จการทหาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต บอกวา

ตองมีแผน จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เปนคนซึ่งสรางสถาบันหลักของประเทศไวหลายสถาบัน ไดชักชวน

คนไทยที่อยูอังกฤษ ใหกลับมาชวยประเทศชาติ มาชวยกันต้ัง

49คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 51: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

1. สภาความม่ันคงแหงชาติ แทนท่ีจะส่ังเพียงคนเดียว เปนสภาชวยกันคิด

2. สภาการศึกษาแหงชาติ แทนท่ีแตละโรงเรียนจะตางคนตางทำ แตละมหาวิทยาลัยตางคนตางทำ

เพราะตอนน้ันไมมีแผน ไดงบประมาณมาจะผลิตอะไรก็ได เพราะไมมีแผนยุทธศาสตรในการพัฒนาแลว

ไมไดสนใจแผนพฒันาประเทศดวยซำ้ไป บอกไมได ตองมสีภาการศึกษาแหงชาติ และได ดร.กำแหง พลางกูร

มาเปนเลขาธิการคนแรกของสภาการศึกษาแหงชาติ ทำแผนพัฒนาการศึกษา 15 ป แผน 5 ป แผนรายป

3. สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หรือสภาพัฒนสภาพัฒนบอกงบประมาณท่ีรัฐบาลเก็บ

มาแตละป ถาเปนรัฐบาลเผด็จการอยากจะใชอะไรได จะซื้อรถถังก่ีคัน ซื้อปนใหญกี่กระบอก จะไปชวยเร่ือง

น้ำ ดิน ไฟฟา ไดทั้งนั้น แลวแตรัฐบาลจะคิด อยากระนั้นเลย มาวางแผนพัฒนาประเทศ เพื่อประสาน

ประโยชนกันและมุงไปในทางเดียวกันดีกวา

ตอนนั้นไดเริ่มคิดปแรก ทำทีละ 5 ป เหมือนประเทศอ่ืน 2504-2509 รวม 6 ป แผนหนึ่งของเรามี 6

ป พอถงึแผน 2 จงึเริม่ปรบัเปน 5 ป แผน 3 เปน 5 ป มาถงึขณะนีอ้ยูในแผน 10 (2550-2554) เปนแผน 5 ป

แผน 9 รัฐบาลชุดท่ีแลวใชแผนยุทธศาสตร ขับเคลื่อนตามวาระแหงชาติ ทั้งที่เมื่อแผน 8 คือ 2542

กลางแผน 8 สภาพัฒนกำลังประเมินครึ่งแผน 8 แลวขอพระเจาอยูหัว ขอพระราชทานปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียงเปนหลักในการพัฒนาแผน 9 (2545-2549) ซึ่งพระราชทานให 29 พฤศจิกายน 2542 พระราชทาน

ตัวหนังสือทั้งหมดท่ีอยูในกรอบส่ีเหลี่ยมทั้งหมดทุกตัวอักษร เอามาเปนหลักในแผน 9

เมื่อมีรัฐประหาร รัฐบาลชุดรัฐประหารกำลังปรับปรุงแผน 10 เพราะในปลายรัฐบาลชุดที่แลวเพ่ิงมา

ประกาศใหทำแผน 10 สำหรับใชตั้งแต 1 ตุลาคม 2549 สภาพัฒนจึงวุนกันหมด จึงเช่ือวา ประเทศประสบ

ปญหาเพราะแผนยุทธศาสตร ขอมูลประชาชน 100 ครัวเรือน มีหนี้อยู 50 กวาครัวเรือน ปที่แลว 2549 มีหนี้

65 ครัวเรือน ไมมีหนี้เพียง 35 ครัวเรือน ตอน พ.ศ. 2543 หนี้แตละครัวเรือน 80,000 กวาบาท ป 2549 คือ

ปที่แลว 120,000 กวาบาท จำนวนครัวเรือนเปนหนี้เพิ่มขึ้นมา แลววันนี้ ประชาชนจึงไมมีความมั่นใจใน

การบริโภค ไมกลาซื้อ เพราะมีแตหนี้จึงไปซื้ออะไรไมได

ถาใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตองการสรางความเขมแข็ง แปลงหนี้เปนเงินออมแลวผูคนตองขยัน

ทำงาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบอกวา จะข้ีเกียจไปรอกูเงินอยางเดียวโดยไมนำไปลงทุนทำอาชีพ จะรอขอ

งบฟรีจากรัฐบาลโดยไมนำมาลงทุนไมได ประชาชนตองชวยกนัทำงาน อนัน้ีเปนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เงิน

ตองมีที่มา ตองมาจากการทำงาน ตองไมลุมหลงแตเรื่องเงินกู รอรัฐบาลเลือกตั้งเพื่อจะไดเงิน 1,500 บาท

ไมวาจะเปน สท. สจ. สก. ได 1,500 บาท ไดคาขายเสียง สนใจแตกองทุนใหกูใหม เพราะกองทุนหมูบาน

50 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 52: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

กูหมดแลวยังไมไดคืน จะใหไปทำอาชีพอะไรไมสนใจ และเดี๋ยวน้ีชาวบานไมปลูกผักสวนครัว รอรถปกอัพเอา

ผักมาขายในหมูบาน ไดแตนั่งเก็งหวย กินเหลา แตงตัวสวยไปโนนไปนี่ คือมันเปล่ียนวิถีชีวิตคน มีผลกระทบ

มากโดยเฉพาะที่รากหญา เม่ือตอน 2540 เราเกิดวิกฤตทางการเมือง เปน NPL ของระดับขางบน แตป

2549 คนระดับบนเชื่อวา เกิดวิกฤตความคิดของระดบัรากหญาที่อันตราย มีอาจารยจุฬาฯ ไปทำวิจัยรายจาย

ประจำเดือนของชาวบาน มีรายจายเพิ่มขึ้น 3 รายการ ไปเหมือนคนระดับบน ทั้งที่สมัยกอนไมมี เปนไปตาม

การเปลี่ยนแปลง โลกาภิวัตนของโลก ซึ่งนับวาเปนอันตราย คือ

1. คาใชจายบำรุงรักษามือถือ คือ รายการหลัก แลวแตวาบานน้ันๆ จะมีมือถือก่ีเครื่อง

2. คาใชจายเลนหวย ทั้งบนดินใตดิน เพราะเช่ือทีวี เลนหวยชวยชาติ ชวยการศึกษา เปนทุน

การศึกษา แตไมใหขอมูลวาเลน 2 ตัวโอกาสไดมัน 1 ใน 100 แลวรางวัลที่ 1 ที่ลุนอยากไดรางวัลที่ 1 มัน 1

ใน 90 ลานครั้ง

3. คาใชจายในการกินเหลา ไมเยอะนะ เพราะเหลาขาวทำเองตามนโยบาย OTOP รัฐบาลไดปลอย

ฟร ีตมเหลาขายกันได มีการตั้งบริษัทกันขึ้นมาทำเยอะแยะ ตอนน้ีเจงกันเปนแถบ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักคิด หลักปฏิบัติใหคนไทยหันมาสูเหตุสูผล มีเหตุผลในการตัดสินใจ

ระดับผูบริหาร ผูปฏิบัติ และชาวบาน ใหมีเหตุผล แลวรูจักวาความพอประมาณคืออะไร นำไปสรางความ

เขมแข็งพื้นฐานท่ีสรางไวเผ่ือมีอะไรเกิดขึ้นจะไดไมลมหายตายจากไปเพียงแคนี้ นี่แหละปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง สหประชาชาติเอาไปเผยแพรไว 166 ประเทศ ไปเขียนเปนภาษาอังกฤษบอกไวหมดมีประโยชน

อะไรบาง

คำถาม 4 คำถาม 1. ปรัชญานี้มีวัตถุประสงคอะไร

2. ความพอเพียงมีองคประกอบอะไร

3. ถาวิทยาลัยชุมชนใดเอาไปใชจะตองเตรียมตัวอะไรบาง

4. ถาทำแลววิทยาลัยชุมชนจะไดประโยชนอะไร

คำถามแรก วัตถุประสงคของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดำรงอยูและปฏิบัติตน

ของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร

ประเทศใหดำเนนิไปในทางสายกลาง ถาพดูเฉพาะเศรษฐกิจก็ใหกาวทนัโลกยคุโลกาภิวตัน สูกบัประเทศอ่ืนได

51คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 53: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เปาประสงคอีกอยาง คือ ใหประชาชนเขมแข็ง สูกับประเทศอื่นในยุคโลกาภิวัตนที่มีการเปลี่ยนแปลง

มาก

คำถามท่ี 2 องคประกอบของเศรษฐกิจพอเพียง คือ

1. ความพอเพียง

2. ความมีเหตุผล

3. มีระบบภูมิคุมกัน

พอประมาณ คือ พอเหมาะพอดี พอประมาณตามอัตภาพ ไมมากเกินไมนอยเกิน จงพอประมาณ

ตามอัตภาพ ทานเคยดำรัสไวหลายคร้ังวาจะรวยก็ได คือทานไมตองมีมากก็ได ใชของหรูหราก็ได แตตอง

ไมเบียดเบียนคนอื่น ตองพอประมาณตามอัตภาพ มีเงินเดือน 12,000 บาท การใชจายตัดสินใจซ้ือโนนซื้อน่ี

ตองอยูในกรอบของอัตภาพ 12,000 บาท แตถามีเงินเดือน 500,000 บาท พอประมาณของคืออยูในกรอบ

เงินเดือน 500,000 บาท หรือตองติดลบ ตรงน้ีตองพูดถึงความพอดี การบริหารวิทยาลัย แตละแหง

งบประมาณไมเทากัน ความพอประมาณของแตละแหงก็อยูในกรอบของตัวเอง อยูตามอัตภาพของแตละ

วิทยาลัย เก็บคาหนวยกิตไดเทานี้ ก็บริหารดวยความประหยัดตามอัตภาพ จะไปเปรียบเทียบกับรายไดของ

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไมได คนละอัตภาพ จึงขอฝากเร่ืองการบริหารวิทยาลัยไว

สภาวิทยาลัยชุมชน ผูบริหาร ครู-อาจารยจะตัดสินใจทำอะไรใหนึกถึงความพอประมาณตามอัตภาพ

ยังไมพอ ตองมีเหตุผลอยูในกรอบของอัตภาพ มีเหตุผลตามหลักวิชา มีเหตุผลตามหลักกฎหมาย ตามหลัก

ศีลธรรม ตามกฎเกณฑสังคมใหยึดถือความจำเปนในการดำรงชีวิต และยังตองนึกถึงภูมิคุมกันวาจะบกพรอง

ตรงไหน เราบอกวา พอประมาณมีเหตุผล แตถาทำไปแลวภูมิคุมกันบกพรองตองหาทางปองกัน

ระบบภูมิคุมกัน มี 4 ดาน ดานท่ี 1 ภูมิคุมกันดานเศรษฐกิจหรือดานวัตถุ ถาเขมแข็งมีเงินออม มีการประกันความเสี่ยงใน

อนาคต มีการลงทุนเพ่ือพัฒนา มีการวางแผนระยะยาว ถาภูมิคุมกันบกพรอง มีหนี้ไมกอใหเกิดรายได

ขาดการประกันความเสี่ยง ขาดการลงทุนเพื่อพัฒนา ขาดการวางแผนระยะยาว นี่เปนวัคซีนสำหรับเพิ่ม

ภูมิคุมกันสำหรับดานเศรษฐกิจหรือดานวัตถุ มีการออม ถาเปนหนี้ก็ลดหนี้ลง มีกองทุนปองกันวิกฤต ถามี

กองทุน การลงทุนก็เสี่ยงนอย การลงทุนก็พัฒนา

52 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 54: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ดานท่ี 2 ดานสังคม ถาวิทยาลัยชุมชนมีภูมิคุมกันทางสังคมเขมแข็ง รูรักสามัคคี รวมมือรวมใจกัน

ทุกคนมีคุณธรรม ใฝศาสนธรรม เปนวิทยาลัยสีขาว อยูเย็นเปนสุข ทุนทางสังคมก็สูง แตถาวิทยาลัยชุมชนมี

ภูมิคุมกันดานสังคมบกพรอง ระแวง ทะเลาะเบาะแวง ตางคนตางอยู ทุศีล หางไกลคุณธรรม อบายมุขเต็ม

ไปหมด อยูรอนหมองหมน ทุนทางสังคมก็ต่ำ ถาเราทำ SWOT Analysis แลวพบวาทุนทางสังคมของ

วิทยาลัยบกพรองแลว จะทำการเปล่ียนแปลงอยางไร ก็ตองหาวัคซีนมาฉีด หามาตรการมาแกไข

ดานที่ 3 ดานสิ่งแวดลอม ถาภูมิคุมกันดานสิ่งแวดลอมดี ทุกคนในวิทยาลัยมีความรู มีสำนึก มีความ

หวงแหนในส่ิงแวดลอม ผูบริหารมีนโยบายชัดเจน มีการสรางอุปนิสัย สะอาด เปนระเบียบ อยูกับธรรมชาติ

ถาบกพรองก็ตรงกันขาม ถาเปนอยางนั้นเราจะทำอยางไร

ดานที่ 4 ดานวัฒนธรรม มีความเขมแข็งหรือวาออนแอ มีความภูมิใจในวัฒนธรรมไทยหรือไม

มีความเขาใจวัฒนธรรมทองถิ่นอยางไร ภูมิใจอยางไร หรือไมมี

คำวา พอเพียง จะเอาไปใช ที่วิทยาลัยชุมชน จะตองทำ SWOT Analysis แลวก็วางมิติทางดานวัตถุ

สังคม ดานส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม กำหนดตัวชี้วัดเอง แลวก็วางแผนกำหนดเอง เสร็จแลวก็กำหนด

เปาหมายภายใน 1 ป จะทำอะไร จะไปถึงไหน แลวทำแผนปฏิบัติ ประเมิน เมื่อครบป ก็คอยขยับไป เพราะ

ฉะนั้นภูมิคุมกันท้ัง 4 ดาน ก็คอยๆ เขมแข็งขึ้นทีละปๆ

คำถามท่ี 3 ถาจะเอาไปใชตองมีเงื่อนไขอะไรบาง มี 3 เงื่อนไข คือ

1. เงื่อนไขหลักวิชา ในกรอบส่ีเหล่ียมบอกวาตองอาศัยความรอบรู รอบคอบ ระมัดระวังในการนำ

วชิาการตางๆ มาใชในการวางแผนและปฏบิตังิาน ไมใชเอาเร่ืองโหราศาสตร/ไสยศาสตรมาใช แตเอาวิชาการ

ตางๆ เพราะตองการจะใหบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชนโดยใชฐานความรู ใหเปน Knowledge-based

College

2. เงื่อนไขคุณธรรม ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจคนในชาติ ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจคนใน

วิทยาลัยชุมชนโดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี นักธุรกิจ ในทุกระดับใหมีสำนึกในคุณธรรม ความ

ซื่อสัตย สุจริต

3. เง่ือนไขการดำเนินชีวิต ตองใชความอดทน ความเพียร มีสติปญญา และความรอบคอบ ถาทำได

อยางนี้จะเกิดประโยชนอะไร

53คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 55: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

คำถามสุดทาย ถานำไปใชวิทยาลัยชุมชนจะไดประโยชนอะไร

1. จะเกิดสมดุลในชีวิต สมดุลในการบริหารงานวิทยาลัยชุมชน

2. วิทยาลัยชุมชนจะพรอมรับการเปล่ียนแปลง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม จาก

โลกภายนอก หรือจากปจจัยภายในไดเปนอยางดี

ขอฝากใหเอาปรัชญานี้ไปใชในวิทยาลัยชุมชน ใชไดทั้งการกำหนดนโยบายบริหารวิทยาลัยชุมชน

โดยเฉพาะสภาฯ ใชไดท้ังการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะพวกครู-อาจารย และใชไดกับทุกชีวิตในการ

ดำเนินชีวิตกับครอบครัวก็เอาไปใชได

สิ่งที่ไดบัญญัติในพระราชดำรัส 2-3 เรื่อง เพื่อเปนอุทาหรณการทำงาน

ป พ.ศ. 2522 ในจิตใจคนไทยมีเชื้อความดี ทำใหพวกเรามาอยูในฐานะท่ีมั่นคงในวันนี้ (2522) ถาเรา

ไมมีความดีในตัว เขาใจวาประเทศไทยคงอยูไมนานเชนน้ี เปนสิ่งที่เตือนสติวาคนไทยตองมีเชื้อความดี

บมเพาะเชื้อความดี เพื่อจรรโลงยืนนานตอไปในอนาคต

ปใหม พ.ศ. 2545 ขาพเจามีความปรารถนาอยางย่ิงที่ไดเห็นชาวไทยมีความสุขถวนหนากันดวยการให

ความรักความเมตตาใหน้ำใจไมตรีใหอภัย ไมถือโทษโกรธเคือง ใหสงเคราะหอนุเคราะหกันมุงดี มุงเจริญตอ

กันดวยความบริสุทธ์ิและจริงใจ

ป พ.ศ. 2506 ในงานพระราชทานปริญญาบัตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทรงช้ีใหรูจักความดีดวย

ความดี ไมไดทำความดีเพื่อตอบแทน ในความดีเพื่อความดี อุปมาเหมือนการปดทองหลังพระ ดังความตอน

หนึ่งวา “คนโดยมากไมชอบปดทองหลังพระนัก เพราะคิดวาไมมีใครเห็น แตถาทุกคนพากันปดทองแตหนา

พระ ไมมีใครปดทองหลังพระเลย พระก็เปนพระท่ีสมบูรณไมได”

วิทยาลัยชุมชนเปนสะพานเช่ือมระหวางระบบการศึกษา ระหวางการจางงานกับการมีอาชีพ เปน

สะพานเชื่อมใหคนที่ดอยโอกาส อยูไกล ไมสามารถเขาถึงทักษะอาชีพหรืออุดมศึกษาได เราเปนสะพาน

เหมือนปดทองหลังพระจริงๆ แลวเราปดทองหลังพระ หลายคนท่ีอาสาสมัครมาทำงานกับระบบวิทยาลัย

ชุมชน เปนอาสาสมัครดวย จายเงินดวย บางคนอาสาสมัครเขามาทำงานรับเงินเดือนที่นอยกวาที่อื่น เพราะ

สวนหน่ึงเช่ือในคุณภาพคุณคาของระบบวิทยาลัยชุมชนวาเปนระบบท่ีมีคุณภาพ ที่ทำใหเรามาทำงานรวมกัน

ได เพราะฉะน้ันอยากเปรียบอยางที่ทานรับสั่งวา ทำดีเหมือนปดทองหลังพระ ขอขอบคุณ

54 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 56: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ผูชวยศาสตราจารยจรูญ ถาวรจักร ผูอำนวยการสำนัก

บริหารงานวิทยาลัยชุมชน ผูแทนกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน อาจารยและ

ผูเกี่ยวของทุกทาน

ถือเปนโอกาสดีที่จะไดทำความเขาใจกับสิ่งที่สำคัญที่สุด คือการทำความเขาใจเร่ืองเกณฑมาตรฐาน

โครงสรางหลักสูตรท่ีเปล่ียนแปลงไป และโดยเฉพาะอยางยิ่งหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เพราะพิมพเขียวใน

การสรางลูกศิษย คือ หลักสูตร และหลักสูตร คือ พิมพเขียวในการสรางคน เหมือนจะสรางบานตองมี

พิมพเขียวสรางบาน ที่กำหนดวาจะสรางบานบนพื้นที่กี่ตารางวา มีกี่ชั้น กี่หองนอน กี่หองน้ำ มีหองอะไรบาง

นี่คือพิมพเขียว ซึ่งวิทยาลัยชุมชนตองคิดกอนวา จะสรางบานใหใครอยู จะสรางลูกศิษยไปใหใครใช หรือไป

ทำงานท่ีไหน ตองคิดอยางนี้

หลักสูตร คือ พิมพเขียว เพราะฉะน้ันตองทำความเขาใจบทบาทหนาที่การเปนสถาปนิก วันนี้วิทยาลัย

ชุมชนกำลังเปนสถาปนิกการศึกษาเพ่ือออกแบบสรางคน จึงตองทำความเขาใจวา จะสรางพิมพเขียวอยางไร

ที่ทำมากกวา คือ จะตองทำหนาที่ถอดแบบพิมพเขียวดวย เม่ือถอดแบบพิมพเขียวแลวจึงลงมือออกแบบ

สรางคน เพราะฉะนั้น จึงตองมีหนาที่สรางหลักสูตร และตองเอาหลักสูตรไปบริหารเองดวย การมาในวันน้ี

จึงเปรียบเสมือนมาเปนท้ังสถาปนิก และวิศวกรดวย บางคนบอกเปนทั้งชางปูนและชางปนดวย

จุดยืนในการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน* โดย

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

*เรียบเรียงจาก การบรรยายเร่ือง “จุดยืนในการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน” วันที่ 5 กันยายน 2548 ณ โรงแรม ริเวอรไซด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร

55คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 57: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา เกณฑโครงสรางหลักสูตรเพื่อการออกแบบ สถาปนิกมีอิสระในการออกแบบ แตก็ยังมีกรอบอยู เชน

จะออกแบบบานที่อยูอาศัย ทางเขา-ออก แบบคอนโดมิเนียมหรือแบบตลาด จะออกแบบบานที่อยูอาศัยควร

จะมีโครงสรางอะไร อยางไรบาง มีกี่ชั้น ฯลฯ ของเขาเรียกวา “โครงสรางบาน” ของเราเรียกวา “โครงสราง

หลักสูตร” สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะมีเกณฑมาตรฐานกลางเพ่ือบอกวา โครงสราง

หลักสูตร มีกี่หมวดวิชา โครงสรางหลักสูตรอนุปริญญา กำหนดไว 3 หมวดวิชา คือ หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

หมวดวิชาเฉพาะดาน และหมวดวิชาเลือกเสรี เปรียบเหมือนกับการสรางบาน 3 ชั้น และหลักสูตร

อนุปริญญานี้หามสรางเกิน 3 ชั้น โดย 3 ชั้น ที่กลาวมา คือ

ชั้นที่ 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป สมมุติวาเปนชั้นที่ 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดนี้จะมีวัตถุประสงค

เฉพาะ เพื่อตองการสรางคนใหสมบูรณหรือใหไดคุณลักษณะที่พึงประสงค

ชั้นที่ 2 หมวดวิชาเฉพาะดาน สมมุติวาเปนช้ันที่ 2 คือ หมวดวิชาเอก หรือหมวดวิชาชีพ นั่นเอง เชน

หลักสูตรครูก็เนนวิชาชีพครู หลักสูตรนักบัญชีก็เนนวิชาชีพบัญชี จะอยูในหมวดวิชาเฉพาะดาน จะพูดถึง

วิชาครู วิชาบัญชี วิชาตางๆ มากมาย

ชั้นที่ 3 หมวดวิชาเลือกเสรี สมมุติวาเปนชั้นที่ 3 คือ หมวดวิชาที่ใหเลือกเสรี กำหนดให 3 หนวยกิต

เทานั้น หมวดนี้เปนความสนใจเฉพาะของคนที่จะมาอยูอาศัยหรือคือคนที่จะมาเรียน กำหนดไวไมสูง/กวาง/

ใหญเกินนั้น แตวาในนั้นจะมีอะไรใหเลือกได คือ คนเรียนเลือกได เปนอิสระเพียงนิดเดียวของผูมาเรียน

เลือกได

สวนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป กับหมวดวิชาเฉพาะดาน เจาของหลักสูตรกำหนดวา จะตองเรียนใหครบ

ทุกวิชาจึงจะจบ แตหมวดวิชาเลือกเสรีมีใหเลือกวา ยังมีขนมหวานใหเลือก 4 ถึง 5 ชนิด เลือกส่ังเองตามท่ี

ชอบได เพราะฉะน้ันตรงนี้ตองมาทำความเขาใจกัน

ในการประชุมปฏิบัติการครั้งนี้ ผูที่เปนหลักในการออกแบบหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน และดูแลทั่วไป มี

ทานอาจารยจรูญ ถาวรจักร กรุณามาอยูเปนพี่เล้ียงใหตลอด และมีอาจารยพัชรี สวางทรัพย อาจารย

ประเสริฐ จริยานุกูล นอกจากน้ีมี ดร.ไพฑูรย สินลารัตน เปนครู-อาจารย ทางดานศึกษาศาสตร ครุศาสตร

มาใหความรูความเขาใจ นอกจากนี้ มีปฏิบัติงานกลุม ขอใหชวยกันคิดวา อยากเห็นทิศทางของการเปด

หลักสตูรคอื การสรางพมิพเขยีวของวทิยาลยัชมุชนไปทศิทางใด เพราะหวัใจท่ีจะทำใหวทิยาลยัชมุชนเขมแขง็

คือ หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ไมใชเรื่องอ่ืนเลย

56 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 58: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เมื่อพิจารณาหลักสูตร จะเกี่ยวพันไปเรื่องคุณภาพอาจารย ไอที (IT) สื่อการสอน การฝกงาน ซึ่งจะ

สามารถประเมินไดชัดเจนข้ึน เพราะการศึกษาเปนวิธีการเรียนรูซึ่งจะใชประโยชนในการดำรงชีวิตไดใน

อนาคต จึงอยากใหทุกมหาวิทยาลัยในประเทศไทยสนใจตรงน้ี สวนมากการสัมมนาจะไมสนใจเร่ืองน้ี ใน

การสัมมนาเรื่อง World Class University หองเรียนจะเลอะเทอะอยางไรไมไดนำมาหารือกัน จึงเปนจุดออน

ของอุดมศึกษาไทย ไมสนใจเรื่องหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ไปสนใจอะไรก็ไมทราบ ไปเลาะ

ขอบๆ รอบๆ นอก ไปเสียเวลาบริหารอุดมศึกษามาก แตไมสนใจบริหารหลักสูตร อยากเห็นการจัดสัมมนา

ในเร่ืองเก่ียวกับหลักสูตรและการจัดการศึกษาใหมากๆ สวนมากหัวขอสัมมนาจะไมเกี่ยวของกับเรื่อง

หลักสูตร ดังนั้นขอใหจัดเก่ียวกับหลักสูตรทุกๆ ป และควรมีการประเมินหลักสูตรทุกปดวย เพราะหลักสูตร

มีความสำคัญ เปนพิมพเขียวในการสรางคน จึงนำเสนอวงจรชีวิตหลักสูตร 3 วงจร ดังน้ี

วงจรที่ 1 การสรางหลักสูตร หรือปรับปรุงหลักสูตร การสรางหลักสูตรคือการสรางหลักสูตรใหม

ขึ้นมา สวนการปรับปรุงหลักสูตร คือ การเอาหลักสูตรที่ใชอยูแลวมาปรับปรุงใหทันสมัย

วงจรท่ี 2 การบริหารหลักสูตร การบริหารหลักสูตรน้ีจะมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือ

วางแผนวา การเปดสอนภาคเรียนตอไป ปการศึกษาตอไปจะบริหารหลักสูตรน้ีอยางไร จะจัดรายวิชาไหน ใน

ชวงใด วันจันทร อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร เชา สาย บาย เย็น จัด lab หอง lab จัดการดูงานอยางไร นี่คือ

การบริหารหลักสูตร แตละช่ัวโมงใครจะมาสอน จะจัดใหดีได ใหดูขอมูลปที่แลว ไดประเมินหลักสูตรและ

ประเมินการบริหารหลักสูตรเปนอยางไรบาง

วงจรที่ 3 การประเมินหลักสูตร การประเมินจะครอบคลุมทุกกระบวนการขั้นตอนของหลักสูตร คือ

ประเมินทั้งดาน Output, Outcome และ Impact ของหลักสูตร เชน การบริหารหลักสูตร ทั้งหลักสูตรใหม

หลักสูตรปรับปรุงแลว จะดูวามีขอขัดของอยางไรบางในปที่แลว สอนไปแลวเด็กจบแลวออกไปทำงานเปน

อยางไร ผลดี ผลราย จะทราบขอมูลไดโดยการประเมินหลักสูตร จะไดเอามาปรับปรุงในปนี้ เตรียม

การวางแผนตอไป รวมท้ังดูวาหลักสูตรน้ีจะลมเลิกไหม หรือจะปรับปรุงตอไป กลับมาสูวงจรการปรับปรุง

หลักสูตรอีก

ทั้ง 3 ขั้นตอน คือ วงจรชีวิตของหลักสูตร

57คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 59: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การศึกษาตองมีมาตรฐานเดียว มีหลักสูตรเปนพิมพเขียว เชน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตองมี

มาตรฐานเดียวกัน ตองไดมาตรฐานเดียวกัน ตองมีมาตรฐานชาติอันหน่ึงจะไดรูวาจะผลิตพลเมืองเปน

พลเมืองมาตรฐานเดียวกัน ไมใชพลเมืองหลายมาตรฐาน แตวิธีไปสูมาตรฐานหรือวิธีการจัดการศึกษา

ไมจำเปนตองแบบเดียวกัน เชน การศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสิงคโปรมีมาตรฐานอันหน่ึง ทั้งประเทศสิงคโปร

ตองเรียนมาตรฐานเดียวกัน ของจีนก็ตองเหมือนกัน แตไทย กับ จีน สิงคโปรมาเปรียบเทียบกันอาจจะ

ไมเหมอืนกนั แตคนในประเทศเดยีวกนัระบบการศกึษาเดยีวกนั กระทรวงศกึษาธิการเดยีวกนัตองไดมาตรฐาน

เดยีวกนั

มักจะมีความเขาใจผิดวา ถาจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เชน Home School แลวขอลดหยอนผอนโทษ

หนอยไดไหม ไมตองไปสอบแขงกับเขา ตอบวาไมได เพราะตองมีเครื่องมือวัดเดียวกัน สมัยผมเปนเด็ก

ตอนสอบ ป. 4 เรามีขอสอบท่ัวประเทศ เปน National Test คงจำได ใชสำหรับ ม. 8 และ มศ. 5 เปน

มาตรฐานชาติดีอยูแลว ตอมาผูบริหารกระทรวงศึกษาธิการเขาใจคำวา School Autonomy ผิดไปจากความ

หมายเดิมที่ Autonomy หมายถึงการจัดการศึกษามีรูปแบบจัดหลากหลายแตมาตรฐานตองอันเดียวกัน

ขณะนี้ 38,000 โรง มีมาตรฐานเดียวกันไหม คำตอบคือไมเลย เพราะความไมเขาใจจึงใหโรงเรียนสอนเอง

สอบเอง ตัดเกรดเอง ใหผานเอง แลวมาบนวาทำไมคุณภาพโรงเรียนไมเทากัน นั่นเปนเพราะไมไดจัดเปน

มาตรฐานเดียวกัน สมัยโบราณ กระทรวงศึกษาธิการทำถูกแลว จัดสอบ ป.4 ทั่วประเทศ จัดสอบ ม.8 หรือ

มัธยมปลายดวย คือการศึกษา 12 ป จัด 2 ชวงชั้น ชวงชั้นที่เปนภาคบังคับชวงชั้นหนึ่งและมัธยมปลายอีก

ชวงชั้นหนึ่ง ปการศึกษาหนาจะจัดแลว ตั้งแลวสำนักทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ จัดสอบเปนชวงชั้น ผม

เปนคนออกแบบไว แตโชคดีที่รัฐบาลทำตอเนื่องแตก็ทำชามาก ควรจะออกมาเม่ือ 2 ปที่แลว เพราะตั้งใจวา

เมื่อ 2 ปที่แลวจะทันทดสอบระบบน้ีพอดี แตตอนนี้ไมทันแลว สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาต้ังสำนักงาน

เพื่อจะดูแลเรื่องนี้ เรียกวาสำนักทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ ทุกประเทศ ทั้งเอเชีย ยุโรป มีสำนักทดสอบ

ทางการศึกษาแหงชาติ (National Education Testing) ทั้งนั้น ของเราตอไปน้ีมีแลว ตองทำงานกันทั้งวัน

ทั้งคืนเพื่อจัดตั้ง National Education Testing (N.E.T.) ประชาชนต่ืนเตนเร่ือง Entrance ที่จริงเอ็นทรานซ

เปนเรื่องนิดเดียวเทานั้นของระบบ National Test ที่เปน โอ-เน็ต (O-Net: Ordination National

Educational Test หรือ เอ-เน็ต (A-Net: Advanced National Educational Test) ที่จริงเปาหมาย คือ

ตองการใหมีมาตรฐาน แตการจัดการศึกษาจะเปนอยางไรเชิญตามสบาย

58 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 60: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การศึกษาในระบบ คืออะไร ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมายถึง การศึกษาที่

กำหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเง่ือนไข

ของการสำเร็จการศึกษาที่แนนอน ไมวาจะจัดในโรงเรียนของรัฐ หรือเอกชน

การศึกษานอกระบบ คือการศึกษาท่ีมีความยืดหยุนในการกำหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการ

ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเง่ือนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดย

เนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละ

กลุม เปนการศึกษาสำหรับกลุมผูเรียนซึ่งไมสามารถเรียนในระบบได เชน เรียนตอนเย็น จัดวันเสาร วัน

อาทิตย จัดที่วัด จัดท่ีโรงงาน จัดท่ีไหนก็ไดตามสบาย แตตองภายใตมาตรฐานเดียวกัน

การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ

ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลงความรู

อื่นๆ ตรงนี้ มีความจำเปนนอยมากในประเทศไทย เพราะประเทศไทยมีโรงเรียนเกือบทั่วทุกมุมเมือง

ประเทศท่ีเขามีพื้นที่กวางและพลเมืองนอยเขาจำเปนตองจัดตามอัธยาศัย Home School เชน แคนาดา

ออสเตรเลีย เพราะเขาไมมีโรงเรียนและมันหางเปนรอยๆ กิโลเมตรจากบานไปโรงเรียน ของไทยจากบานไป

โรงเรียน 2 – 3 กิโลเมตร ความจำเปนจึงนอย แตวาจะจัดระบบไหนก็ตามตองสงสอบ ตองสงผูเรียนไปสอบ

ในขอสอบระดับชาติเหมือนกัน

ประเด็นแรก ผลของการจัดการศึกษาของไทย มาจากหนังสือของสภาการศึกษา พบวา คนไทย

ผูใหญที่ยังอานไมออก เขียนไมได 3.2% ถาผูใหญหมายถึงประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป ก็จะมีประชากร

ประมาณ 40 กวาลานคน 3.2% ของ 40 กวาลาน ประมาณลานกวาๆ ที่อานไมออกเขียนไมได ไมรูเวลาเขา

ดูทีวี คนเหลานี้ทำอยางไร เพราะคนเหลานี้ภาษาไทยยังไมได แลวรายการทีวีไทย ขณะน้ีเต็มไปดวยภาษา

อังกฤษ จึงคิดวา กศน.(สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย) นาจะไปหาวาคนไทยคน

ไหนท่ียังอานไมออก แลวไปชวยใหอานออกเขียนไดจะเปนบุญเปนกุศล เปนงานมหาศาล

ประเด็นที่สอง เด็กในวัยประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย เด็กในประถมศึกษาได

เขาเรียนแตเรียนแลวอานไมออก เขียนไมได ไดเขาเรียน 98% คำถามคือ 2% ไปอยูที่ไหนบาง ระดับ

มัธยมศึกษาตอนตนไดเขาเรียน 88% คำถามคือ 12% ที่ไมไดเรียนไปอยูที่ไหน เพราะยังไมถึงการศึกษาภาค

บังคับ เฉพาะสองอันนี้ ถา กศน. ไปทำจะทำงานหนักมาก เปนงานมหาศาล

59คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 61: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ประเด็นที่สาม เด็กในวัยมัธยมศึกษาตอนตนเขาศึกษาตอมัธยมศึกษาตอนปลายรวมทั้งประกาศ-

นียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ได 54% ไมไดเขาเรียน 46% คนที่ไมไดเรียนอีก 46% จะทำอยางไรกับเขา ชวงน้ี

บางสวนเปนเด็กวัยทำงาน คนวัยทำงานชวงอายุ 15-60 ป คนไทยวัยทำงานมีคาเฉลี่ยการศึกษา 7.8 ป เมื่อ

3-4 ปที่แลว รายงานวา 8-11 ป คือมีการศึกษาระดับ ม. 2 กวาๆ คำถามคือ ขณะนี้มีกฎหมายการศึกษา

ภาคบังคับ 9 ป อีก 1 ปที่ขาดไป กระทรวงศึกษาธิการจะทำอยางไรกับคนเหลานี้ เพราะยังเรียนไมถึงการ

ศึกษาภาคบังคับ และถาจะเรียนสามารถเรียนฟรีได 12 ป ถาเขาอยากเรียนจริงจะทำอยางไรกับเขา การ

ประกาศภาคบังคับเพิ่มจาก 4 ป เปน 6 ป หรือเปน 9 ป เราไปคิดถึงแตวัยเด็ก ไมไดคิดถึงคนท่ียังไมตาย

แตพนวัยเด็กไปแลว และไดเรียนไมถึง 9 ป ทำไมไมคิดไปชวยตรงน้ีบาง

กรณีประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลเขามาชวยตรงนี้ เพราะคนจีนบานนอกไดรับการศึกษา

เฉลี่ย 7 ป ในเมือง 10 ป มีชองวาง (Gap) อยู 3 ป ในขณะที่กำหนดการศึกษาภาคบังคับ 10 ป การปฏิรูป

การศึกษาของจีน คือ ทำอยางไรใหคนบานนอกเพ่ิมการศึกษาจาก 7 ป เปน 10 ป จะไดลดชองวางระหวาง

คนในเมืองกับคนนอกเมือง

มีตัวเลขรายงานวา คนบานนอกไทยการศึกษาเฉลี่ย 3 ปกวา ใครที่มาจากวิทยาลัยชุมชนภาคอีสาน

ยืนยันตัวเลขนี้ได ในเขตเทศบาล 7 ปกวา ในกรุงเทพฯ 12 ป สรุปการศึกษาเฉลี่ย12 ป เปนของคน

กรุงเทพฯ เพราะฉะน้ันคนบานนอกกับคนในกรุง จึงหลอกกันงาย แลวอำนาจอะไรไมมีเลย อำนาจในการคิด

อำนาจในการเลือกเสนทางชีวิต เสนทางอาชีพ ดังน้ัน ถาจะทำอะไรตอตองทำตรงน้ี คือ คนไทยทั้งหมด 40

กวาลานคนท่ีอยูวัยทำงานจบประถมศึกษา (ป. 6) 57% จะยกระดับไดไหมเปนการศึกษาภาคบังคับ ทำอีก 3

ป 57% ของ 40 กวาลาน คือ 20 กวาลาน กศน. จะตองทำงานเยอะมากถารับผิดชอบงานตรงน้ี ผมคิดวา

ถา กศน. ทำงานตรงน้ี ตองตั้งทบวง กศน. เปนการเฉพาะ

การศึกษาและการเรียนรู ขอทำความเขาใจกับคำ 2 คำ คือ การศึกษา และการเรียนรู จะเสนอภาพรวมการศึกษาของประเทศ

ไทยกอนวา วิทยาลัยชุมชนอยูตรงสวนไหนของการพัฒนาประเทศ เปนภาระเรงดวนที่จะตองเขาไปแกระบบ

การศึกษา และที่จะตองทำความเขาใจกอน คือ 2 คำนี้

1. การศึกษา (Education) คือ ระบบท่ีรัฐแตละประเทศ ไดออกแบบเพ่ือใหเกิดการเรียนรูอยางเปน

ระบบกับประชาชนภายในประเทศ เพราะฉะนั้นระบบการศึกษาตองเปนเชิงขององคความรูที่ดีที่สุด มีคุณคา

60 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 62: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ที่สุด วงกลมความรูตองยอดท่ีสุด เพื่อจะใหเลือกช้ินเน้ือในน้ันออกมาเปนหลักสูตรแตละหลักสูตร เพราะ

ตองการคนท่ีมีความรู ออกไปทำมาหากิน รับผิดชอบบานเมือง ดังน้ันหลักสูตรและการศึกษาก็จะเปนระบบ

ที่แตละประเทศออกแบบไว

2. เรียนรู หรือ การเรียนรู (To Learn) คำวา การเรียนรู (To Learn) แปลวา กระบวนการสราง

การเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน 3 ดาน คือ

2.1 ความรู หรือทฤษฎี เปนความรูจากส่ิงที่ไมรู คือ ความรู อันนี้เรียกวา เรียน

2.2 ทักษะ คือ การฝกฝนจากส่ิงที่ทำไมได เปนทำได

2.3 เจตคติ หรือ อุดมการณ เปนเร่ืองที่เกิดจากการท่ีไมมีความคิดอยางน้ัน เปนมีความคิด

หรือคานิยมอยางนั้น หรือการเปล่ียนคานิยมใหดีขึ้น ถูกตองขึ้น

เพราะฉะน้ันการศึกษาจะเปล่ียนแปลง 3 อยาง คือ

- เปลี่ยนแปลงจากไมรูเปนรู

- เปลี่ยนจากทำไมไดเปนทำได

- เปลี่ยนแปลงจากมีความคิดที่ไมตรง ไมถูกตองมาเปนคิดตรง คิดถูกตองและเที่ยงธรรม

มนุษยเรียนรูตลอดเวลาตั้งแตเกิดจนตาย เรียนรูทั้งที่บาน นอกบาน เรียนรูทั้งในโรงเรียน นอก

โรงเรียน เรียนรูตลอดเวลา เวลาท่ีผานไปก็ไดสั่งสมความรูไว มนุษยสรางความรูดวยและส่ังสมความรูดวย

ความรูที่มนุษยมีจะอยู 2 ที่ คือ

1) ความรูที่อยูนอกตัวคน (Extrinsic Knowledge) เชน ความรูในศิลาจารึก ในสิ่งแวดลอมทั่วๆ ไป

ในโมเดล (Model) ในรูปแบบท่ีมนุษยสรางไวแลว แลวคนอ่ืนก็ไปดูแลวก็เห็น เปนความรู ไปดูเขาใชเบ็ด

อยางไร เขาใชเหย่ืออยางไร จับปลาอยางไร เปนความรูทั้งนั้น หรือความรูที่อยูในส่ือตางๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ

สื่ออิเล็กทรอนิกส อันนี้เปนความรูนอกตัวคน

2) ความรูที่อยูในตัวคน (Intrinsic Knowledge) ความรูที่อยูในตัวบุคคล ความรูที่อยูในตัวปราชญ

ความรูที่อยูในตัวพวกเราทุกคน ความรูที่อยูในคุณแมที่รูวิธีแกงสมอรอย ซึ่งคนอื่นไมรู และความรูนี้เปน

ทักษะดวย

การเรียนรูจึงเกิดข้ึนไดทุกท่ีทุกทาง เราเรียนรูจาก Extrinsic Knowledge ทั่วไป และจาก Intrinsic

Knowledge จากพอ แม ครูบาอาจารย จากปราชญ ชาวบาน กวางมาก เพียงแตจะจัดหมวดหมูความรูใน

โลกนี้ของมนุษยไวอยางไรเทานั้นเอง แบงใหมันเปนหมวดหมูทั้งความรูที่มีมาแลว ทั้งภูมิปญญาชาวบาน

61คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 63: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

สมมุติความรูเปนเคกกอนหนึ่ง ยูเนสโก (UNESCO) เอาความรูมาแบงเปนช้ันๆ แลวเขาเรียกวา “สาขาวิชา”

(Discipline) เชน ความรูเกี่ยวกับการเกษตร มีตั้งแตการเกษตรภูมิปญญาชาวบาน จนกระทั่งเกษตร

แผนใหม ความรูเรื่องสมุนไพร มีทั้งสมุนไพรไทย สมุนไพรจีน ความรูเร่ืองศึกษาศาสตร ความรูเร่ืองทำ

อาวุธ การทำสงคราม ยูเนสโก (UENSCO) มีกรรมการแบงกลุมวิชา เชน กลุมความรูมนุษย เปนตน

เรียกวา สาขาวิชา และใหความหมายไวดวย เชน หลักสูตรคือ พิมพเขียวที่ออกแบบไววาจะสรางคนใหมี

คุณลักษณะอยางไร เชน คนที่จบออกมา รูอะไร ทำอะไรเปน มีคุณธรรมอยางไร นักศึกษาที่มาเรียนรูกับ

วิทยาลัยชุมชน เมื่อจบแลวเปนคนดี มีความรู มีคุณธรรม จริยธรรม เปนตน

ขณะนี้วิทยาลัยชุมชนมีหลักสูตรอนุปริญญา ตัวอยางเชน สาขาวิชาการปกครองทองถ่ิน ตองการ

สรางพิมพเขียว เพื่อใหผูจบมีความรูการปกครองทองถิ่นเรื่องอะไร มีทักษะการปกครองทองถิ่นเรื่องอะไร

เปนคนมีระบบคุณคา มีคุณธรรมในการปกครองทองถ่ินอยางไร ก็นำมาใสไวในหลักสูตร เมื่อวิเคราะหควร

จะไดเน้ือหาวิชา เน้ือหาความรูจากสาขาอะไรบาง ก็ไปดูจากความรูของมนุษยทั้งกอน แลวเอามาทำเปน

หมวดวิชา ซึ่งมี 3 หมวดหลัก คือ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะดาน และหมวดวิชาเลือกเสรี

ภายใตหมวดวิชาจะมีกลุมวิชา เชน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มี 4 กลุมวิชา ไดแก

- กลุมวิชาภาษาและการส่ือสาร

- กลุมวิชามนุษยศาสตร

- กลุมวิชาสังคมศาสตร

- กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

จากหมวดวิชา วิเคราะหระดับกลุมวิชา แตละกลุมวิชา รวมมีกี่หนวยกิต เอามาแบงเปนรายวิชา

รายวิชานี้ภาษาอังกฤษใชคำวา Course แตละ Course แตละรายวิชา มาดูวาการจัดการศึกษาใหมีอะไรบาง

ประเทศไทยออกแบบการศึกษาไวเปนชุด เชน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาเด็กเล็ก

ทางดานรางกาย จิตใจ ความคิด และทางสังคม รวมทั้งทางดานจริยธรรมดวย เปนระบบการพัฒนาเด็กเล็ก

สูงขึ้นมาก็เปนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต ป.1 ถึง ม.6 (12 ป) แบงเปน 4 ชวงช้ัน คือ

ชวงชั้นท่ี 1 คือ ป.1 – ป.3

ชวงชั้นที่ 2 คือ ป.4 – ป.6

ชวงชั้นที่ 3 คือ ม.1 – ม.3

ชวงชั้นท่ี 4 คือ ม.4 – ม.6

62 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 64: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การศึกษาขั้นพื้นฐาน (Basic Education) วันนี้ ทั่วโลกจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประมาณ 11 - 13 ป

เนื่องจากองคความรูมีมาก สมัยกอนการศึกษาพ้ืนฐานอาจมีไมกี่ปได ประเทศไทยจัด 12 ป ระบบอังกฤษ

ใช 13 ป ประเทศออสเตรเลีย 11-13 ป บางประเทศ 11 ป

ระบบการศึกษาข้ันพื้นฐานมีวัตถุประสงค เพ่ือสรางพลเมืองในอนาคต เพราะฉะน้ัน รัฐบาลไทยตอง

เอาคำถามมาต้ังวา ในอนาคต เด็กเล็ก เด็กใหญที่จะโตเปนพลเมือง เขาควรจะรูเร่ืองอะไร เขาควรจะทำ

อะไรเปน เขาควรจะมีคุณคา คุณธรรม ระบบคุณคาคุณธรรมอยางไร ก็ใสลงไปในหลักสูตรการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน อยากใหพลเมืองไทยทำอะไรเปนก็สงลงในเน้ือหาของหลักสูตร จากน้ันไปสรางพลเมืองไทยออก

มาเปนชุดตามที่กำหนดไว

ระบบการศึกษาไทย โครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการประกอบดวย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน

เลขาธิการสภาการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และองคกรในกำกับ ฯลฯ

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) แบงตามโครงสรางของ สกอ. จะมีเลขาธิการคณะ

กรรมการการอุดมศึกษา มีกรรมการการอุดมศึกษา และมีสำนักตางๆ มีหนวยงานก่ึงอิสระ มีมหาวิทยาลัย

ของรัฐ มหาวิทยาลัยเอกชน และมีวิทยาลัยชุมชนขึ้นกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ระบบการศึกษาเปนองคความรูที่ดีที่สุด เพราะเราตองการคนที่มีความรูเพื่อออกไปประกอบอาชีพ

เมื่อจัดระบบการศึกษาแลว เราก็จัดหลักสูตรข้ึนมา หลักสูตรคือพิมพเขียวเพ่ือใหเกิดการเรียนรู การเรียนรู

คือ การเปลี่ยนแปลง 3 ดานดังกลาวมาแลว หลักสูตรพื้นฐาน หลายประเทศบอกวาการเปนพลเมืองดี

สมบูรณไดตองเรียน 12 ป และตองมีเงินจัดได แตหลายประเทศจัดไมไดไมมีเงิน เพราะฉะน้ัน จึงไดกำหนด

คำขึ้นมาหนึ่งคำ คือ การศึกษาภาคบังคับ และผูตองการเรียนตอก็สามารถศึกษาตอระดับอุดมศึกษาได

ดังนั้น ระบบการศึกษา มี 2 ระบบดวยกัน คือ

1. การศึกษาภาคบังคับ คือ การศึกษาที่รัฐไดออกกฎหมายบังคับใหประชาชนตองเรียนอยางนอยจะ

ตองมีความรูระดับนี้ มีทักษะระดับนี้ มีระบบคุณคา คุณธรรมระดับน้ี ระดับท่ีไดนอยที่สุดเทาน้ี ต่ำกวาน้ี

ไมยอม

63คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 65: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ประเทศไทยเร่ิมมีการศึกษาภาคบังคับตั้งแตรัชกาลที่ 6 คือ มี 4 ป เรียน ป.4 ตอมามีถึง 6 ป คือให

เรียนถึง ป. 6 เรียน 4 ปไมพอแลวเพราะความรูเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ตอมากำหนดเพ่ิมเปนบังคับเรียน 9 ป เรียน

6 ปไมพอแลว แตการกำหนดการศึกษาภาคบังคับขึ้นกับแตละประเทศ บางประเทศจะบังคับตองเรียน

ประเทศไทยบังคับพอ แม ผูปกครอง ถาใครมีลูกวัยเกินเรียนแลวไมสงเขาโรงเรียนไมจบการศึกษา

ภาคบังคับ จะปรับพอแม กฎหมายใหปรับ 1,000 บาท ที่เวียดนามไมปรับพอแม แตปรับกำนัน ผูใหญบาน

ถามีเด็กในหมูบานไมไดเรียนการศึกษาภาคบังคับจะถูกปรับ บางประเทศบอกบังคับใชการศึกษาภาคบังคับ

กับผูใหญดวย ผูใหญที่ตอนเปนเด็ก การศึกษาภาคบังคับ 4 ป ก็จบ 4 ปจริงๆ แลวมาถึงวันน้ีแกยังไมตาย

และยังทำงานอยู แลวเราบอกวาอยางนอยคนไทยตองรู 9 ป จะบังคับรัฐใหจัดใหหรือไม

ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เขียนไวบังคับรัฐจัดฟรี 12 ป มาตรา 43

บอกไว รัฐจะตองรับผิดชอบในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางนอย 12 ป แลวจัดโดยไมคิดคาใชจาย

หมายความวารัฐธรรมนูญตองการบังคับรัฐ รัฐออกกฎหมายตามหลังรัฐธรรมนูญ ออกกฎหมายบังคับ

ประชาชนเรียนอยางนอย 9 ป แลวก็บอกวา ถาคุณไมสงลูกเรียน 9 ป ฉันปรับคุณ 1,000 บาท แต

รัฐธรรมนูญบังคับใหรัฐจัด 12 ปฟรี ปญหาคือ ถารัฐไมจัดใครจะลงโทษรัฐ เพราะวาไมทำตามรัฐธรรมนูญ

เพราะฉะน้ันเม่ือรัฐธรรมนูญออกมาอยางนี้ เด็กไทยตอไปนี้จะตองจบการศึกษา 9 ป และถา

ประชาชนอยากเรียน 12 ป รัฐตองจัดใหซึ่งการจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือ 1) การศึกษาในระบบ 2) การ

ศึกษานอกระบบ และ 3) การศึกษาตามอัธยาศัย ตามที่กลาวไวขางตน

2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา ฐานเริ่ม คือ ระดับอนุปริญญา ในนิยามของพระราชบัญญัติการศึกษา

แหงชาติ ระบุวาการศึกษาระดับอุดมศึกษา คือ การศึกษาหลังการศึกษาข้ันพื้นฐาน เริ่มตนที่อนุปริญญา

แลวแบงเปนสายวิชาการ และสายผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญ

สายวิชาการ วิชาชีพ ก็จะมี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หลังปริญญาเอก มีจำนวน 4

ระดับชั้นดวยกัน เหนืออนุปริญญา คือ ปริญญาตรี โท เอก หลังปริญญาเอก

สายผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญมี ประกาศนียบัตรบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต ประกาศ-

นียบัตรบัณฑิต รับจากผูที่จบปริญญาตรี มาเรียนเนนเฉพาะทักษะวิชาชีพชั้นสูง ประกาศนียบัตรดุษฎีบัณฑิต

รับจากผูที่จบปริญญาเอกมาฝก สองอันนี้บานเรายังไมมี นอกจากน้ันก็ยังมีวุฒิบัตร นี้คือประเภทของ

อุดมศึกษา

64 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 66: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

สถาบันอุดมศึกษาของไทย เปนการปรับรูปแบบของสหรัฐอเมริกา เปนโมเดลของสหรัฐอเมริกา การ

แบงสถาบันอุดมศึกษาโดยทั่วไปในโลก แบงเปนกลุมๆ ดังน้ี

2.1 ระบบแรก คือ วิทยาลัยชุมชน ประเภทแรกสุดเลยรับผูสำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐานจากไฮสคูล

จาก มัธยมศึกษาตอนปลาย จากการศึกษาขั้นพื้นฐานเขาไปเรียน วิทยาลัยชุมชนในอเมริกาพัฒนามารอย

กวาป เพราะฉะน้ันขณะนี้เปนรูปแบบท่ีคงที่สมดุลพอสมควร ในอเมริกามีวิทยาลัยชุมชนพันกวาแหง ของเรา

มี 17 แหง แตละแหงของอเมริกาเปนวิทยาลัยขนาดใหญ หลักสูตรวิทยาลัยชุมชน มีคูมือหลักสูตรแตละแหง

เปนรอยๆ หลักสูตร ผลิตคนเปนรอยๆ ประเภท แตละแหงมีพื้นที่เฉพาะรับผิดชอบ ผลิตคนไปพัฒนาสังคม

และเศรษฐกิจ ยกตัวอยางเชน ที่มลรัฐฮาวายมีเกาะตางๆ เปนรอยเกาะ มีวิทยาลัยชุมชน 7 แหง แตละแหง

ครอบคลุมกี่เกาะ แบงกันดูแลรับผิดชอบ เปนตน ดังน้ัน ถารัฐจะพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในเกาะเหลานั้น

ก็จะมาคุยกับวิทยาลัยชุมชน ใหจัดหลักสูตร สรางคนเพื่อออกไปพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในกลุมพื้นที่

เฉพาะแตละแหง วิทยาลัยชุมชนอยูภายใตมหาวิทยาลัยฮาวาย ผูเรียนจบสามารถตอมหาวิทยาลัยฮาวายได

หรือจบจากวิทยาลัยชุมชนมีอาชีพแลวไมเรียนก็ได มลรัฐแคลิฟอรเนียมีวิทยาลัยชุมชนจำนวนมาก เพราะเปน

มลรัฐที่ใหญ มลรัฐโอไอวามีนอยแตครอบคลุมทุกพื้นที่ มลรัฐอิลลินอย ชิคาโก นิวยอรก จะมีวิทยาลัย

ชุมชนท้ังสิ้น ทั้งในเมือง นอกเมือง ครอบคลุมหมด แลวอุดมศึกษาก็รับชวงกันไป

2.2 ระบบท่ีสอง คือ มหาวิทยาลัยทั่วไป เปนพวกมหาวิทยาลัย ของเราก็เปนมหาวิทยาลัยเอกชน

เปนสวนใหญ ขณะนี้มหาวิทยาลัยของรัฐ เปนระบบมหาวิทยาลัยราชภัฏ ระบบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลก็อยูในกลุมท่ีสอง เนนปริญญาตรีเปนหลัก ไมสอนอนุปริญญา อาจมีปริญญาโทดวย บางแหงเร่ิม

สอนปริญญาเอก

2.3 ระบบสุดทาย คือ มหาวิทยาลัยที่สอนเฉพาะหลังปริญญาตรี โท เอก หรือหลังปริญญาเอก ใน

อเมริกา จึงมีขอหามอยูอันหน่ึงวา “หามวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี” ลองมาวิเคราะหของไทย ขณะน้ีมี

มหาวิทยาลัยของรัฐ เอกชน รวมกันทั้งสิ้นประมาณ 177 แหง ใน 72 จังหวัด แนนอนกรุงเทพฯ และ

ปริมณฑลมีมากที่สุด เพราะความเจริญ ศูนยอำนาจอยูในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในจำนวน 177 แหงยังมี

หนวยหรือศูนยบริการของมหาวิทยาลัยไปสอนตามท่ีอื่น ตางจังหวัด นอกท่ีตั้งของมหาวิทยาลัยอีก สำนักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษารวม 300 กวาแหง นอกจากมหาวิทยาลัยกลางแลวยังมีศูนยบริการฯ ภายนอก

อกี สมมุตมิหาวิทยาลัยมหาสารคามอยูตรงน้ีกม็จีดุที่ไปสอนอยูทีต่างๆ รวมท้ังในกรุงเทพฯ ดวย มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสวนดุสิตมีหนวยไปสอนที่อื่น 30 แหง มหาวิทยาลัยราชภัฏฉะเชิงเทราก็มีอีกหลายแหงเต็มไปหมด

65คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 67: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

รวมแลวมีปริมาณมหาศาล

ที่ใหขอมูลเชนนี้ เพราะไมอยากเห็นวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี อยาไดทำ ถาไปสอนปริญญาตรี

เมื่อใด จะไปดึงดูดทรัพยากร ทั้งเวลา คน เงิน และจะเลิกทำหนาที่วิทยาลัยชุมชนไปอัตโนมัติ ประโยชนจะ

ไปตกกับคนที่จบปริญญาตรี เรียนปริญญาตรีที่ไหน ขณะนี้ที่ตั้งมหาวิทยาลัยหลัก 170 กวาแหงและยังมีที่ไป

สอนในที่ตางๆ ตามสาขาอีก 300 สาขารวมท้ังหมด 500 - 600 แหง มีที่เรียนปริญญาตรีมากมาย แตปญหา

คือ หลังเรียนจบ ม. 6 แลวคนสวนหนึ่งไมรูจะไปไหนยังมีจำนวนมากในจังหวัดที่วิทยาลัยชุมชนรับผิดชอบอยู

อยาใหวิทยาลัยชุมชนไปรับใชคนกลุมนอย แลวทำใหคนกลุมใหญเสียโอกาส อยากขอรอง

ไดขาววาวิทยาลัยบางแหงทนไมไหวอยากเปดปริญญาตรี ผมจะเสียใจมาก ถาจะทำลายระบบนี้ไป

ประเทศอ่ืนที่มีวิทยาลัยชุมชนจะกำหนดหนาท่ีชัดหามเปดปริญญาตรีเด็ดขาด เหมือนนิดา (NIDA) จะสอน

ปริญญาตรีไมได จะเสียความเปนมหาวิทยาลัยที่สอนเฉพาะบัณฑิตศึกษาไปเลย วิทยาลัยชุมชนเชนกัน

รับผิดชอบงานเยอะ งานในจังหวัดมีมหาศาล อยาไปสอนในระดับปริญญาตรี จะใหกราบที่ไหนก็ได จะกราบ

ให อยาทำลายระบบวิทยาลัยชุมชน จะกลายเปนทำลายโอกาสพวกตาดำๆ ที่จบ ม.6 แลวเควงควางไปมา

“วิทยาลัยชุมชนเปนการศึกษาของประชาชนบริหารจัดการโดยประชาชนและจัดตามความตองการ

ของประชาชน”

นี่เปนปรัชญาสำคัญ ไมทราบวาปรัชญานี้จะยืนไปไดนานสักเทาใด ขึ้นกับทางการเมือง ปรัชญาของ

เราขณะน้ีเปนระบบเดียวท่ีการสรรหาผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนทำกันโดยผูแทนประชาชนในจังหวัดมาเปน

กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ไมตองสั่งมาจากกรุงเทพฯ อีกตอไปแลว หลักสูตรเกิดขึ้นจากทองถิ่นชวยกัน

คิดวา จะสรางผูจบการศึกษาอยางไรประเภทไหนดี เพื่อความสอดคลองกับความตองการทองถ่ิน เปนระบบ

การศึกษาระบบเดียวเทานั้นในประเทศไทยที่ทำไดแบบนี้ โรงเรียนเทศบาลยังทำไมไดเลย โรงเรียนเทศบาล

ที่สอนประถมศึกษา มัธยมศึกษา ยังเอาหลักสูตรมาจากสวนกลางไปสอน ดีหนอยที่ใหเอาเนื้อหาในทองถ่ิน

30% แตวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยคิดเองไดหมดเลย จะสรางหลักสูตรอะไรไมมีใบสั่งมาจากสวนกลาง ที่

สกอ. (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) ไมมีสิทธิ์ไปบอกทานวา เปดหลักสูตรน้ี ปดหลักสูตรน้ี ไมมี

สิทธิ์เปด แลวสิทธิ์ไปอยูที่ไหน สิทธ์ิอยูที่สภาวิทยาลัยชุมชน หรือคนในจังหวัดชวยกันคิดแลวเสนอสภาฯ

66 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 68: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ความเช่ือมโยงของวิทยาลัยชุมชน

วิทยาลัยชุมชนเปนระบบการศึกษาท่ีเชื่อมโยงกับระบบการศึกษาอื่น ๆ ดังน้ี

1. เปนสะพานเช่ือมระหวางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับการศึกษาระดับปริญญา เชื่อมไดมากที่สุด ทำได

มากท่ีสุด ในบางจังหวัด แตละอำเภอมีโรงเรียนมัธยม 1-2 แหง บางอำเภอมากกวา 2 แหง เด็กจบ ม.6

แลวไปเขามหาวิทยาลัยไมไดทุกคน เพราะความยากจน เพราะมีจำนวนรับจำกัด และอื่นๆ ถาไมมีวิทยาลัย

ชุมชน เขาจะเควงควาง รับจางสงยาบา ไปทำสิ่งผิดกฎหมาย ที่ผานมาไมเคยเรียนวิชาไถนาจากปู ยา ตา

ยาย หรือนอยมาก ทำใหขาดการเรียนรู ทักษะ ภูมิปญญาชาวบาน ทักษะทำกับขาว ฯลฯ เพราะระบบการ

ศึกษาไปพรากลูก /หลานจากการเรียนรูในวัด ในบาน ในชุมชน แตถูกจับมาใสในโรงเรียน 12 ป เรียน

จันทรถึงศุกร เทานั้น

ทานพุทธทาสบอกวา “การศึกษา หมาหางดวน” กระดิกหางยังไมเปนเลย พอจบ ม.6 ไปไหนก็ไมได

เปนมนุษยสุกๆ ดิบๆ เดิมเด็กชายหัดสานกระบุง เด็กผูหญิงหัดทอผา หัดทำกับขาว หัดทำความสะอาดบาน

เรือน แตระบบโรงเรียนไมทำในเรื่องเหลานี้ พอจบ ป.6 ทำอะไรไมเปน ไดแตนุงกางเกงยีนส ใสเสื้อยืด ชุด

กะเหรี่ยงไมเอาแลว เราไปเอาพอแมเขามาแลวถาม เขาวาอยากใหอะไรลูกหลานบางนอกจากวิชาที่สอน พอ

แมอยากใหสอนลูกเขา รักดิน รักน้ำ รักตนไม ไดไหม เพราะกะเหร่ียงอยูกับปา อยากใหสอนทำการเกษตร

เปน ใหสอนวัฒนธรรมกะเหรี่ยง ในเมืองก็เหมือนกัน ไมมีการเรียนรูใหตัวเองอยูได แตอยูงายขึ้น เพราะมี

อาหารถุง 3 มื้อ ไมตองทำกับขาวเอง วิถีชีวิตเปล่ียนไป ระบบการศึกษาถาจบ ม.6 แลว ทำอะไรไมไดเลย

ที่ตางประเทศจึงไดจัดวิทยาลัยชุมชนข้ึนมา เพื่อรองรับใหศึกษาตอขึ้นไปอีก เปนสะพานเช่ือมระหวางระบบ

การศึกษา การฝกอบรม กับโลกของการทำงาน เพราะฉะนั้นวิทยาลัยชุมชนตองเนนตรงนี้อยางมาก ใน

หลักสูตรตองเนนตรงนี้

2. เปนสะพานเช่ือมระหวางหลักสูตรกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจในชุมชน เพราะ

หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตองเปดเร็ว ปดเร็ว ตามความตองการของชุมชน หลักสูตรตองพัฒนาไปพรอมกับ

การเปลี่ยนแปลงของชุมชน ทั้งเศรษฐกิจและสังคม เพราะเปาหมายของวิทยาลัยชุมชน คือ

2.1 พัฒนาชีวิตของคนในชุมชน ผานกระบวนการเรียนรู และฝกฝนตนเอง

2.2 ใหการศึกษาและฝกอบรม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางวัตถุ สิ่งแวดลอม สังคม และ

วัฒนธรรม

67คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 69: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

2.3 ใชการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีสำหรับปจเจกบุคคล สำหรับครอบครัว

และชุมชน

ประเด็นการเรียนภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ เม่ือมีกระแสการเปล่ียนแปลงสังคมเกิดขึ้น และวิทยาลัย

ชุมชนไดจัดระบบการศึกษาท่ีรวมการเปล่ียนแปลงท้ัง 3 ดาน คือ ความรู ทักษะ คุณคา คุณธรรม แลว จะ

เปนภูมิคุมกันลูกศิษยที่จบอนุปริญญา ภูมิคุมกันสำหรับปจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน ไมวากระแสพัฒนา

ที่ไหนเขามาจะมีภูมิคุมกันที่ดี เชน มีหวยออนไลน แตวาในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปมีการสอนใหความรู

ใหคุณคาในเรื่องศีลธรรม วัฒนธรรมที่ดี ปฏิเสธอบายมุข ลูกศิษยก็จะปฏิเสธอบายมุข หวยออนไลนเขามา

ก็ไมกระทบ เพราะไมไดลุมหลงติดการพนัน นี่คือ ระบบภูมิคุมกัน

กระแสการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีลงไปสูชุมชนมีทั้งกระแสท่ีดีขึ้นและเลวลง คำถามคือ “วิทยาลัย

ชุมชนจะมีบทบาทอยางไรท่ีจะทำใหคนในชุมชนหรือลูกศิษยฉลาดพอท่ีจะแยก เลือกไดวา กระแสอะไรท่ี

นำความดีมาให และนำเอาความไมดี ความช่ัวมาให” ตองแยกไดและตองกลาที่จะยืนหยัดตอสูกับความ

ถูกตอง ความดีอันนั้น ถาทานทำได วิทยาลัยชุมชนจะมีประโยชนมหาศาลตอการอยูรอดของชุมชนและ

ความเขมแข็งของชุมชน

หลักสูตรวิทยาลัยชุมชน ความเปนตัวตนท่ีแทจริงของวิทยาลัยชุมชนเริ่มจากพิมพเขียว คือ หลักสูตรที่จะสรางคน ออกแบบคน

ใหรูทันการเปลี่ยนแปลงตางๆ หลักสูตรจะแบงออกเปนหมวดวิชา จากหมวดวิชาแบงเปนกลุมวิชา และจาก

รายวิชาจะเปนอะไร ตองทำความรูจักรายวิชาคืออะไร

รายวิชา เปนหนวยที่เล็กที่สุดของการจัดการศึกษา เราไมสามารถแบงเล็กกวาน้ันไดอีก จึงกำหนด

เปนรายวิชา เมื่อหลายๆ รายวิชารวมกัน จะออกมาเปน 1 กลุมวิชา หลายๆ กลุมวิชาจะออกมาเปนหมวด

หลายๆ หมวดวิชาจะออกมาเปนหลักสูตร

ในหลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตอนน้ี ตองสรางคนใหมี 2 องคประกอบหลักๆ คือ (1) นักวิชาชีพ และ

(2) ความเปนคน ในเกณฑมาตรฐานโครงสรางหลักสูตร มีหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะดาน และ

หมวดวิชาเลือกเสรี แตละหมวดหมายความวาอยางไร

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เปาหมายเพื่อผลิตคนที่สมบูรณ ตามปรัชญาของหลักสูตร และตาม

วัตถุประสงคของหลักสูตร หมวดวิชาเฉพาะดานผลิตนักวิชาชีพ แตเปนนักวิชาชีพอยางเดียวไมพอตองเปน

68 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 70: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

คนที่สมบูรณเพื่อรองรับฐานวิชาชีพนั้นดวย มิฉะน้ันจะไดแตนักวิชาชีพแตเปนคนไมมีจรรยาบรรณ เปนคน

ขี้โกง เปนคนท่ีเขากับใครไมได ทำงานท่ีไหนก็ไมได พูดไมรูเรื่อง รูแตบัญชีอยางเดียว อยางอื่นไมรูเลย

หมวดวิชาศึกษาทั่วไปมีไวเพ่ือทำใหเขาเปนคน ตองการความเปนคนที่พรอม สมบูรณ มีลักษณะ

ที่พึงประสงค เชน บัณฑิตที่จบแลวมีคุณลักษณะที่พึงประสงค 1, 2, 3, 4, 5 สวนวิชาชีพก็ใสวิชาเฉพาะดาน

สวนที่อยูนอกเหนือวิชาชีพ คือความเปนคนทั่วๆ ไป นำมาใสในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หรือเรียกอีกอยางวา

เปนลกัษณะทั่วไปของความเปนคน เปนคุณสมบัติทั่วไปของนักวิชาชีพ

2. หมวดวิชาเฉพาะ บางทีเรียกวา หมวดวิชาเอก หรือหมวดวิชาเฉพาะดาน หมวดวิชาเฉพาะเปนกลุม

เนื้อความรูของมนุษย ที่เอามาจากวงเคกความรูแตละศาสตร แลวแบงเปนสาขาวิชา อยากใหคนจากที่ไมรู

อะไรแลวตองการใหมารูเรื่องอะไร อยากใหคนที่ทำอะไรไมเปนแลวตองการใหมาทำอะไรเปน ใหนำมา

กำหนดในหมวดน้ี สุดทายคนจบมาแลวตองเปนไปตามวัตถุประสงคหลักสูตร คือ รูอะไร ทำอะไรเปน และมี

คุณคาอะไร นั่นคือ กำหนดองคความรูหรือเนื้อหาความรูใสไวในหมวดวิชาเฉพาะ เพื่อไปผลิตบุคลากร

ประเภทน้ันๆ เชน หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการบริหารองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เม่ือจบแลวมี

วัตถุประสงค 4 ขอ คือ 1, 2, 3, และ 4 จะตองทำใหบรรลุวัตถุประสงค ทำอยางไรจะใหผูจบไดทั้ง 4 ขอ

ดังนั้น จึงตองกลับมาพิจารณาเน้ือหาวิชาและการฝกปฏิบัติอยางไร นำมาใสไวในหมวดวิชาเฉพาะดาน จบ

ออกมาเปนนักบริหารองคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรืออนุปริญญาสาขาบัญชี จบออกมาเปนนักบัญชี หรือ

หลักสูตรผูดูแลศูนยเด็กเล็ก ออกมาเปนผูดูแลศูนยเด็กเล็ก

ดังนั้น หมวดวิชาเฉพาะดาน คือ เนื้อความรูในสวนท่ีผูเรียนจะเปนนักนั่น นักนี่ แตการท่ีเขาจะเปน

นักนั่น นักนี่ เขาจะตองมีความเปนคนท่ีพึงประสงค เปนนักบัญชีแตก็ตองเปนคนที่พึงประสงค เปนหมอ

ก็ตองเปนคนที่พึงประสงค เปนทนายความก็ตองเปนคนที่พึงประสงค วิทยาลัยชุมชนจึงตองประกันผูจบวา

ความเปนคนของผูจบจากวิทยาลัยชุมชนอยูตรงไหน ซึ่งอยูในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป คือ พัฒนาความเปนคน

หมวดที่ 1 และ 2 ที่กลาวมา เปนหมวดที่ผูเรียนถูกบังคับใหเรียนแลวจึงจะไดอนุปริญญา และเพื่อ

ตอบสนองผูเรียนท่ีมีความสนใจแตกตางกันไป จึงไดมีหมวดวิชาอีกหมวดหนึ่งเพิ่มขึ้น คือ หมวดที่ 3

หมวดวิชาเลือกเสรี

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ตองการใหสอดคลองกับความสนใจเฉพาะของผูเรียนแตละคนหรือตาม

ศักยภาพผูเรียน เพราะฉะน้ันหมวดวิชาเลือกเสรีเปนหมวดวิชาที่สถานศึกษาสรางรายวิชาไวจำนวนมากข้ึน

บัญชีไว เปนบัญชีหมวดวิชาเลือกเสรี เราจึงตองรูธรรมชาติผูมาเรียน นอกจากหลักสูตรที่เปนหมวดวิชาหลัก

69คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 71: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

แลวเขาสนใจอยากจะรูอะไรเพ่ิม ตองอาศัยความเขาใจในภูมิหลังและสังคมในจังหวัด

ความเขาใจคนท่ีจะมาเรียน เชน วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มีหลักสูตรอนุปริญญาการบัญชี การตลาด

หมวดวิชาเลือกเสรีจะเปดอะไรใหเขาเลือกเรียนจึงจะสอดคลองความตองการสำหรับคนอยูภูเก็ต อาทิ วิชา

การแลนเรือยอรช 3 หนวยกิต วิชาการทำปลาเกา วิชาการตกปลาทะเลน้ำลึก วิชาการดำน้ำ ที่มีทั้งทฤษฎี

และปฏิบัติ บางครั้งวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรีสามารถนำไปทำมาหากินได จึงอยากฝากผูอำนวยการวิทยาลัย

ชุมชน ใหความสนใจตรงนี้เปนพิเศษ ชวยสรางหมวดวิชาเลือกเสรี ไมจำกัดวาเปนผูเรียนหลักสูตรไหน

ตางคนตางมาเรยีนดวยกนัได เพราะวาเปนวชิาเสรทีีว่ทิยาลยัชมุชนนัน้ๆ จดัขึน้สำหรบัผูเรียนในจงัหวดัของตน

หมวดวิชาเลือกเสรี เปนส่ิงท่ีสวยงามมากแตมีคนไมเขาใจ นาเสียดายหากมีใหเด็กเลือกนอยเกินไป

จะกลายเปนบังคับเลือก จึงตองดูภาพรวมท้ังหมด ทั้งจังหวัด เหมาะสมตรงไหน ตองไปถามผูเรียนบอยๆ วา

อยากเรียนอะไร เพราะฉะน้ันตองจัดใหมีเลือกเยอะๆ

หลักสูตรวิทยาลัยชุมชน หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนหมวดศึกษาทั่วไป โดยที่หลักสูตรมี 3 หมวดวิชา แตละหมวดวิชามีกลุมวิชา

ดังนั้น เริ่มที่หมวดวิชาศึกษาทั่วไปมี 4 กลุมวิชา ไดแก (1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร (2) กลุมวิชา

มนุษยศาสตร (3) กลุมวิชาสังคมศาสตร และ (4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กลุมที่ 1 วิชาภาษาและการสื่อสาร ตองการเนนความสามารถในการสื่อสารและภาษา นักศึกษาจบ

แลวมีคุณสมบัติที่พึงประสงคตามท่ีตองการ เปนคนที่สมบูรณแลว เวลาจัดรายวิชาในกลุมวิชาตางๆ

พยายามยึดตรงนั้นไว ยกตัวอยางเชน ภาษาและการส่ือสาร ตองถามตัวเองวายุคนี้เปนยุคโลกาภิวัตนเปนยุค

ของ IT ผูจบอนุปริญญาตองการใหมีคุณสมบัติที่พึงประสงคไปทำงานได ควรจะรูเรื่องภาษาอะไรบาง ควร

จะมีทักษะในการสื่อสารทางไหนเปนบาง แลวควรจะมีคุณธรรม จริยธรรมกำกับวิชาภาษาอยางไร มี

คุณธรรม จริยธรรมในการใชทักษะทางการสื่อสารอยางไร ทุกวิชาจะมีเนื้อหาวิชา มีทักษะและจริยธรรม

กำกับทุกรายวชิา

สมมุติวาภาษาอังกฤษมีความสำคัญก็ตองใสเน้ือหาลงไป จังหวัดอยูใกลชายแดนลาว หลักสูตรนี้ผูจบ

จะตองติดตอปฏิสัมพันธกับลาว ตองใชภาษาลาว ก็ไปกำหนดหลักสูตรใหเปดภาษาลาว 1-2 หนวยกิต ตาม

ความเหมาะสม หรือใน 3 จังหวัดภาคใตสอนภาษามาเลย หรือยาวี จะทำใหเขามีคุณลักษณะที่พึงประสงค

สามารถทำงานอยูในพื้นที่นั้นได จึงตองคิดอยางเปดกวาง หรือชายแดนพมาก็ใหสอนภาษาพมา อยาไปเตน

70 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 72: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ตามกระทรวงศึกษาธิการที่อยูกรุงเทพฯ มากนัก แตตองพยายามตอบโจทยของพื้นที่ ซึ่งอาจเปนคนละโจทย

กับในกรุงเทพฯ ก็ได

ประเด็นเครื่องมือสื่อสาร อยากใหผูเรียนใชเครื่องมือสื่อสารอะไรเปนบาง เชน รับโทรศัพทเปนไหม

ใชโทรศัพทมือถือ โทรศัพทบาน โทรศัพทสำนักงาน การรับ-สงแฟกซ อินเทอรเน็ต, อีเมล ตองสอนเขาหรือ

ไม และตองมีหองปฏิบัติการ ใหมีทั้งทฤษฎี จบจากวิทยาลัยชุมชนแลวทำงานได

กลุมที่ 2 วิชามนุษยศาสตร และ กลุมที่ 3 วิชาสังคมศาสตร วิชามนุษยศาสตรกับวิชาสังคมศาสตร

วิชามนุษยศาสตรเปนวิชาท่ีเกี่ยวกับคน วิชาสังคมศาสตรเกี่ยวกับคนหมูมาก เปนสังคมขึ้นมา วิชาภาษาและ

การส่ือสารจัดอยูในกลุมมนุษยศาสตร แตการแยกออกเปนกลุมวิชา ประเทศอ่ืนมาดูเขาจะไมเขาใจ เพราะ

ภาษาและการสื่อสารมันอยูในกลุมใหญของวิชามนุษยศาสตร เวลาเขียนตองนึกดวยวาหลักสากลใชอะไร

การแยกออกจากกันไมควรแยกเปนอยางยิ่ง ยิ่งตอนนี้ไมไดกำกับวากลุมวิชากี่หนวยกิต ดังนั้น ควรจัด

หมวดหมูใหถูกตองตามที่ UNESCO แบงไวและทั่วโลกไดทำตามนี้

วิชามนุษยศาสตร มาคิดกันวา เกี่ยวกับเร่ืองความเปนไทย ความเปนสากล วัฒนธรรมใสเขาไปหรือ

ไม นอกจากน้ี พิจารณาเร่ืองศาสนา เชน วิชาศาสนสัมพันธ เรื่องคุณธรรม จริยธรรมสำคัญมาก หลักการ

ครองตน ครองคน ครองงาน สำคัญมาก มีหลักเหลาน้ีปรากฏในหลักสูตรหรือไม คำนึงถึงหลักคิดดาน

ความรู ทักษะ ทั้งทักษะชีวิต ทักษะงาน จะอยูในหลักสูตรสวนน้ีหรือไม ตองถามตัวเอง

ในกลุมสังคมศาสตร จะทำอยางไรใหผูเรียนเขาใจความแตกตางระหวางจังหวัดชายแดนภาคใต

อีสาน เหนือ ตะวันตก ตะวันออก จะใสเนื้อหาอะไรเขาไปเพื่อผูจบไปแลวเขาใจในบริบทของสังคมที่เขา

ทำงานอยู ในกลุมสังคมศาสตรขอฝากไววา สิ่งที่ออนแอมากสำหรับคนไทย คือ การบริหารจัดการหรือการ

จัดการ ดังนั้น หลักสูตรควรมีรายวิชาเรื่องการบริหารจัดการใหบางไดไหม รวมทั้งเร่ืองเศรษฐศาสตร ไมวา

จะเปนเศรษฐศาสตรพื้นฐาน เศรษฐศาสตรครัวเรือน บัญชีครัวเรือน รวมถึงเรื่อง กฎหมายสำหรับคนไทย

ทั่วไป จำเปนตองรู เชน รัฐธรรมนูญ สวนกฎหมายเฉพาะทางจะอยูในวิชาเอก คนไทยควรจะรูกระบวนการ

ยุติธรรมเปนอยางไร อัยการกับตำรวจตางกันอยางไร กฎหมายแพงและอาญาคืออะไร ศาลรัฐธรรมคืออะไร

ศาลปกครองคืออะไร เปนเรื่องควรจะรูหรือไม เพราะกระบวนการเหลานี้มันไปเกี่ยวของกับวิถีชีวิต จบ

อนุปริญญาแลวควรไดรูเร่ืองเหลานี้ ตองตอบคำถามวาผูจบจะมีความสุขไหมเมื่อออกไปทำงานที่จังหวัด ที่

อำเภอ ติดตอกับหนวยงานตางๆ องคกรปกครองสวนทองถิ่นแลวรูวามีการแบงเปนอยางไร มีหนาที่อยางไร

ถึงแมเรียนหลักสูตรบัญชีก็ตาม แตถาเปนหลักสูตรองคกรปกครองสวนทองถ่ินเร่ืองเหลานี้จะอยูในวิชาเอก

71คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 73: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

(Major) อยูแลว สวนสาขาอ่ืนๆ เรื่องนี้จะเปนเรื่องทั่ว ๆ ไป (General)

กลุมที่ 4 วิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ขณะนี้ตองระลึกรูวา เรากำลังสรางหมวดวิชา

ศึกษาท่ัวไปในระดับอนุปริญญา รับผูจบมาจากมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงตองไปดูหลักสูตรมัธยมศึกษาตอน

ปลายดวย

เนื่องจากหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปตองการสรางความเปนคน และคุณลักษณะท่ีตองการของจังหวัดนี้

เปนอนุปริญญาของจังหวัดนี้ แลวชุมชนจังหวัดอยากไดอะไร ดังน้ันระดับของเน้ือหาและประเภทเนื้อหาที่จะ

ใสเขาไปจึงตองไปดูวา มัธยมศึกษาตอนปลายเขาสอนอะไรไปแลวบาง แตละศาสตรมีหลักของศาสตรและ

ความลึกของศาสตรอยู หัวขออาจซ้ำไมเปนไร แตในแงความลุมลึกตองลึกกวามัธยมศึกษาตอนปลาย

เพราะเปนระดับอนุปริญญาแลว และผูเรียนอนุปริญญาตองไปตอระดับปริญญาตรีดวย จึงตองไปดูหลักสูตร

ปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยตางๆ นเรศวร เชียงใหม สงขลานครินทร ขอนแกน ในละแวกใกลวิทยาลัย

ชุมชนวา หมวดวิชาศึกษาทั่วไปสอนอะไรบาง วิทยาลัยชุมชนจะสงตออยางไร

สมมุติจะสงตอมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไปคุยกันแลวลงนามให

เรียบรอยวาหลักสูตรนี้จากวิทยาลัยชุมชนนี้ จะไปตอที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี แลวจะไปทำเทียบโอน

รายวิชาก็ตองคุยกับเขาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ถาทำอยางนี้จะทำใหลูกศิษยที่ไปเรียนตอไดสะดวกและ

มากย่ิงข้ึน ขอเตือนวาหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ใหกำหนดรายวิชาเพ่ือใหไดลักษณะเฉพาะของผูจบวิทยาลัย

ชุมชนกอน สวนตอนลงเนื้อหาและความลึก ใหไปเปดดูหลักสูตรระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับ

ปริญญาตรีของสถาบันที่รวมมือสงลูกศิษยไปเรียนตอดวย จึงจะไมซ้ำกัน และยังทำใหการเรียนการสอน

หลักสูตรของเราจะมีคุณคาทันที เขาจะยกเวนให เด็กก็จะสบาย แตบางรายวิชาไมอยูในหลักสูตรของเขา

แตจำเปนสำหรับวิทยาลัยชุมชนก็ใหบรรจุลงไป ซึ่งอาจสามารถเทียบโอนได

เน้ือหาหลักสูตร การศึกษาโดยท่ัวไปแลวมีขอมูลพ้ืนฐานของหลักสูตร ไมจำเปนตองเหมือนกันทุกอยาง การทำ

หลักสูตรการศึกษาพื้นฐานของทุกประเทศจะประกอบดวย เนื้อหา 3 สวน คือหลักสูตรเก่ียวกับเนื้อหาสากล

เนื้อหาชาติ และเนื้อหาทองถิ่น ดังนี้

1. เนื้อหาสากล คือ เนื้อหาสากลท่ีประเทศตางๆ เปดสอนในหลักสูตรเดียวกัน ถาอยากรูวาพลเมือง

ในอนาคตของไทยกับพลเมืองของอิสราเอล เมื่อโตขึ้นไปแลวจะตองรูอะไรเกี่ยวกับเนื้อหาสากลพอๆ กัน ก็

72 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 74: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ตองไปดูหลักสูตรเขาวาเขาสอนอะไรบาง เด็กไทยกับอิสราเอลเรียนเน้ือหาสากลอะไรบาง ใกลเคียงกันไหม

จะไดทันกับเขา ถาอยากรูวาหลักสูตรพื้นฐานของจีนแผนดินใหญ อเมริกาเปนอยางไร (อนาคตเราตองไป

คาขายกับจีน อเมริกา) เราจะตองรูวาหลักสูตรเขามีอะไร สอนอะไร และเราทันเขาไหม เด็กของเราโตขึ้น

เปนพลเมืองไทย จะทันเขาหรือเปลาก็ไมรู เราก็ตองไปดูเขาเหมือนกัน ความสำคัญเนื้อหาสากล เพราะเปน

เรื่องที่เราตองแขงกับเขา จะเปนวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ จัดเปนเน้ือหาสากลเชนกัน

2. เนื้อหาชาติ คือ เนื้อหาสำคัญที่ชาติควรใหนักศึกษาไดมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับชาติตนเองซึ่ง

ตองจัดเน้ือหาใหเหมาะ เชน ชาติอิสราเอล เขาวิเคราะหชาติเขาแลว เขาเปนประเทศเล็กๆ ทรัพยากร

ธรรมชาติเกือบไมมีเลย น้ำจืดมีนอยมาก หอมลอมดวยประเทศอาหรับซึ่งเปนศัตรูทั้งน้ันเลย เพราะฉะน้ันเขา

จะตองใหลูกหลานเขาเรียนประวัติศาสตรใหเขม จะไดรูวาประวัติศาสตรชาติยิวถูกขับออกจากบริเวณ

ประเทศกี่ครั้งแลว ประวัติศาสตรหาพันหกพันปของเขาแลวเขากลับมาไดอยางไร เขาตอสูเพื่อความอยูรอด

อยางไร แลวสงครามในอนาคตพลเมืองเขาหยิบปนขึ้นมาสูอะไรไดบาง เขาตองใสไวหมด

หลักสูตรของไทยก็เหมือนกัน อยากใหคนไทยในอนาคตรักชาติไหม เขาใจชาติบานเมืองตัวเอง

เพียงใด จะตองยืนหยัดตอสูเพื่อความมั่นคง ความอยูรอดของชาติ เพียงใด ก็ใสเน้ือหาลงไปในหลักสูตร

ดังนั้นหลักสูตรจึงสำคัญที่สุด

3. เนื้อหาทองถิ่น เปนหลักสูตรท่ีตองปลูกฝงใหนักเรียนรัก หวงแหน ตระหนัก และเห็นความสำคัญ

ของทองถ่ิน เราอยากใหเด็กไทยที่มาจากพิจิตร เรียนในโรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษาพิจิตร รูเรื่อง

พิจิตรบางไหม รูเร่ืองภาคเหนือตอนลางบางไหม ภาคกลางตอนบนบางไหม ก็ใสเน้ือหาลงไปในหลักสูตร

ทองถ่ิน เด็กท่ีมาจากจังหวัดทางภาคใตตอนบน ตอนลาง จำเปนตองรูเก่ียวกับประวัติภูมิภาคของเขามาก

นอยเพียงใด ก็ใสเนื้อหาเหลานั้นลงไปในหลักสูตรทองถ่ิน

จากนั้นมาดูอาชีวศึกษา อุดมศึกษา อาชีวศึกษา เปนการศึกษาที่มีวัตถุประสงคเพื่อสรางชางนานา

ชนิด ผูสราง ผูปฏิบัติงานนานาชนิดระดับกลาง อุดมศึกษาสรางนักวิชาการกับนักวิชาชีพชั้นสูง เปนเร่ือง

ของการศึกษา เด็กอยูป 1 วิศวะจุฬาฯ ในระหวางที่เขาอยูป 1 จฬุาฯ นี้เขาเรียนรูจากในระบบการศึกษาและ

นอกระบบการศึกษาดวยหรือเปลา ถาสมมุติวาหลังจุฬาฯ มีแตอบายมุข นิสิตก็จะเรียนรูแตสิ่งเหลานั้น แลว

แตเราจะจัดบานเมืองของเราอยางไร ซึ่งกระบวนการเรียนรูเกิดตลอดเวลา

73คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 75: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

องคประกอบของหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน

การเขียนหลักสูตรทุกหลักสูตร จะมีหัวขออยูไมกี่หัวขอที่จะตองคำนึงถึง ไดแก

1. ชื่อหลักสูตร หลักสูตรอะไรก็บอกไป เมื่อจบหลักสูตรแลวไดอนุปริญญาอะไร

2. ชื่ออนุปริญญา สาขาอะไรก็วาไปเปนไปตามหลักสากล

3. หลักการและเหตุผล ในการเปดหลักสูตร สวนมากจะเปนขอมูลวาไปศึกษาอะไรมา มีขอมูล

พื้นฐานอะไรบาง มีการขอรองจากใครบาง ที่ทำใหจำเปนตองมาสราง หลักสูตรนี้ขึ้นมา จะเปนการตอบ

คำถามหลักๆ สอง สาม คำถาม คือ (1) ทำไมตองเปด ตองตอบใหได หลักการและเหตุผลจะบอกวาทำไม

ตองเปดแลวไปเกี่ยวของอยางไร (2) เด็กที่เรียนจบแลวไปทำงานที่ไหน ทำใหที่นั่นดีขึ้นอยางไร เขมแข็ง

อยางไร มีประสิทธิภาพอยางไร จะตองเขียนไว (3) บางหลักสูตรจะมีปรัชญาของหลักสูตร แตสวนใหญ

ไมคอยสนใจ ปรัชญาหลักสูตรเปนความคาดหวังอันสูงสุดในการผลิตคนทางดานน้ี

4. วัตถุประสงคของหลักสูตร การจะสรางหลักสูตร ตองบอกไดวาหลักสูตรน้ีมีวัตถุประสงคอะไรบาง

เปนการตอบคำถามวา เมื่อผูเรียนจบการศึกษาตามหลักสูตรน้ีแลวเขามีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง เพราะ

ฉะนั้นวัตถุประสงคของหลักสูตรคือ ผูสำเร็จการศึกษาจะมีความรู ความสามารถอะไรบาง ไดแก

4.1 มีความรูดานไหน ระดับไหน

4.2 มีทักษะอะไรบาง

4.3 มีระบบคุณธรรมอะไรบาง

อาจมีอยางอื่นอีกแตหลักๆ แลวจะพูดถึงวา เม่ือจบการศึกษาแลวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางที่เรา

ตองการ เพราะฉะน้ันใครก็ตามที่บริหารหลักสูตร กรรมการบริหารก็ดี ครูที่สอนในรายวิชาก็ดี จำเปนตองรู

วาหลักการและเหตุผลในการเปดหลักสูตรคืออะไร สวนใหญไมเคยอานเลยวาหลักสูตรน้ีคืออะไร มีหลักการ

และเหตุผลอยางไร มีวัตถุประสงคอยางไร ไดแตสอนไปเฉพาะเน้ือหาของรายวิชา ซึ่งไมถูก จึงตองถามตัว

เองเลยวาภาพรวมคืออะไร ดังนั้น เวลาจัดการบริหารหลักสูตรขอความกรุณาจัดปฐมนิเทศผูที่จะมาสอน

ดวย ถาทำไดจะดีมากๆ

5. โครงสรางหลักสูตร โครงสรางหลักสูตรมีอะไรบาง สวนใหญก็จะเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน

โครงสรางหลักสูตรของ สกอ. เพราะฉะน้ันโครงสรางหลักสูตรจะมีเกณฑมาตรฐานของชาติอยู ซึ่ง สกอ.

ดูแลอยู ไดแก

74 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 76: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

5.1 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

5.2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 57 หนวยกิต

5.3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 3 หนวยกิต

ถาไปดูโครงสรางหลักสูตรของจีน จะมีโครงสรางอีกรูปแบบหน่ึง คำถามคือ ผูเรียนจะตองมี

คุณสมบัติอยางไรบาง จบอะไรมาจะตองเปนคนอยางไร มีความสามารถทางไหน เพื่อใหเหมาะสมกับการมา

เรียนหลักสูตร คุณสมบัติของผูที่จะเขามาศึกษานี้ วัตถุประสงคมีอันเดียว คือ ทำอยางไรเมื่อกำหนด

คุณสมบัติแลวผูเรียนจะสำเร็จได ไมใชมาแลวก็ตก เพราะฉะน้ันคุณสมบัติของผูที่จะเขามาศึกษาก็ตองบอก

ตอไป เราจะบอกวาจะรับปละกี่คน ทำแผนระยะยาว 5 ป 10 ป ปนี้รับไดกี่คน ปหนารับไดกี่คน จำนวนรับ

และจำนวนท่ีคาดวาจะจบก่ีคน สวนมากจะกำหนดจำนวนรับเทาไร เชน ปนี้จะรับ 45 คน คาดวาจะจบก่ีคน

ในการคาดเวลาจบน้ีเปนการคาดผลผลิต (Output) และผลลัพธ (Outcome) จากน้ันจะพูดรายละเอียด

หลักสูตร

6. รายวิชา มีคำตางๆ ที่ควรจะรู เชน รายวิชา หรือ คอรส จะมีชื่อรายวิชา กอนจะต้ังช่ือขอใหเขาใจ

วิธีตั้งช่ือรายวิชาดวย ตั้งชื่อไมไดตั้งประโยค ไมไดตั้งวลี แยกใหออกวาตั้งช่ือตองเปนนาม เปนวลี เปน

ประโยค แยกใหออกทั้ง 3 อยาง

เวลาตั้งชื่อรายวิชาอยาใหเชย บางแหงตั้งช่ือเปนประโยคเหมือนต้ังช่ือ นามสกุล ซึ่งไมใช ชื่อรายวิชา

ตองมีภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

เสร็จแลวมีรหัสรายวิชา รหัสรายวิชาใชเฉพาะสถานศึกษาน้ันๆ จะใหรหัสวิชาอยางไร รายวิชา

บช.001 แลวแตเรา การกำหนดรหัสรายวิชาเพื่อสะดวกในการที่ลงคอมพิวเตอร ลงทะเบียน ลงใบแสดงผล

การเรียน (Transcript) เปนระบบแบบเดียวกันหมด ตรวจสอบงายดี เพราะฉะน้ันรหัสรายวิชาตองมี

เมื่อมีวัตถุประสงคหลักสูตร ก็มีวัตถุประสงครายวิชา มีเนื้อหารายวิชา มีการบริหารรายวิชา มี

หนังสืออานประกอบรายวิชา แลวก็มีการวัดและประเมินผลรายวิชา ที่เรียกวามี Course Syllabus ก็จะครบ

7. วัตถุประสงครายวิชา ตองชัดเจนเม่ือเรียนแลวนักศึกษามีความรู มีทักษะ มีระบบคุณคา

คุณธรรมอยางนี้ เนื้อหารายวิชาเราก็ตองบอกวารายวิชานี้ประกอบดวยอะไรบาง การบริหารรายวิชาเราตอง

เอาวัตถุประสงค เนื้อหามาแจงวาภาคการศึกษาน้ี ชั่วโมงท่ีหน่ึงจะสอนอะไร ใครสอน และช่ัวโมงท่ีสาม สี่

หา จนจบ หนังสืออานประกอบในแตละช่ัวโมงมีอะไรบาง เสร็จแลวเม่ือจบแลวตองวัดและประเมินผล

อยางไร ตองบอกไวใหหมด มีวิธีวัดอยางไร มีวิธีประเมินอยางไร ก็เปนการจบเร่ืองของรายวิชา

75คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 77: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

8. กิจกรรมของรายวิชา การกำหนดกิจกรรมของรายวิชา ยกตัวอยางเชน ชื่อรายวิชาศาสนสัมพันธ

มี 3 หนวยกิต และมีตัวเลขอยูขางหลัง ตัวเลขในวงเล็บตองบวกกันไดเทากับตัวเลขที่อยูหนาวงเล็บ สวนมาก

แลวตัวเลขแรกจะหมายถึงทฤษฎีหรือชั่วโมงบรรยาย ตัวเลขที่ 2 จะหมายถึงทักษะหรือช่ัวโมงปฏิบัติ สวน

เรื่องคุณธรรม จรยิธรรมก็ไปแทรกอยูในทฤษฎี แทรกอยูในทักษะ แทรกอยูทุกแหงคุณธรรม จริยธรรมตอง

แทรกอยูในทุกชั่วโมง ทุกกิจกรรม ครูผูสอนตองดึงจริยธรรม คุณธรรมออกมาใหไดตลอด อยางสหสัมพันธ

ถาเขียนเปน 3 (3 - 0) ก็หมายความวาท้ังหมดเปน 3 หนวยกิต ตองจัดชั่วโมงบรรยายหรือทฤษฎีใหได 3

หนวยกิต

คำวา “หนวยกิต” ก็คือนำ้หนักหรือเครดิตนั่นเอง เปนยูนิตเปนหนวยวัดน้ำหนักของความเปนวิชาการ

ถา 3 (2 - 1) หมายความวาหนวยกิตรวมของรายวิชานี้เปน 3 หนวยกิตเปนการสอนทฤษฎี 2 หนวยกิต

และมีปฏิบัติเปน 1 หนวยกิต แตถา 3 (0 – 3) คือ ไมมีการสอนทฤษฎี อาจจะใหไปคนควาเอง แตมีชั่วโมง

ปฏิบัติมีครูไปกำกับใหปฏิบัติ แตรวมกันแลวใหเทากับขางหนา ในการกำหนดหนวยเหมือนเรากำหนดเปนนิ้ว

เปนเมตร เปนกิโลกรัม เราตองเทียบกันไดระหวางระบบการศึกษาทุกระบบการศึกษา ไมวาจะเปนวิทยาลัย

ชุมชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไมวาที่ไหนเหมือนกัน

หมด เพราะวาถา 100 เซนติเมตร ก็ตองเทากับ 1 เมตรเหมือนกันหมด ไมใช 1 เมตรท่ีนี่ 100 เซนติเมตร

แตที่โนน 90 เซนติเมตร จะซ้ือหมูหนึ่งกิโลกรัมที่ปตตานีก็ตองหน่ึงกิโลกรัม ตรงไหนก็หน่ึงกิโลกรัมทุก

กิโลกรัมตองเทากัน

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่ดูแลมาตรฐานการอุดมศึกษาของชาติ จึงตองกำหนด

ใหไดวา ถาเปนหนึ่งหนวยกิตบรรยาย คือ อะไร หน่ึงหนวยกิตปฏิบัติ คือ อะไร ตองบอกมาใหได หน่ึง

ชั่วโมงบรรยายถาไดหนึ่งหนวยกิตจะตองอยางนอยจำนวน 15 ชั่วโมงขึ้นไปตอภาคการศึกษา เพราะฉะนั้น

น้ำหนักที่บอกวาในรายวิชาหนึ่ง ในชั่วโมงที่หนึ่งใครสอน สอนอะไรบาง สอง สาม สี่ หา ตองมาทั้งหมด 15

ชั่วโมง สุดทายแลวตองไดจำนวน 15 ชั่วโมงตอหนึ่งหนวยกิต มันถึงจะเทียบกันได ที่มหาวิทยาลัย ABAC เขา

ก็สอนอยางนี้ ถา 1 หนวยกิต ABAC ก็ตองจำนวน 15 ชั่วโมง ปฏิบัติมีหลายอยาง เชน ปฏิบัติในหอง

ปฏิบัติการ หอง Lab ภาคสนาม สมมุติวาหองปฏิบัติการตองเทากับ 30 ชั่วโมงถึงจะเทากับ 1 หนวยกิต ถา

ภาคสนาม 45 ชั่วโมงถึงจะเทากับ 1 หนวยกิต หรือหองปฏิบัติการกับภาคสนามใชจำนวนช่ัวโมงเทากัน 1

หนวยกิต เทากับ 30 ชั่วโมงก็ได แตตองใชเหมือนกันหมดท้ังประเทศ ถาจะใหดีตองดูของประเทศอ่ืนดวย

เพราะเด็กอาจไปเรียนตอตางประเทศ หรือไปสมัครงานบริษัทตางประเทศ เขาจะไดรูวา 1 หนวยกิตของ

76 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 78: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ประเทศไทยสามารถเทียบกับที่อื่นได เหมือนกับหลักสูตรประเทศนั้น จึงเปนตองมีความเปนสากลระดับ

ประเทศและความเปนสากลระดับทั่วโลก

ผูดูแลมาตรฐานกลาง คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตองออกเกณฑใหชัด เพราะ

ฉะน้ัน ในวงเล็บบางทีมีสามตัวเลข เชน 2-0-1 แสดงวามีทั้งทฤษฎี และการปฏิบัติการ มีการฝกปฏิบัติ

ภาคสนาม เชน เรื่องศาสนสัมพันธ อาจจะไมมีปฏิบัติการในหอง Lab แตมีปฏิบัติการภาคสนาม โดยการไป

นั่งสมาธิภาวนาท่ีวัดตางๆ ก็กำหนดไวจำนวนกี่ชั่วโมง เปนตน

การจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน

การจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนมีกิจกรรมที่สำคัญๆ ดังน้ี

1. การจัดการศึกษาหลักสูตรระดับอนุปริญญา

2. การจัดการศึกษาหลักสูตรระยะส้ันและการฝกอบรมความรู มีหลายประเภท ไดแก

หลักสูตรฝกอบรมเพ่ือพัฒนาทักษะการประกอบอาชีพ จะตองไปดูวาในจังหวัดตนเองมีทักษะ

อาชีพอะไรบางที่เรายังขาดแคลน แลวเราไปเอาวิชามา ไปเอาวิทยากรมาวางหลักสูตร พิมพเขียวหลักสูตร

ระยะสั้น 30 ชั่วโมง 45 ชั่วโมง 60 ชั่วโมงแลวเอามาพัฒนาใหความรูกับเขา

หลักสูตรฝกอบรมทักษะการบริหารจัดการ อันนี้เราก็เปดแลว เปดถึงระดับอนุปริญญาดวย

เชน เราจัดอบรมนักบัญชีขององคกรบริหารสวนตำบล (อบต.) ก็เปนหลักสูตรการบริหารจัดการหรือการ

บัญชี เปนตน

หลักสูตรท่ีเนนเพื่อพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม อันน้ีอาจจะไมคอยไดกำไรซักเทาไร หลักสูตร

อันที่สามน้ี อาจตองจัดรวมกับคนอ่ืนที่เขามีเงิน เราอาจจะชวยเขาจัด เชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ

สรางเสริมสุขภาพ (สสส.) มาอบรมใหความรูกบัวิทยาลัยชุมชนในเร่ืองการไมสูบบุหรี่ การไมดื่มสุรา อันนั้น

เปนเรื่องของการจัดหลักสูตรระยะสั้นสำหรับสังคมและวัฒนธรรม หรืออบรมเพื่อจะไดครูไปอบรมในชุมชน

อีกที อบรมครูในชุมชนเรื่องของการเลิกอบายมุข แลวไปอบรมคนอ่ืนอีกที

หลักสูตรฝกอบรมเพื่อทักษะทางศีลธรรม และจริยธรรม อันนี้อันสุดทายเปนลักษณะทาง

วิชาการที่พวกเราชวยกันอยู

77คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 79: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การสำเร็จการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตามโครงสรางเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา ประกอบดวย

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 57 หนวยกิต

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 3 หนวยกิต

ทั้งหมดไมนอยกวา 90 หนวยกิต เพราะฉะน้ัน 95 หนวยกิตก็ได 91 หนวยกิตก็ได หมวด

วิชาเลือกเสรีไมนอยกวา 3 หนวยกิต ใหไปศึกษาวาตามมาตรฐานของ สกอ. คำวาไมนอยกวา หมายถึง

อยางต่ำ 3 หนวยกิตหรือไม เพราะฉะน้ันนักศึกษาจะเรียน 6 หรือ 9 หนวยกิต ก็ได สวนน้ีอาจารยที่ปรึกษา

จะมีอิทธิพลมากในการแนะนำ การเรียนใหครบตามที่กำหนดในหลักสูตร จะเกี่ยวของกับการจบการศึกษา

การสำเร็จการศึกษา เจาหนาที่ที่ดูแลเรื่องการสำเร็จการศึกษาจะเขามาดูวาผูเรียนไดเรียนครบตามจำนวนหนวยกิตและ

เงื่อนไขท่ีกำหนดไวในแตละหมวด ตามหลักสูตรหรือไม จะดูตาม Transcript ตามหมวดวิชา แลวรวม

หนวยกิตใหไดตามเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา หลักสูตรจะตองมีเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา ซึ่งการจะ

สำเร็จการศึกษาประกอบดวย

1. ครบเงื่อนไขตามหลักสูตร เจาหนาที่ฝายทะเบียนซ่ึงถือวาสำคัญมากจะตองดูแลเรื่องการจบ ตอง

ไปดูวาเปนไปตามเงื่อนไขการสำเร็จตามหลักสูตรหรือไม คือ เรียนครบตามเง่ือนไขของหลักสูตร เชน หมวด

วิชาศึกษาทั่วไปเรียนได 30 หนวยกิตหรือยัง หมวดวิชาเฉพาะดานเรียนครบจำนวน 57 หนวยกิตหรือยัง เกิน

ไมเปนไร หมวดวิชาเลือกเสรีเรียนไดครบตามจำนวน 3 หนวยกิตแลว แตเกินไดไมเปนไร รวมแลวอยางนอย

ตองไมนอยกวา 90 หนวยกิต เปนตน

2. ไมเปนหนี้วิทยาลัย คือ ผูจบตองไมเปนหน้ีวิทยาลัยทุกอยาง ตองไปตรวจสอบที่ฝายคลังวา

ผูสำเร็จการศึกษา หรือบัณฑิตคนนี้เปนหนี้หรือเปลา เปนหนี้เรื่องคาเลาเรียน เปนหนี้เพราะวาไปทำทรัพยสิน

ทางราชการเสียหาย ถูกลงโทษทางวินัย ใชหนี้หรือยังไมไดใช เร่ืองนี้จะไปกำหนดอยูในเงื่อนไขการรับ

อนุปริญญาบัตรดวย สังเกตดูจะมี 2 เงื่อนไข คือ

78 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 80: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

1) เงื่อนไขการจบหลักสูตร

2) เงื่อนไขการรับอนุปริญญา

ซึง่จะไมเหมือนกัน คอื เงือ่นไขรับอนุปรญิญา ตองเพ่ิมเง่ือนไขเร่ืองไมเปนหน้ี และไมมคีวามประพฤติ

เสื่อมเสีย ขอเตือนเรื่องเงื่อนไขการจบวา วิทยาลัยชุมชนมีกฎระเบียบเร่ืองน้ีหรือไม ถาไมมีตองไปคุยกันใน

สภาวิทยาลัยชุมชน หรือสวนกลางเปนผูกำหนดวา สมควรจะออกกฎระเบียบไหม

3. ไมมีความประพฤติที่เสื่อมเสีย คือ ไมทำใหตนเองและวิทยาลัยชุมชนเสียหาย

การบริหารหลักสูตร สุดทาย คือ เรื่องวงจรการบริหารหลักสูตร ประกอบดวยการพัฒนาหลักสูตรโดยการสรางใหมหรือ

ปรับหลักสูตรของปจจุบัน การบริหารหลักสูตร และการประเมินหลักสูตร ที่จะบอกผลการประเมินออกมา

เปนจำนวนผูสำเร็จ เปนดานคุณภาพ และเปนผลกระทบ การบริหารหลักสูตรมีตั้งแตการประเมินผลท่ี

ผานมา การวางแผน การเรียนการสอน และประเมินการวางแผน สรุปไดดังน้ี

วงจรท่ี 1 การสรางหลักสูตรใหมและการปรับหลักสูตรปจจุบัน หลักสูตรวิทยาลัยชุมชนตองมาจาก

ชุมชน วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต หลักสูตรตองมาจากภูเก็ต ตองใหสอดคลองกับสังคม เศรษฐกิจของจังหวัด

เพราะฉะน้ันการสรางหลักสูตร การประเมินหลักสูตรปจจุบัน ประเมินแลวไมพอใจจะขอปรับปรุงใหม เรา

จำเปนตองไดความเห็นที่เปน Input จากผูที่เกี่ยวของ ไดแก

(1) การประชุมประจำเดือนของผูวาราชการจังหวัดกับหัวหนาสวนราชการ เราควรจะไปคุยกับเขา

2-3 เดือน/คร้ัง ปละคร้ัง สองคร้ัง ขออนุญาตประธานท่ีประชุม ขอนำเสนอเร่ืองวิทยาลัยชุมชนเพ่ือรายงาน

ความคืบหนา หัวหนาสวนราชการที่ไดเด็กของเราไปเรียน ไปทำงานเขาจะ Feedback ให ก็ใหนำมาใสใน

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หรือหมวดวิชาเฉพาะดานหรืออาจจะเปนวิชาเลือกเสรี จะทำใหปรับปรุงหลักสูตร

วิทยาลัยชุมชนไดตลอดเวลา หลักสูตรก็จะไมตาย หลักสูตรจะไมใชใบเสมาวัด ตั้งแลวตั้งเลย หลักสูตรจะ

ตองมีพลวัตตลอดเวลา เพราะวาตองเปลี่ยนแปลงตามสังคม เศรษฐกิจของจังหวัด

(2) การประชุมของรัฐ การประชุมของสภาหอการคาหรือสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ตองไปเจรจากับ

เขา ไปนำเสนอกับเขา ไปขอความเห็น คำแนะนำจากเขา ก็จะไดความเห็นจากภาคธุรกิจเอกชน

ในการปรับปรุงหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน

79คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 81: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

(3) ไปขอพบหรือเขารวมประชุมกับเทศบาล องคการบริหารสวนตำบล และองคการบริหาร

สวนจังหวัดบางเปนครั้งคราว ก็จะไดขอมูลยอนกลับ (Feedback) จากองคกรปกครองสวนทองถ่ินในจังหวัด

(4) ใชประโยชนจากกิจกรรมในชุมชน เชน มีงานวัดที่ไหน ไปรวมดวย ไปคุยกับเจาอาวาส ไปคุยกับ

ผูนำทองถิ่น ไปคุยกับบุคคลตาง ๆ และไปสังเกตวาลูกศิษยเปนอยางไรบาง ก็จะไดขอแนะนำเขามา แลวก็

สามารถดึงคนเหลานั้นเขามารวมงานวิทยาลัยชุมชนไดดวย

(5) สุดทายคือ ฝายวิชาการวิเคราะห เปรียบเทียบ เชิญนักวิชาการมาชวยวิเคราะห วิจารณหลักสูตร

ใหเราหนอย ก็จะเปนการปรับหลักสูตรอยูตลอดเวลา เมื่อเราสรางหลักสูตรใหมแลว สามารถปรับปรุง

หลักสูตรปจจุบันใหทันสมัยตลอดเวลา วิทยาลัยชุมชนก็จะยั่งยืนตอบสนองชุมชนตอไป

วงจรท่ี 2 ก็คือ วงจรการบริหารหลักสูตร ถาเปนหลักสูตรที่เคยใชแลวในภาคเรียนท่ีแลว ปที่แลว จะ

ตองประเมินผลหลักสูตรที่ผานมาทุกครั้ง

การประเมินหมวดวิชาท้ัง 3 หมวดเปนอยางไรบาง เชน ประเมินเรื่องหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ป

การศึกษาที่แลวสอนเปนอยางไร ไดผลเปนอยางไร วิชาเฉพาะดานประเมินแลวเปนอยางไร ขาดอะไรบาง

หรือประเมินหมวดวิชาเลือกเสรี ยังมีสวนใดท่ีไมไดดำเนินการบาง ผูเรียนมีขอรองเรียนอะไรบาง ผูเรียน

อยากเห็นอะไรบาง เมื่อประเมินเสร็จแลว นำผลมาปรับปรุงแลววางแผนการเรียนการสอนหลักสูตรในภาค

เรียนตอไป

การประเมินตองประเมินถึงรายวิชาดวย จะไดรูวา แตละช่ัวโมงที่มีการเรียนการสอน มีครู-อาจารย

เขาสอน/ไมเขาสอนชั่วโมงใด เมื่อวางแผนในปตอไปก็ไมเชิญครู-อาจารยพิเศษทานน้ัน อาจเชิญผูอื่นแทน

การมีระบบการประเมินการเรียนการสอนท่ีผานมา และมีระบบการวางแผนการเรียนการสอนใน

ปตอไปสำคัญมาก แตมหาวิทยาลัยสวนใหญไมไดทำกัน โรงเรียนก็มักจะไมทำ จึงอยากใหวิทยาลัยชุมชนทำ

มากๆ จะไดพัฒนาขึ้นไปได ขณะนี้ในบางมหาวิทยาลัย บางวิชา ครูที่เปนเจาของรายวิชาอยูใครมาแตะตอง

ไมได เปนสมบัติสวนตัว วิทยาลัยชุมชนอยาปลอยใหเกิดความรูสึกเชนที่วาน้ี เราไปเชิญคนน้ีมาสอนและ

ไวใจเขามาก แตไมมีใครมาประเมินเขาเลยซัก 5 ป 10 ป เขาบอกวาวิชานี้เปนของเขาแลวใครมาแตะตอง

ไมได ดังนั้น ถาตองการพัฒนาคุณภาพหลักสูตร เรื่องของการประเมินต้ังแตรายวิชา หมวดวิชา จำเปนตอง

ทำ ถาทำไดรับรองไดหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนจะแนนมาก

วงจรท่ี 3 การประเมินหลักสูตร เปนการศึกษาผลการใชหลักสูตรโดยการติดตามผลผูสำเร็จ

การศึกษา กลาวคือ เมื่อมีนักศึกษาท่ีสำเร็จการศึกษาจบไปแลวรุนหน่ึงก็ตองทำการประเมินผลหลักสูตร ซึ่ง

80 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 82: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การประเมินหลักสูตรจะมี 3 ประการ คือ

(1) ประเมิน Output ของหลักสูตร (ปริมาณ, จำนวน)

(2) ประเมิน Outcome ของหลักสูตร (คุณภาพผูจบ)

(3) ประเมิน Impact ของหลักสูตร (ผลกระทบทั้งบวกและลบ)

ประการที่ 1 การประเมิน Output ของหลักสูตร จัดเปนประมินระดับ Output ประกอบดวย

ประเมินจำนวนผูเขาเรียน ในการเปดหลักสูตรเรามีเปาหมายวารับจำนวน 45 คน คาดวาจะจบจำนวน 40

คน และจบจริงจำนวน 27 คน ดังนั้นผูเปนสภาวิทยาลัยชุมชนตองถามผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนแลววา

ทำไมมันหายไป ทำไมไมไดจำนวนตามท่ีตองการ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ตองเอาไปปรับ ปรับการเรียน

การสอน ปรับการคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาที่มาเรียน ไมอยางนั้นวิทยาลัยชุมชนไมมีประโยชนตามที่เราได

ตั้งวัตถุประสงคไว

ประการท่ี 2 คือ การประเมิน Outcome ของหลักสูตร จัดเปนการประเมินเชิงคุณภาพ ประเมิน

คุณภาพวาเปนไปตามวัตถุประสงคหลักสูตรหรือไม อยางไร

ประการท่ี 3 คือ การประเมิน Impact ของหลักสูตร จัดเปนการประเมินระดับผลกระทบท่ีเกิดขึ้น

โดยท่ีไมไดกำหนดไวในวัตถุประสงคของหลักสูตร เชน รุนน้ีเราสอนคนไป 14 คน ไปเปนนายกองคการ

บริหารสวนตำบล 11 คน หรือรุนนี้จบ 14 คน ติดคุก 8 คน ไมอยูในหลักสูตร มันตองมีอะไรผิดปกติ

ผลกระทบ คือ เปนส่ิงที่เกิดข้ึนโดยไมไดอยูในวัตถุประสงคหลักสูตร แตมันไปปรากฏผลที่ลูกศิษยจนกระท่ัง

มีความสัมพันธทางสถิติ ที่ไมใชเร่ืองปกติทั่วไป เรื่องนี้ตองกลับมาถามตัววิทยาลัยเองวาทำดี หรือทำไมดี

อยางไร ทำไมมันเกิดผลกระทบท่ีเราไมไดตั้งใจ เขาเรียนรูจากวิทยาลัยชุมชนหรืออยูกับเรา 2 ป แลวไดออก

ไปเปนนายกองคการบริหารสวนตำบลกันเปนแถวเลย หรือไปเขาคุกกันตั้งครึ่ง มันเกิดอะไรขึ้น นี่คือ

ผลกระทบ จึงตองมีการประเมินผลกระทบ

ขอแนะนำวา ทุกหลักสูตร วิทยาลัยชุมชนแตละแหงควรจะมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร จำนวน

3 คน 5 คน หรือจำนวนหนึ่ง ถาคนนอยก็เชิญคนอ่ืนมาเปนกรรมการดวย กรรมการบริหารหลักสูตร ก

หลักสูตร ข หลักสูตร ค ควรจะมี ถายังไมไหว คนนอยจริงๆ ขอรวมกันกอนไดไหมเปนกรรมการรวม เปน

กรรมการบริหารหลักสูตรรวม คือทุกหลักสูตรมีกรรมการเดียว ตอนระยะแรก ปแรก แตหลังจากนั้นตอง

พยายามแยกเปนกลุม พัฒนาหลักสูตรมีคณะกรรมการบริหารกลุมหลักสูตร จะทำใหมีผูรับผิดชอบชัดเจน

และเปนระบบ

81คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 83: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

82 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 84: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ธรรมาภิบาลในวิทยาลัยชุมชน* โดย

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

สวัสดีทุกทาน ดีใจท่ีไดมาเจอกัน วิทยาลัยชุมชนเปนระบบท่ีกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนตองกำหนด

ชะตาของวิทยาลัยชุมชนแตละแหงเอง เปนระบบที่ยังไมเคยมีในวงการศึกษาไทย ที่ชะตากรรมของวิทยาลัย

อยูในมือของประชาชนอยางแทจริง ทราบวาหลายทานมาจากหลายวงการ ทั้งจากวงการศึกษาและวงการอ่ืน

นอกวงการศึกษา จึงขอเรียนเร่ืองวงการศึกษาเล็กนอยเพ่ือจะไดเขาใจตรงกัน ขออนุญาตทำความเขาใจคำ

บางคำดังนี้

1. การเรียนรู = to learn ซึ่งเปนศัพทที่ใชกันมาก สมัยกอนใชวา การเรียน ภายหลังไดคอยๆ เปลี่ยนไป มีคำวา “รู” เพิ่มขึ้นมาดวย เหมือนกับบังคับวาเรียนแลวตองรู นิยามคือ เปนกระบวนการท่ีทำให

เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน ถาผูเรียนเขาไปนั่งฟงอาจารยแลวปหน่ึงแลวไมเปล่ียนแปลงอะไรเลย

แสดงวายังไมไดเรียนอะไรเลย อาจารยไดแตสอน แตผูเรียนไมไดเรียน ภายหลังจึงมุงที่ผูเรียนมากกวา

ผูสอน เพราะวากระบวนการเรียนรูทำใหเกิดการเปล่ียนแปลงในตัวผูเรียน เปาหมายของรายวิชาก็ดี

เปาหมายของหลักสูตรก็ดี ยอมบอกไวชัดเจนวาเมื่อเรียนรายวิชา หรือหลักสูตรนี้แลวตองเกิดความ

เปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีขึ้น หรือเลวลงก็ได เชน วิชาโจร ใหเรียนรูเรื่องการขโมย ตัวเขาดีขึ้น แตสังคมแย

จึงไมไดบอกวาเปลี่ยนแปลงท่ีดีขึ้น เพราะอาจจะเลวลงก็ไดถาสอนในทางลบ

*เรียบเรียงจาก การบรรยายเร่ือง “ธรรมาภิบาลในวิทยาลัยชุมชน” วันที่ 20-22 เมษายน 2548 ณ โรงแรม ริชมอนด

83คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 85: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ในทางวิชาการศึกษา การเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียนจะมีอยู 3 เรื่องดวยกัน คือ

1) ไดความรู ไดทฤษฎี

2) ไดทักษะ ไดปฏิบัติ

3) ไดความดี ไดคุณธรรม

พระเจาอยูหัวเคยรับส่ังวาเปาหมายในการอบรมเล้ียงดูเด็กตองสอน 3 อยางคือ สอนความรู สอน

ความดี และสอนใหทำงานเปน ซึ่งก็คือเปาหมายของการเรียนรูนั่นเอง เปนกระบวนการท่ีทำใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน 3 เรื่องดวยกัน

หลักสูตรในโลกนี้มีมากมาย แตละหลักสูตรก็ไปกำหนดวาอยากใหรูอะไร อยากใหทำอะไรเปน และ

อยากใหดีในแงไหน เชน หลักสูตรเลี้ยงไก ตองพูดทฤษฎีความรูเก่ียวกับไก และการเลี้ยงไก และพูดถึง

ทักษะในการเลี้ยงไกและพูดถึงความดีความงามวา เล้ียงไกแลวไมไปทำในสิ่งที่กอใหเกิดความไมดีขึ้นมา

หรือทำใหเกิดสิ่งที่ดีขึ้นมา เปนตน วิชาหมอก็เชนกัน บอกวา ตองไดรับความรูดานหมอ มีทักษะดานการ

ผาตัด ตรวจคนไข และตองใชความรูในทางท่ีถูกตอง อยาไปโกง อยาโกหก อยาหลอกลวงประชาชน วิชา

รัฐประศาสนศาสตรก็เหมือนกัน รูเรื่องวิชาการบริหารบานเมือง ตองมีทักษะดานการบริหาร แลวตองมี

ชุดความดีอะไรบางที่เหมาะสำหรับผูที่เปนผูบริหารบานเมือง ทุกวิชาในโลกนี้ถาเกิดกระบวนการเรียนรูตอง

บอกใหไดวาเกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเรียน

ในหลักสูตรอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชนมีเยอะมาก เชน หลักสูตรคอมพิวเตอรธุรกิจ วัตถุประสงค

หลักสูตรตองบอกใหชัดวาเมื่อจบแลวตองมีความรูเรื่องคอมพิวเตอรธุรกิจอะไรบาง ตองมีทักษะในการทำ

คอมพิวเตอรอะไรบาง และตองมีความดีความงามอะไรจึงเปนนักคอมพิวเตอรที่เปนประโยชนตอสังคม ไม

ไปโกงบริษัท เหลานี้ตองใสเขาไป วัตถุประสงคของหลักสูตรมี 3 ขอเทาน้ันเอง สวนมากคนไมเขาใจ เวลา

เขียนหลักสูตรเขียนไป 8–10 ขอ วัตถุประสงคตองบอกใหชัดวาเมื่อเรียนรูแลวจะทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

ในตัวผูเรียนอยางไรบาง

2. การสอน คือ กระบวนการที่ทำใหเกิดการเรียนรู คือ การสอนจะไปสนับสนุนการเรียนรู ผูสอนตองไปสนับสนุนผูเรียนใหไดเรียนรูตามหลักสูตร และใหไดเปาหมาย 3 ขอดังที่กลาวไวขางตน ดังน้ัน ผูสอนจึงมี

ความสำคัญยิ่ง

สมมติหองเรียน 1 หองเรียน มีผูเรียน 30 คน ครูจะเขามาสอนวิชานี้ แลวบอกวาผูสอนตองไป

สนับสนุนผูเรียนใหเรียนรูตามเปาหมายหลักสูตร เพราะฉะน้ันครูตองรูจักผูเรียนท้ัง 30 คนเปนอยางดีและ

84 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 86: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

แนใจวาที่จะสอนท้ัง 30 คนนั้นซึ่งบางคน เกงมาก เกงนอย หรือไมเกง ตองรูหมดวาคนไหนพรอมที่จะเรียน

บาง และเม่ือเรียนไปแลวตองแนใจวาผูเรียนไดครบตามเปาหมาย ทั้ง 3 ขอ แตถาผูสอนตัดขาดจากผูเรียน

ผูสอนเกงมาก ตั้งใจสอน เตรียมการสอนมาเปนอยางดี เขาไปสอนก็อยูหนาชั้น สอนอยางดี สอนเสร็จแลว

ก็เดินออกจากหอง สวนเด็ก 30 คนนั้นจะเรียนรู และเกิดการเปล่ียนแปลง 3 ขอนั้นหรือไมเปนเร่ืองของเด็ก

ไมใชเรื่องของครู เพราะครูสอนแลวแบบนี้เรียกวา Teacher Center คือครูเปนศูนยกลางของการศึกษา คือ

ครูเกง ครูสอนแลวและสอนดีดวย สวนเด็ก 30 คนน้ันจะไดเรียนรู จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดานความรู

ทักษะ ความดีหรือไม ไมใชเรื่องของครู

ปจจุบันในวงการการศึกษาท่ัวโลกมองวาไมใชรูปแบบน้ีแลว ครูตองไปชวยผูเรียนแลวตองรูจักผูเรียน

ดวย ฉะนั้นจึงกลาววานักเรียนเปนศูนยกลางของการศึกษาไมใชครู สมัยกอนครูเปนศูนยกลางของการศึกษา

จงึขอฝากพวกเราไววา ตรงนีค้อืคณุภาพการศกึษา ไมวาจะอนบุาล ประถม มธัยม วทิยาลยัชุมชนอาชีวศกึษา

ปริญญาตรี โท เอก ถาระบบการศึกษาใหความสำคัญวาผูเรียนตองเกิดการเปล่ียนแปลงท้ัง 3 ดานตาม

เปาหมายของหลักสูตร ประเทศไทยเจริญแนนอน คุณภาพการศึกษามาแนนอน

3. การศึกษา หรือ Education คือ ระบบที่ออกแบบใหเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคของการศึกษา ตองเปนระบบ คือ ตองมี

- Input ตองมีทรัพยากรนำเขา ทรัพยากรที่ลงทุน

- Process ตองมีกระบวนการ 2 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการบริหารการศึกษา และ

2) กระบวนการสอน การเรียนรู และการวัดผล

- Output คือ ผูจบ

ถาเปนระบบการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน Input ทรัพยากรที่ลงทุน คือ การที่ออกแบบการบริหาร

วิทยาลัยชุมชนท่ีกระทรวงศึกษาธิการ มีสำนักงาน พอไปถึงวิทยาลัยชุมชนแตละจังหวัดก็ไปออกแบบแตละ

จังหวัดมีสภาวิทยาลัยชุมชน มีผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน มีผูสอนและมีผูเรียน เราลงทุนอะไรไปบางก็วาไป

จากน้ันก็มาเขากระบวนการทำงานของระบบ ซึ่งมี 2 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการบริหารจัดการ

2) กระบวนการสอน การเรียนรู และการวัดผล โดยมีผลลัพทคือ ผูจบของวิทยาลัยชุมชน

ในระบบตองบอกถึงคุณภาพของระบบ (Quality) คุณภาพของปจจัยนำเขา ทรัพยากรลงทุนทุกตัววา

หามาอยางไร บุคคลท่ีจะมาเปนกรรมการสภาวิทยาลัยมีคุณภาพอยางไร บุคคลท่ีจะมาเปนผูอำนวยการมี

คุณภาพอยางไร เจาหนาที่ประจำสำนักงานมีคุณภาพอยางไร ครูอาจารยมีคุณภาพอยางไร ตองพูดใหหมด

85คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 87: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

กระบวนการบริหารจัดการมีคุณภาพอยางไร การสอนมีคุณภาพอยางไร การเรียนรูของผูเรียนมีคุณภาพ

อยางไร การวัดผลมีคุณภาพอยางไร และผูจบมีคุณภาพอยางไร ตรงตามที่ประเทศชาติตองการหรือไม

ตามที่ตลาดตองการหรือไม เราตองพูดถึงคุณภาพหมดเลย ในคำพูดวาคุณภาพน้ัน บางทีเราก็ใชคำเฉพาะใน

ดานนั้นๆ เชน เราพูดถึงคุณภาพการบริหารจัดการ เราอาจจะสรางระบบใหมขึ้นมาอีกระบบหน่ึง คือ ระบบ

ธรรมาภิบาล

ระบบธรรมาภิบาล คือ ระบบท่ีออกแบบเพ่ือการบริหารการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ เพราะฉะน้ันส่ิงที่

จะพูดถึงคือ โครงสราง และหลักคิดกวางๆ ของระบบธรรมาภิบาล เทานั้น สวนการออกแบบรายละเอียด

ของระบบน้ันตองขอใหทานท้ังหลายไปชวยคิดกันเอง เชน วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน เมื่อฟงโครงสราง

ความเห็นชัดเจนแลว ก็ไปคิดวา วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนจะออกแบบระบบวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนที่

สะทอนคุณภาพอยางไรบาง วิทยาลัยชุมชนแตละแหงก็ไปคิดของตัวเองมาวาระบบธรรมาภิบาลของเราจะ

เอาอยางไร ระบบธรรมาภิบาลเปนระบบท่ีเนนคุณภาพการจัดการศึกษา

ระบบธรรมาภิบาล (Good Governance System) ความจริงคำวา Good Governance System หมายถึง การบริหารจัดการท่ีดี การปกครองท่ีดี

ภาษาไทย เราใชคำวาวา ธรรมะ + อภิบาล คำวา ธรรมะ แปลวาดี สวน อภิบาล แปลความหมายได 2

อยางคือ แปลวาการปกครองก็ได การดูแลก็ได ฉะนั้นคำวา Good Governance ก็คือ ธรรมาภิบาลนั่นเอง

1. เปนการบริหารและการปฏิบัติงานที่ดี โดยเนนเร่ือง

- ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือความคุมคาของการลงทุนตอการบริหารจัดการ

- ประสิทธิผล (Effectiveness) คือการลงทุนและกระบวนการซึ่งจะใหผลลัพธตามที่

ตองการ ในเร่ืองผลลัพธ เอาเฉพาะผูจบจริงๆ แลวถาแปลงไปอีกก็จะขยายความนิดหนอย คือ 1) จำนวน

ผูจบ 2) คุณสมบัติของผูจบ 3) ผลกระทบของระบบ ดังนั้นถาจะดูผลลัพธของ วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน

นั้น นอกจากจะตองไปดูวามีผูจบในแตละสาขากี่คนแลว ตองดูวามีคุณสมบัติตามท่ีหลักสูตรตองการหรือไม

ตามท่ีสภาวิทยาลัยชุมชนตองการหรือไม นอกจากน้ันยังตองดูผลกระทบระยะยาวดวยวาผลกระทบจากการ

ปฏิบัติงานของวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมีผลกระทบทั้งใกลและไกลอยางไร สิ่งเหลานี้เปนการประเมินใน

เรื่องของปริมาณ คุณภาพ และผลกระทบ

86 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 88: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

อยางเชน ตั้งวิทยาลัยชุมชนท่ีนี่ได 5 ป มีเด็กจบแลว 600 กวาคน และในแตละหลักสูตรท่ีไปทำให

การศึกษาปฐมวัยของแมฮองสอนดีขึ้นหรือไม ที่เราสงเด็กที่จบจากเราไป 200 กวาคนน้ัน หรือหลักสูตร

คอมพิวเตอรธุรกิจของเรา ทำใหการบริหารจัดการ การคาขายไดประโยชนบางหรือไม การบริหารจัดการ

อบต. (องคการบริหารสวนตำบล) อบจ. (องคการบริหารสวนจังหวัด) ดีขึ้นหรือไม ซึ่งผลกระทบนี้จะเปน

ผลกระทบเชิงบวก หรือผลกระทบเชิงลบก็ได ในตัวธรรมาภิบาล เปาหมายที่เราอยากไดนั้น คือ การไปเพ่ิม

ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แตวาในกระบวนการทำงานตองมีสิ่งเหลานี้คือ

1. ความรับผิดชอบ (Responsibility)

2. ความรับผิดรับชอบ (Accountability)

3. ความโปรงใส (Transparency)

4. การตรวจสอบ (Auditing)

2. ในเรื่องของระบบ

- Input (ทรัพยากรลงทุน)

- Process (มอง 2 กระบวนการ คือ การบริหารจัดการ และการเรียนการสอน)

- Output (มอง 3 มิติ คือ จำนวน คุณภาพ และผลกระทบ)

มีพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอันหนึ่งที่ผูถวายงานใกลชิดเอามาอางกัน และ

ตรัสรับสั่งอยูบอยๆ คือ จะทำอะไรตองขอใหประหยัด เรียบงาย และไดประโยชนสูงสุด พอเอาพระบรม-

ราโชวาทมาแตก และจับเขากับระบบ ให fit-in กับระบบ เปน system analysis ก็จะเขาใจงายขึ้น ดังน้ี

- Input > ประหยัด

- Process > เรียบงาย

- Output > ไดประโยชนสูงสุด

คำวาประหยัด ก็คือ ในเร่ืองของ input เรื่องของกระบวนการ เชนการออกแบบการบริหารจัดการ

ออกแบบกระบวนการสอน ออกแบบการเลาเรยีน ออกแบบกระบวนการวัดและประเมินผล ตองเรียบงาย

เทาที่จำเปนและสุดทายตองใหไดประโยชนสูงสุด เพราะฉะนั้นถาจะเอาพระบรมราโชวาทนี้เขามาใสในระบบ

การออกแบบเพ่ือจะบริหารวิทยาลัยชุมชนแตละแหงคงตองนึกถึงหลัก 3 ขอนี้ ดังน้ัน การออกแบบ

กระบวนการวัดและประเมินผลตอง

87คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 89: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

1. เรียบงาย

2. เทาที่จำเปน

3. ตองไดใหประโยชนสูงสุด

ถาจะเอาพระบรมราชาโชวาทน้ีมาใสระบบการออกแบบเพ่ือจะบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชน แตละ

แหงคงจะตองนึกถึงหลักสามประการน้ี เพราะจะเปนประโยชนมาก

Good University Governance อนันีผ้มใชสำหรับมหาวิทยาลัย ของเราก็จะเปน Good College Governance เปนระบบธรรมาภิบาล

ของวิทยาลัย มีทั้งระดับสถาบัน และระดับบุคคล ระดับสถาบันก็คือวิทยาลัยชุมชนแตละแหง ระดับบุคคลก็

คือทุกๆ คนท่ีทำงานในวิทยาลัยชุมชนนั้น ไมวาจะเปนประธานสภาวิทยาลัยชุมชน ภารโรง ครูอาจารย หรือ

ผูอำนวยการ สิ่งที่เราคาดหวังในระบบธรรมาภิบาลของวิทยาลัยชุมชนมี 2 ระดับดังน้ี

1. ในระดับสถาบัน คือ

1.1 ความโปรงใส (Transparency)

1.2 ความรับผิดรับชอบในผลงานของสถาบัน (Accountability) อยางที่บอกแลวสิ้นปเรา

ประเมินกัน เรามีผลงานแลวไปบาง อนุปริญญาจบกี่คน ไปทำอะไรบาง ทำงานท่ีไหน ทำแลวดีไมดีอยางไร

หลักสูตรระยะสั้นอาชีพเราจบไปแลวกี่คน จบไปกี่หลักสูตรไปไหนบาง

1.3 การมีสวนรวมของประชาชน (Public Participation) เรื่องการมีสวนรวมของประชาชน

ในดานหลักสูตรจะอยูตรงไหน หลักสูตรของเรามี 2 ประเภทใหญๆ คือ หลักสูตรอนุปริญญา และหลักสูตร

อบรมระยะส้ัน การมีสวนรวมของเราทำไดหลายระดับ หนึ่ง ตั้งแตการมีสวนรวมในการกำหนดนโยบายของ

สภาวิทยาลัยชุมชน ดังจะเห็นไดจากองคประกอบของสภาวิทยาลัยชุมชนวาประกอบดวยบุคลากรที่อยูใน

ระดับจังหวัดนั้นๆ เปนหลัก สอง การมีสวนรวมของเราในการกำหนดหลักสูตร การจะเปดหรือปดหลักสูตร

นั้นตองไดมาจากความคิดเห็นของคนในจังหวัดนั้นๆ วา ตอบสนองตอการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของ

จังหวัดนั้นๆ หรืไมอยางไร ถาเปนวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ก็จะไปหารือกับผูวาราชการจังหวัด หัวหนาสวน

ราชการ หอการคา อุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมวิชาชีพตางๆ ผูนำทองถ่ินในจังหวัดน้ันๆ ไปดูแผนพัฒนา

จังหวัดวา ในอีก 5 ปขางหนาจะพัฒนาอะไร ขณะน้ีมีอะไร เราตองการความรูอะไรมาใสใหกับบุคลากรบาง

88 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 90: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เพราะจะเปนตัวกำหนดในการเปดและปดหลักสูตรของเรา เพราะฉะน้ันเราจะพูดไดเต็มปากเต็มคำเลยวา

หลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนตองการการมีสวนรวมของประชาชนจึงจะดำเนินการไปได สาม เมื่อเราผลิต

บุคลากรไดแลว บุคลากรก็มาจากจังหวัดนั้นๆ บุคลากรเหลานี้จะกลับไปทำงานกับชุมชน แลวก็จะเปนกระจก

เงาใหกับวิทยาลัยชุมชนอีกทีหนึ่ง เพราะฉะน้ันในขอ 3 ของเราน้ันคอนขางจะชดัเจนมาก

1.4 ความสามารถในการแขงขันได (Competitiveness) สวนความสามารถในการแขงขัน

ผมอยากจะฝากกราบเรียนวา ในขณะน้ีเรามีวิทยาลัยชุมชนอยูประเภทเดียว คือ ประเภทที่เปนของรัฐ แลวก็

ตอบสนองตอการพัฒนาเฉพาะจังหวัด เพราะฉะน้ันผมคิดวาเรื่องการแขงขันคงตองกำหนดไว 2 มิติกอน คือ

1) แขงขันกับตัวเอง ปที่แลวเราทำอะไรไปเทาไร Output Outcome Impact แลวเรา

ประเมินแลวไดเทาไร ปหนาเราตองแขงขันกับตัวเองวาตองทำใหดีกวาปที่แลว แลวปตอไปก็ตองดีกวาปหนา

เปนตน

2) ตองแขงขันกับเพ่ือนๆ เรา แตไมไดแขงขันกันแบบเอาเปนเอาตาย แตแขงกันทำความดี

เพราะฉะน้ันตรงนี้ก็คือการเรียนรูซึ่งกันและกัน แลวนำจุดแข็งของเพ่ือนมาปรับปรุงตัวของเราเอง

2. ในระดับบุคคล ไดแก

2.1 ความโปรงใส (Transparency) ตรวจสอบได

2.2 ความมั่นคงซื่อสัตย (Integrity) คำวา Integrity เปนคำที่มีรากศัพทมาจากคำวา Integer

แลวก็แยกเปน 2 คำนะครับคือ Integrity และ Integration

Integer แปลวา 1.0 เปนเลขศูนยกลมๆ มีความเปนเอก เปนตัวเองมีความหมายทางคณิตศาสตร

แตพอใช Integrity สำหรับบุคคลจะหมายถึง ความเปนคนท่ีมคีวามสมบูรณ ไมขาดไมเกิน สมบูรณในความ

ถูกตองในความดีงาม เพราะฉะน้ันถาเรามีบุคคลที่มาทำงานใหกับวิทยาลัยชุมชนและมีความสมบูรณ ถูกตอง

ดีงามทุกคนเลย ก็จะแนใจไดวาเราจะทำงานกันไดอยางดี

Integration ซึ่งคำภาษาไทยแปลวา “บูรณาการ” และเรามักจะเขาใจกันผิดๆ เพราะคำวาบูรณาการ

ยังมีอีกคำหนึ่งวา ประสานงาน ทั้งสองคำหมายถึงความที่มีคนจากหลายสวนงานมารวมกันทำงานเพื่องาน

เดียว ประสานงานน่ีเปนการรวมมือกันโดยผูที่มาจากภาคสวนตางๆ นั้นไดนำความรูความสามารถของแตละ

ภาคสวนแลวนำมาทำงานรวมกัน เปรียบเสมือนวงดนตรีวงหน่ึง บางคนตีกลองเกง บางคนไวโอลินเกง และ

นำมารวมกัน ขอสำคัญขอใหเลนเพลงเดียวกัน แตไมตองสลายความเกงของตัวเอง เกงกลองก็ยัง

89คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 91: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ตีกลอง เกงไวโอลินก็ยังสีไวโอลิน สวน Integration “บูรณาการ” นั้นตองสลายพ้ืนฐานเดิมหมดเลยแลวมา

รวมกันทำงานในฐานะสมาชิกคนหน่ึง เปรียบเสมือนหนึ่งพวกไปแขงเรือยาว สมมุติวามีพลพายเรือยาว 20

คน บางคนเปนตำรวจ บางคนเปนทหาร เปนยาม ทุกคนจะไมแตงชุดตำรวจ ทหารมาออกเรือ จะสลัดออก

หมดเลย แลวก็มาพายเรือลำเดียวกัน สวนวิทยาลัยชุมชนไหนจะประสานกันแบบประสานงานหรือบูรณาการ

ก็แลวแตลักษณะงานแลวแตโอกาสของลักษณะงาน

ในสภาวิทยาลัยชุมชนหน่ึงๆ มีบุคคลมาจากหลายๆ ภูมิหลัง บางทานเปนนักวิชาการ เปนนักธุรกิจ

แตเมื่อมาเปนสภาแลว ผมวาเราตอง Integrate กันใหได เราตองบูรณาการกันใหได เราตองสลัดความเปน

นักธุรกิจ ความเปนรองผูวา ความเปนอะไรตออะไรออกใหหมด แลวทุกคนจะเปนสมาชิกของสภาวิทยาลัย

ชุมชน ตอง Integrate และตองคิดกันเปนหน่ึงเลย ถาคิดแตกแยกก็จะไมสำเร็จ เพราะฉะน้ันถาพูดกันใน

ระดับบุคคลแลวก็ตองมีความดีงามซื่อสัตยมั่นคง

2.3 สวนความรับผิดรับชอบในผลงาน (Accountability) ผมจะยกตัวอยาง

ความรับผิดชอบ คือ พันธะสัญญาที่จะปฏิบัติงานใหแกองคกร มีประสิทธิภาพ และได

ประสิทธิผล ตามท่ีตกลงกัน เชน บุคคลหน่ึงไดรับเลือกเปนผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน 4 ป สภาวิทยาลัย

ชุมชนก็จะตองกำหนดความรับผิดชอบใหกับบุคคลน้ีวาใน 4 ปน้ีมีพันธะสัญญาที่จะตองปฏิบัติงานอะไรบาง

วาไปเลยแตตองมีสัญญาให ความรับผิดชอบคือพันธะสัญญาท่ีจะปฏิบัติงานใหแกองคกรใหมีประสิทธิภาพ

และไดประสิทธิผลตามที่ตกลงกัน ปที่ 1 ทำไมได ปที่ 2 ทำไมไดงั้นก็ควรจะออกไปดีกวา หรือวาทำผิด

ทำเพี้ยนก็ตองออกไป เหมือนอีกคนหนึ่งที่เราจางมาเปนพนักงานบัญชีของวิทยาลัยชุมชน เราก็ตองบอกวา

ในพันธะสัญญามีอะไรบาง ใหเขามารับผิดชอบทำอะไรบาง ความรับผิดชอบตองมี และตองมีการประเมิน

กันวาไดทำงานตามพันธะสัญญาท่ีตกลงกันไวหรือไม อันนี้คือความรับผิดชอบ ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนก็

ตองมีความรับผิดชอบ เมื่อทานไดรับการแตงตั้งเขามาเปนประธานสภาแลว ตองเขียนใหชัดเลยวา ประธาน

สภาวิทยาลัยชุมชนเม่ือไดรับการแตงตั้งแลวตองทำหนาที่อะไรบาง กรรมการทำหนาที่อะไรบาง เลขา

ทำหนาท่ีอะไรบาง สวนมากเราไมไดเขียน เมื่อเราไมไดเขียนพอเวลาทำผิดทำถูกก็จะลูบหนาปะจมูก ระบบ

ธรรมาภิบาลเกิดยากเหลือเกิน เพราะเราไมมีกฎเกณฑไวกอน อันนี้ผมฝากไว ถาเราอยากใหมั่นคงตองมี

การกำหนดความรับผิดชอบ ยกตัวอยางเชน

- สัญญาจาง

- การกำหนดภาระงานตามตำแหนง

90 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 92: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

- การกำหนดความรับผิดชอบเฉพาะกิจ เชน งานประสาทอนุปริญญาเปนงานเฉพาะกิจ เราก็ตั้งคณะ

ทำงานข้ึนมา กำหนดวาคณะทำงานจะตองมีความรับผิดชอบอะไรบาง

ผมคิดวา ถาเราจะเอาธรรมาภิบาลมาใชจริงๆ ตองกำหนดในทุกตำแหนงหนาที่เลยวา เราจะใหมี

ความรับผิดชอบอะไรบาง

ความรับผิดรับชอบ Accountability คือ พันธะสัญญาที่จะรับผิดเมื่อการบริหารหรือการปฏิบัติงาน

เกิดความเสียหาย และรับชอบเมื่อการบริหารหรือการปฏิบัติงานเกิดผลดีตามเปาหมาย

พอระบบเร่ิมทำงานวันแรกนะ ตอนท่ีเลือกผูอำนวยการ เราบอกวาคุณมาเปน ผูอำนวยการ 4 ป

มีหนาที่อยางน้ี เปนความรับผิดชอบ อันนี้เซ็นสัญญาไวเลย แตยังไมไดทำงานนะ พอเขามาทำงานวันแรก

เทานั้นจนกระทั่งจบ 4 ป ในระหวางนี้ ถาเขาทำดีระบบตองใหรางวัล แตถาเขาทำผิดระบบตองมีการลงโทษ

ลงโทษแรง ลงโทษเบาอันนี้แลวแตที่ตกลงไว ไมวากัน นี้คือ ความรับผิดรับชอบ เชน

- ระบบการประเมินผลงานของบุคคล ของสวนงาน ของสวนรวม ของวิทยาลัย

- ระบบการใหรางวัล

- ระบบการลงโทษ

- ระบบการเลื่อนตำแหนง

- ระบบการเลื่อนเงินเดือน

เหลานี้ลวนอยูในเรื่องของ Accountability ทั้งน้ัน ผมคิดวาอาจจะถึงเวลาแลวที่ผูอำนวยการวิทยาลัย

ชุมชนตองไดรับการประเมินผลงาน เขาเรียกวา Performance Assessment (PA) สวนมากแลวอาจจะ

ประเมินทุกปก็ได ประเมินดูวาทานทำงานไปตามความรับผิดชอบที่ไดตกลงกันไวหรือไม มีอะไรบกพรองบาง

มีอะไรท่ีดีงามบาง กรรมการประเมินสวนใหญจะประกอบดวยกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน 2-4 คน เสร็จ

แลวก็รายงานใหสภาทราบ หรือกรรมการประเมินอาจจะเอาภายนอกก็ได ใหกรรมการอิสระมาประเมิน

แลวแตจะตกลงกัน ในระหวางทำงานไปแลวเกิดความเสียหายแบบฉับพลันก็ตองประเมินกันแนนอน ตอง

สอบสวนแนนอน เราถึงจะมีระบบธรรมาภิบาลท่ีสมบูรณ สวนเร่ืองการใหรางวัล การลงโทษ การเล่ือน

ตำแหนง การเลื่อนเงินเดือน ควรอยูในขอบังคับของการบริหารบุคคลของวิทยาลัยชุมชน

เรื่อง Accountability เปนเร่ืองนามธรรม ที่จะตองทำเปนรูปธรรม หนึ่งคือ PA ตำแหนงที่จะตอง

ประเมินแนนอนคือผูอำนวยการ สองคือ ระบบที่อยูในขอบังคับของการบริหารงานบุคคล

91คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 93: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ความโปรงใส 1. วิทยาลัยชุมชนเปน “องคกรแหงการเรียนรู”

1.1 ตองมีการเลื่อนไหลและการเปดเผยขอมูลขาวสารภายในองคกร ตองรับรูกัน ยกตัวอยาง

เชน สภาวิทยาลัยชุมชนประชุมกันทุกเดือน เรื่องแจงเพ่ือทราบท่ีตองบอกทุกเดือนคือ ฐานะทางการเงินของ

วิทยาลัยชุมชน ตองการแจงทุกเดือนระบบบัญชีตองสามารถตรวจสอบไดทุกนาที ถาใครอยากท่ีจะตรวจสอบ

ตองพรอมที่จะใหตรวจสอบ ไมใชจะตรวจสอบแลวบอกวา ผมขออีกสัก 15 วัน ถาอยางนั้นภายใน 15 วัน

คุณจะไปแกไขตัวเลขอะไรเราก็ไมรู ตองตรวจสอบไดทันที ซึ่งตองพัฒนาใหไดถึงขนาดน้ัน อันที่ 2 ทุกเดือน

คณะกรรมการอยากจะรูอะไรบางในเรื่องของการเงินกับงบประมาณ แลวทุก 6 เดือนอยากรูอะไรบาง ทุกๆ

สิ้นปคณะกรรมการอยากรูอะไรบาง ตรงนี้สภาวิทยาลัยชุมชนตองกำหนดออกมาใหชัดเจนวาอยากรูอะไรบาง

ตองรายงานใหได เชน (1) เร่ืองสถานะทางการเงิน (2) เรื่องสถานะจัดการเรียนการสอน โดยสามารถ

เทียบกับปกอนๆ ได หรือเทียบกับเปาหมาย เชน สมมุติวาเราเปดหลักสูตรอนุปริญญาแลวก็มีเปาหมายจะ

รับ 30 คน ปแรกมาสมัคร 60 คนรับ 30 ปที่ 2 มาสมัคร 100 คน รับ 30 คน ปที่ 3 มาสมัคร 20 คนรับ 20

คน ถากรรมการมีตัวเลขเหลานี้แลวก็เล่ือนไหลและเปดเผย กรรมการจะรูไดเลยวาเกิดอะไรขึ้น ปที่ 1 มา

สมัครตั้ง 2 เทาของที่จะรับ ปที่ 2 มาสมัครตั้ง 3 เทากวา แลวปที่ 3 ทำไมมาสมัครไมครบกับที่รับ มันเกิด

อะไรขึ้น ตัวเลขเหลานี้ถามีการรายงานจะทำใหคณะกรรมการสามารถนำไปสอบสวนใหลึกซึ้งและกำหนด

ออกมาเปนนโยบายได คำตอบอาจจะไปสอบสวนแลวปรากฏวา จังหวัดน้ีหลักสูตรนี้มันเต็มแลว สอนไปเต็ม

แลวไมมีผูเรียน ปตอไปเราจะไดปด แลวไปเปดหลักสูตรใหม หรือเปนเพราะอยางอื่น เรียนไป 2 ปแลว

อาจารยลาออกไปหมดแลว เพราะเบี้ยสอนไมได พอตอนทายๆ เด็กไปพูดวา อยาไปเรียนเลยปหนาคนสอน

หนีหมดแลว คือตัวเลขเหลานี้ ทำใหเรามองเห็นความจริง แลวทำใหเราสามารถกำหนดเปนนโยบายได

เพราะฉะนั้นผมคิดวาการเลื่อนไหลการเปดเผยขอมูล และการรายงานขอมูลใหที่ประชุมสภาไดรับรูทุกเดือน

จะทำใหสภาไดรับรูวาอะไรมันเกิดข้ึน

ผมน่ังอยูในสภามหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง ไมมีการรายงานจำนวนนักเรียนนักศึกษา มีขอเสนอจากฝาย

บริหารเขามาแปลกๆ สุดทาย ผมถามวามีนักเรียนอยูเทาไร มีไมถึง 1 ใน 4 ที่เคยมี เด็กหายหมดเลยแลว

บอรดไมเคยรูเลย สภามหาวิทยาลัยไมเคยรูเลย คือ มหาวิทยาลัยเสียหายโดยท่ีคณะกรรมการไมรูตัว เพราะ

ไมมีการรายงาน

92 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 94: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ตรงนี้ขอฝากพวกเราไวดวยวา สภาวิทยาลัยชุมชนจำเปนตองไดรับขอมูลความโปรงใสของฝายบริหาร

โดยตองกำหนดใหฝายบริหารวาตองรายงานอะไร แลวฝายบริหารตองไปจัดระบบออกแบบระบบบริหารให

สามารถรายงานได ถารายงานไมไดตองสงสัยไวกอนวา มีการปกปด และตองสามารถเปรียบเทียบไดกับ

ปกอนๆ ไมใชรายงานเฉพาะหนึ่งเดือนที่ผานมา ถารายงานการเงินเมื่อเดือนกุมภาพันธ สมมุติเราประชุม

เดือนมีนาคม เราตองไดรายงานการเงินเดือนกุมภาพันธแลวเทียบกับรายงานการเงินเดือนกุมภาพันธปที่แลว

ดวย จึงจะรูไดวาตอนนี้เรากำลังขาดทุนหรือกำไร เงินกำลังเหลือมากหรือเหลือนอยหรือไมเหลืออะไรเลย

หรือมีแตหนี้ตางๆ เหลานี้เปนตน ขอฝากคณะกรรมการไว คณะกรรมการตองรับรูตรงนี้ การเลื่อนไหลและ

การเปดเผยขอมูลขาวสารในองคกร

1.2 การมีสวนรวมในหลายพ้ืนที่

1.3 ความเปนธรรมในองคกร คณะกรรมการตองใหความเปนธรรมในองคกรกับเขาใหได

โดยคณะกรรมการตองถือวาตัวเองเปนผูใหญ ตองไมมีอคติทั้งบวกและลบ

2. ปราศจาก “การขัดกันแหงผลประโยชน ” (Conflict of Interest)

คณะกรรมการเองตองทำตัวอยาง ฝากคณะกรรมการทุกคณะกลับไปคิดในการออกรหัส กฎ ขอ

บังคับ หรือกฎเกณฑของการขัดกันแหงผลประโยชนของวิทยาลัยชุมชน วาประธานกรรมการสภา และกรรม

การสภาวิทยาลัยชุมชนตองไมทำอะไรบาง เชน

2.1 ตองไมคาขายกับวิทยาลัยชุมชน

2.2 ตองไมฝากเด็ก

ตองกำหนดกติกา กติกาแตละแหงตางคนตางไปเขียน หรือตั้งคณะทำงานชวยกันเขียนเปนกติการวม

วาวิทยาลัยชุมชนประเทศไทยจะไมทำอะไรบาง และกติกาเฉพาะแหง พรอมประกาศเอาเขาสภา ใหสภา

อนุมัติวาเปนกติกาของการขัดกันแหงผลประโยชน แลวก็ปฏิบัติตามกติกา

การตรวจสอบ 1. มิติของการตรวจสอบ

1.1 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Assessment – PA) การตรวจสอบของ

ผูอำนวยการ

93คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 95: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

2. ระดับของการตรวจสอบ

2.1 ระดับสภามหาวิทยาลัย

2.2 ระดับมหาวิทยาลัย

2.3 ระดับสวนงาน

2.4 ระดับหนวยงาน

ระบบการตรวจสอบ จริงๆ ตองลงไปที่สภาวิทยาลัยชุมชนดวย สภาวิทยาลัยชุมชนตองถูกตรวจสอบ

คณะกรรมการวิทยาลัยชุมชนลองไปต้ังระบบ ตัวอยางเชน

- จำนวนคร้ังในการเขาประชุมสภา สภามาประชุมกี่เปอรเซ็นต สมมติวาประชุมกันปละ 10

ครั้ง แตละคนมาประชุมกี่ครั้ง ตองรายงานท้ังหมด

- การมีมติและมตินั้นสามารถจะนำปฏิบัติได เชน การประชุมสภาวิทยาลัยชุมชนจะกำหนด

ระเบียบวาระการประชุม (Agenda) มักจะใชคำผิดวา วาระการประชุม (Term) คือชวงเวลาการดำรง

ตำแหนง ไมใชหัวขอการประชุม ถาหัวขอการประชุมเรียก “ระเบียบวาระการประชุม” โดยมีองคประกอบ

ดังนี้

ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวาระท่ี 1 เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ

1.1 เรื่องท่ีประธานแจงใหที่ประชุมทราบ ในการประชุมทั่วโลกเขาถือเปนหลักปฏิบัติทั่วโลกวา

ประธานเปนคนเดียวในที่ประชุมท่ีจะพูดหรือแจงอะไรก็ไดกอนเนื้อหาสาระที่แจงไว อาจพูดถึงเรื่องทั่วไปก็ได

แตถามีสาระก็บันทึกไวในรายงานประชุม แตถาไมมีในรายงานการประชุมก็จะบันทึกไววา ระเบียบวาระที่ 1

เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ (ไมมี)

1.2 เรื่องท่ีเลขานุการแจง เรื่องท่ีทุกคนจะแจงตองผานมาที่เลขาเพ่ือที่จะแจงใหที่ประชุมทราบ

ซึ่งอาจเปนผลการปฏิบัติตามมติที่ประชุมในคราวท่ีผานมา ประกอบดวยชื่อระเบียบวาระ มติ และผลการ

ปฏิบัติงานตามมติ

ระเบียบวาระท่ี 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ในคราวท่ีผานมา

ระเบียบวาระท่ี 3 เรื่องสืบเนื่อง/เรื่องคางพิจารณา

เรื่องสืบเนื่องคือ เรื่องที่คราวที่แลวระบุวาเปนเรื่องพิจารณา แลวพิจารณาไปแลวสวนหนึ่ง แตวายัง

ไมจบ อาจเปนเพราะขอมูลไมพอ หรือยังตองมีคนอื่นใหความคิดเห็น ตองใหเครดิตเอามาพิจารณาตอเลย

94 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 96: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เปนเรื่องสืบเนื่อง เรื่องคางพิจารณา คือเรื่องพิจารณาคราวท่ีแลว แตยังไมไดพิจารณาเลย คราวนี้ก็ตองเอา

มาเปนเรื่องพิจารณา

ระเบียบวาระท่ี 4 เรื่องเพื่อพิจารณา

เรื่องเพื่อพิจารณาอาจจัดหมวดหมูใหม เชน

4.1 เรื่องเชิงนโยบาย เชน การเปด-ปดหลักสูตร

4.2 การแตงตั้งบุคคล

4.3 การสำเร็จการศึกษา

ฯลฯ

ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ

คือเรื่องที่ไมไดเตรียมไวกอน เปนเรื่องที่ที่ประชุมเห็นวาควรพิจารณา อยูในอำนาจหนาที่ของสภา

ถาทำอยางน้ีไดจะทำใหการตรวจสอบการทำงานของสภาวิทยาลัยชุมชนจากรายงานการประชุมเปน

ไปได เพราะสภาเองก็ตองถูกตรวจสอบ

โครงสรางของระบบธรรมาภิบาล (Good Governance Structure) ทุกองคกรไมวาภาครัฐ เอกชน ธุรกิจ NGO ถาวิเคราะหโครงสรางองคกรแลว จะแตกออกมาเปน 4

ระดับเสมอ คือ

ระดับที่ 1 คือ เจาของ

ระดับที่ 2 คือ คณะกรรมการนโยบาย

ระดับที่ 3 คือ ผูบริหาร

ระดับที่ 4 คือ ผูปฏิบัติ

ทุกองคกรจะมีโครงสรางแบบนี้ ตัวอยางเชน รานกาแฟท่ีสามีภรรยาเปนเจาของ ก็จะแตกออกมาเปน

แบบนี้ได

ระดับที่ 1 เจาของ คอื สามีภรรยา

ระดับที่ 2 นโยบาย คือ สามีภรรยา กำหนดวาจะขายตอนไหน ราคาเทาใด

ระดับที่ 3 ผูบริหาร คือ สามีภรรยา

ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ คือ สามีภรรยา

95คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 97: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ตอนหลังสามีภรรยาคูนี้ไดเก็บเงินและขยายราน ซื้อหองแถวเพ่ิม จางลูกจาง ผูปฏิบัติจะกลายเปนลูก

จาง รานกาแฟท่ีผมยกตัวอยางน้ีไดขยายกิจการเปดเปนซุปเปอรมาเก็ต และขยายกิจการจนใหญโต เปน

กลุมบริษัทหนึ่งที่ใหญโตมากในประเทศไทย ดังนั้น

ระดับที่ 1 เจาของ คือตระกูลเขา

ระดับที่ 2 นโยบาย อาจเปนลูกชาย ลูกเขย เปนประธานกรรมการ และมีมืออาชีพมาเปนกรรมการ

ระดับที่ 3 ผูบริหาร อาจเปนคนในครอบครัว หรืออาจจาง CEO มืออาชีพ

ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ คือ ลูกจาง

สำหรับวิทยาลัยชุมชน ทั้ง 4 ระดับ เจาของ คณะกรรมการนโยบาย ผูบริหาร และผูปฏิบัติ ตองมี

ทั้งความรับผิดชอบ และรับผิดรับชอบ ผูปฏิบัติตองรับผิดชอบและรับผิดรับชอบตอผูบริหาร ผูบริหารตอง

รับผิดชอบ และรับผิดรับชอบตอกรรมการนโยบาย กรรมการนโยบายตองรับผิดชอบ และรับผิดรับชอบตอ

เจาของ

ระดับที่ 1 เจาของ คือ รัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ ประชาชน

ระดับที่ 2 นโยบาย คือ สภาวิทยาลัยชุมชน

ระดับที่ 3 ผูบริหาร คือ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ผูบริหารระดับกลาง ระดับลาง

ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ คือ เจาหนาที่ ครู ผูสอน ซึ่งมี 2 องคประกอบ คือ สายบริหารจัดการองคกร

และบริหารหลักสูตร ไดแก การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล

ผูปฏิบัติตองรับผิดชอบตอผูอำนวยการ ผูอำนวยการตองรับผิดชอบตอคณะกรรมการนโยบาย คณะ

กรรมการนโยบายตองรับผิดชอบตอกระทรวงศึกษาธิการ หรือตอบอรดใหญ จะตองเปนชั้น ๆ ขึ้นไปจึงจะ

เปนโครงสรางธรรมาภิบาลอยางแทจริง

วิทยาลัยชุมชนเจาของ คือ รัฐบาล ยังไมเปดโอกาสใหเอกชนเปนเจาของวิทยาลัยชุมชน เนื่องจากเรา

ตองการใหวิทยาลัยชุมชนยึดชุมชนเปนฐาน เปดโอกาสใหกับคนยากดีมีจน อยูอำเภอไหนก็เขาเรียนได

เพราะฉะนั้นการเก็บคาหนวยกิตจึงถูกมาก และความถูกมากถาตกไปในมือเอกชนจะทำไดยาก เพราะเขา

ตองลงทุน ในการลงทุนตองขีดเสนกำไร ไมงั้นจะอยูไมได และตองดูแลคุณภาพมาตรฐานใหอยูในกรอบ

เดียวกอน เจาของจึงเปนรัฐบาลหรือประชาชน นโยบายก็เปนสภาวิทยาลยัชุมชน ผูบริหารก็เปนผูอำนวยการ

ผูปฏิบัติก็เปนทั้งสองสายในแตละระดับตองมีความรับผิดชอบหลักๆ ดังน้ี

96 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 98: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ความรับผิดชอบในแตละระดับ ระดับท่ี 1 เจาของ

1.1 ตองกำหนดเปาประสงคหลักขององคกรมาใหได กระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐบาลไทยตองบอก

ใหไดวาตั้งวิทยาลัยชุมชนมาเพื่ออะไร ซึ่งจะบอกตอนจัดต้ัง และ 1) ในรางพระราชบัญญัติวิทยาลัยชุมชน

ตองบอกวาประเทศนี้มีวิทยาลัยชุมชนเพื่ออะไร ในมาตราตนๆ ตองยึดตรงนั้นมาเปนเปาหมายหลัก 2) ใน

แผนพัฒนาอุดมศึกษาแหงชาติ ในทุก 10 – 15 ป สภาการศึกษาตองเสนอแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติซึ่ง

มีตั้งแตปฐมวัย พื้นฐาน อาชีวะ อุดมศึกษา และในอุดมศึกษาตองพูดใหชัดเลยวา วิทยาลัยชุมชนจะไป

ทิศทางไหน 3) แผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแหงชาติทุก 5 ปวาจะใหทำอะไร 4) แผนงบประมาณ

ประจำปตองบอกใหไดวาในปนี้ ปหนา ของบประมาณประจำปเพื่อพัฒนาวิทยาลัยชุมชนไปทางไหน

1.2 ใหการสนับสนุนองคกร

ระดับที่ 2 กรรมการนโยบาย

2.1 แปลงเปาประสงคเปนนโยบายองคกร สภาตองนำเปาประสงคของเจาของมาแปลงเปนนโยบาย

ของวิทยาลัยชุมชน

2.2 สงเสริมสนับสนุนผูอำนวยการ และผูปฏิบัติทุกคน ใหทำงานไดตามเปาประสงค ตามนโยบาย

2.3 หนาที่อื่นตามที่กฎหมาย และนโยบายรัฐ

ระดับที่ 3 ผูบริหาร หรือผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน

3.1 แปลงนโยบายองคกรเปนนโยบายเชิงบริหารและแผนยุทธศาสตรของแตละวิทยาลัยชุมชน

เปนหนาที่ของ CEO หรือผูอำนวยการ

3.2 บริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลตามเปาหมาย

ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ

4.1 แปลงแผนยุทธศาสตร เปนแผนปฏิบัติงานประจำป

4.2 ปฏิบัติงานใหไดตามแผนที่ไดวางไว

97คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 99: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ความรับผิดชอบตอสังคม ระดับที่ 1 เจาของ

เจาของ หรือรัฐ หรือกระทรวงศึกษาธิการตองสนับสนุนอุดมศึกษาเพื่อเปนแหลงเพาะองคความรู

และปญญา แหลงผลิตนักวิชาการ และนักวิชาชีพชั้นสูง เพื่อเปนพลังในการพัฒนาประเทศ เปนแหลงเก้ือกูล

ตอการทำนุบำรงุศลิปวฒันธรรมและอนุรกัษ กบัทัง้เพิม่พนูทรัพยากรธรรมชาติเพือ่ประโยชนโดยรวมตอสงัคม

ระดับที่ 2 กรรมการนโยบาย

สภาวิทยาลัยชุมชน กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน และประธานกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน

2.1 ถือวาการเขามาเปนกรรมการสภามหาวิทยาลัยคือ โอกาสสุดยอดในการรับใชสังคม คนเราตอง

รับใชสังคม

2.2 ทุมเทสติปญญา เวลา เพื่อวิทยาลัย

2.3 เปนงานปดทองหลังพระ งานที่ทุมเท มีความสุขท่ีไดทำงานเพื่อคนอ่ืน มีความสุขที่ไดเห็น

วิทยาลัยเจริญ

ระดับที่ 3 ผูบริหาร หรือผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน

ผูบริหาร ผูอำนวยการ ตองถือวา

3.1 การท่ีไดรับเลือกเปนผูบริหารเปนโอกาสทองของชีวิตที่ไดมีโอกาสนำเอาความรู ประสบการณ

และเจตนาดีมาบริหารจัดการวิทยาลัยชุมชน

3.2 งานน้ีเปนงานหนัก ตองเสียสละ อดทน อดกล้ัน และอดออม

3.3 ถอมตน สุภาพ และขมใจมิใหหลงใหลไปกับอำนาจบริหาร (ยิ่งสูงย่ิงตองโนมต่ำ)

3.4 มุงมั่นสูความสำเร็จ

ระดับที่ 4 ผูปฏิบัติ ก็คือพนักงานของวิทยาลัยเอง

4.1 เปาหมายงาน คือ เปาหมายชีวิต ยิ่งงานสำเร็จสูงชีวิตก็ไปสูเปาหมายที่สูงได

4.2 ความสำเร็จขององคกร คือ รมโพธิ์รมไทรใหแกทุกคน

4.3 ใหสรางความรักความภูมิใจในองคกรของตน จะทำใหทุกคนมีคุณคาขึ้น

นี่คือหลักกวางๆ ของระบบธรรมาภิบาล ผมขอฝากหลักปฏิบัติไวแลว ก็ขอฝากการบานไวดวย ผมมี

เรื่องที่กราบเรียนกับประธานกรรมการสภาวิทยาลัยโดยตรง ตอนตนเปนโครงสรางธรรมาภิบาล ซึ่งรวมหมด

98 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 100: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ทั้ง 4 ระดับ ทั้งระดับผูปฏิบัติ ผูบริหาร กรรมการสภา และเจาของ ตอไปนี้เปนเรื่องเฉพาะกรรมการสภา

สถาบัน เคยไปพูดในวิทยาลัยชุมชนบางแหงแลว หลายทานก็เคยฟงแลว บางทานยังไมไดฟงก็ขออนุญาตพูด

ซ้ำ ซึ่งไดมาจากประสบการณของสถาบันอุดมศึกษาท่ีไมมุงหวังผลกำไรของสหรัฐฯ ไดไปรวบรวมมา และ

ผมเชื่อวานาจะเปนประโยชนตอพวกเรา ดังนี้

คณะกรรมการสภาสถาบัน 1. คณะกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาตองเช่ือมั่นและยึดมั่นใน

1.1 จิตใจอาสาสมัคร (Volunteerism)

1.2 จิตใจสาธารณกุศล (Philanthropy)

เราเขามา เราอาสาสมัครเขามาเพื่อจะมาทำสาธารณกุศล

2. เพราะฉะน้ันจึงเปนการปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการสภาสถาบันจึงถือเปน “สุดยอด” (crown

jewel) ของการรับใชสังคม (public service)

ภาษาฝร่ังใชคำวา “crown jewel of public service” crown jewel ก็คือวาในมงกุฎของราชินีหรือ

ราชาในยุโรป จะมีเพชรพลอยหลายเม็ด แตจะมีเม็ดหลักอยูเม็ดหนึ่งตรงกลางคือ crown jewel

3. สิ่งท่ีกรรมการสภาไดรับ คือ การยอมรับนับถือ (respect) จากสาธารณะ เปนการทำงานปดทอง

หลังพระ ไดรับความเชื่อมั่น

4. สิ่งที่กรรมการสภาพึงปฏิบัติใหได คือ

4.1 ความรับผิดชอบ (responsibility)

4.2 พันธะพิเศษ (special obligations) ตองปฏิบัติพันธะพิเศษในหลายคร้ัง บางทีก็เปน

กรรมการสรรหา บางทีก็เปนกรรมการไปทำโนนทำน่ี เราก็ตองยอมรับ ไมใชพอท่ีประชุมมอบหมายก็บอก

ไมวาง งานเยอะ ซึ่งก็ไมยุติธรรม ถาเราแบงงานกัน งานก็ไมมากนัก

4.3 ความคาดหวัง (high expectation) การท่ีเรามาเปนกรรมการสภา ประธานสภาน้ัน มี

ความคาดหวังจากหลายๆ ฝาย บางคาดหวังผลประโยชนสวนตน บางคาดหวังวา จะมาทำใหวิทยาลัยชุมชน

เจริญกาวหนาได เปนตน

99คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 101: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ความรับผิดชอบ 12 ประการของกรรมการสภาสถาบัน 1. ตองกำหนดพันธกิจและเปาประสงค (setting mission and purposes) ใหชัด สภาตองเขาใจเปา

ประสงคของสถาบันอยางชัดเจน และชวยกันกำหนดทิศทางใหสถาบันเดินไปสูเปาประสงคนั้นๆ ซึ่งตองไปดู

นโยบาย 15 ป ของแผนอุดมศึกษาของชาติ ตองดูมติคณะรัฐมนตรีที่ประกาศตั้งวิทยาลัยชุมชนแหงชาติ เมื่อ

2545 วา คาดหวังอะไร ทำไมถึงตั้งวิทยาลัยชุมชน เปนตน

2. ตองรับผิดชอบในการสรรหาผูอำนวยการหรือ CEO ของวิทยาลัยชุมชน (appointing the

president) เปนความรับผิดชอบสำคัญที่สุดที่สภาวิทยาลัยชุมชนท่ีจะตองสรรหาบุคคลท่ีมีคุณสมบัติ และ

ประสบการณที่จำเปนเพื่อมารับหนาที่ที่สำคัญนี้

3. สนับสนุนงานของผูอำนวยการ (supporting the president)

3.1 ใสใจและชวยเหลืองานของวิทยาลัย

3.2 ชวยระดมทรัพยากรชวยวิทยาลัย

3.3 ชวยใหกำลงัใจ และชมเชยในความสำเร็จ

3.4 มาประชุมอยางสม่ำเสมอ

4. ติดตาม-กำกับการปฏิบัติงานของผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน (monitoring the president’s

performance)

4.1 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (PA)

4.2 การตรวจสอบภายในดานการเงิน ผมลืมถึง Financial Auditing คือการตรวจสอบ

การเงิน จะขอสำนักงานตรวจเงินแผนดนิ (สตง.) จงัหวดัใหมาชวยดกู็ได แตทกุปตองมีรายงานการตรวจสอบ

การเงิน ผมคิดวา องคกรเราไมใหญและไมซับซอนนัก เงินมีไมคอยมาก จะขอสำนักงาน สตง. จังหวัดเขา

ตรวจสอบทำ Financial Auditing ใหเรา ทั้งน้ีเพ่ือชวยใหผูอำนวยการปฏิบัติงานไดดียิ่งข้ึน (to help

strengthen his or her) ไมไดไปจับผิด ยกเวนคนท่ีผิดแลวไมอยากใหคนอ่ืนจับ คนเขาใจเรื่องตรวจสอบ

ภายในทางการเงินผิดไปมาก และผมคิดวาตองทำความเขาใจใหตรงกัน สภาเองตองทำความเขาใจใหตรง

กัน สภาตองตั้งใหมีระบบนี้ขึ้นมา ไมใชอยากใหมีเพราะอยากมาจับผิด แสดงวาเราละเลย มันไมถูก คลาย

ไปจับผิดบุคคล แตผมคิดวาถาเราต้ังระบบของเรา สรางระบบเราใหดี มาตกลงกันในสภาวาเราตองมี

Financial Auditing ทุกป แลวทุกปตองมีรายงานการเงินอยางน้ี จะทำใหผูอำนวยการสบายใจ วาการ

บริหารการเงินของทานท่ีผานมามีขอบกพรองอะไรหรือไม ตองปรับปรุงตรงไหนบาง Financial Auditing

100 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 102: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ที่ดี ตองสามารถช้ีจุดออนใหปรับปรุงได

5. ประเมินการปฏิบัติงานของสภาวิทยาลัย (assessing board performance) สภาเองก็ตอง

ประเมิน เชน

5.1 ประเมินผลการปฏิบัติตามมติสภา ที่ผมบอกไปแลว ระเบียบวาระ 1.2.1 ผลการปฏิบัติ

ตามมติสภา ตรงนี้คือ การปฏิบัติทุกเดือนท่ีมีการประชุม

5.2 ประเมินผลงานของสภาประจำปโดยองคกรอิสระ

5.3 จัดประชุมปฏิบัติการ (workshop) หรือประชุมทบทวน (retreat) ทุก 3-4 ปโดยสมาชิก

สภา เชน สมาชิกสภาวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน อาจจะขอมาซัก 1-2 วันในหน่ึงป แลวคุยกันวาเราทำอะไร

กันที่ผานมา 2 ป และจะปรับวิธีทำงานยังไงใหมันดี เปนการ retreat ในการประเมินตนเองไดเหมือนกัน

6. ยืนหยัดใหมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร (insisting on strategic planning) คือการนำเอานโยบาย

ขององคกร แปลงเปนแผนยุทธศาสตรเพ่ือใหเกิดเปนแผนปฏิบัติงาน นโยบายก็ไมเกิดเปนผลเม่ือเขียนไวใน

กระดาษเฉยๆ แผนยุทธศาสตรคือสะพานเชื่อมระหวางนโยบายกับการปฏิบัติงานจริง ฉะนั้นสภาตองยืนหยัด

เลยวา ผูอำนวยการตองทำแผนยุทธศาสตร ผูอำนวยการ ผูบริหาร และผูปฏิบัติตองรวมกันทำแผน

ยุทธศาสตรเสนอสภาใหอนุมัติใหได

6.1 ใหฝายบริหารและฝายปฏิบัติกำหนดแผนบริหารและแผนปฏิบัติ

6.2 ประเมินผลงาน-ผลกระทบ

6.3 ปรับปรุงการบริหารและการปฏิบัติ

- หลักสูตร การเรียนการสอน ดูวา หลักสูตรระยะส้ันปนี้ทำไปเทาไร ปที่แลวทำไปเทาไร

ปที่แลว 3 ป มีกี่หลักสูตร มีคนเขารวมเทาไร เปนตน

- การวิจัยและพันธกิจตาง ๆ

7. ทบทวนหลักสูตรและโครงการบริการสังคม (reviewing education and public-service

programs) เพื่อนำไปสู

7.1 การควบคุมคาใชจาย (cost containment) เชน หลักสูตรบริหารคอมพิวเตอรธุรกิจ

ทำมาแลว 3 ป เราตองมีระบบที่สามารถรายงานไดวา ปแรกใชเงินไปเทาไร คาใชจายทั้งหมดตอหลักสูตร

เทาไร และมีผลิตผลออกมาก่ีคน แลวหารออกมาวาผลิตบัณฑิตอนุปริญญาบริหารธุรกิจ 1 คน ปแรกใชเงิน

เทาไร สมมติวาใชเงินไป 2,300 บาท เอาคาใชจายทั้งหมดมาหารผลลัพทที่ได ปที่ 2 ใชเงินไป 2,100 บาท

101คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 103: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ปที่ 3 ใช 3,500 บาท พอ cost/graduate ออกมาทานตองถามวา เกิดอะไรขึ้น ทำไมปที่ 3 คาใชจายของ

บัณฑิตแตละคนถึงแพงกวา ปที่ 1 และ 2 อาจจะมีเรื่องของการลงทุน เชน ลงทุนหองแล็บคอมพิวเตอร 1

หอง เลยทำใหคาเฉล่ียเพ่ิม ถาอธิบายไดก็ไมเปนไร ถาสภาเขาใจได ยอมรับไดก็ไมเปนไร เปนการพัฒนา

คุณภาพ แตวาตองมีการรายงานเพ่ือใหมีการดูแลเรื่องคาใชจาย เรื่อง cost containment เปนเร่ืองที่ตอง

พิจารณา ของผมดูหมดเลยทั้งคาน้ำประปาทุกเดือน เทียบกับปที่แลวเดือนน้ี และปนี้เดือนน้ี และนักเรียนปที่

แลว นักเรียนปนี้เทาไร แลวทำไมน้ำประปาปนี้เทียบกับปที่แลวจึงขึ้น อัตรามันขึ้น หรือจำนวนหนวยมากข้ึน

แลวทำไมจึงเสียน้ำมาก หรือวามีรอยร่ัว อธิบายกันใหได คาไฟ คาน้ำมันรถ คาเดินทางไปประชุมนอก

สถานที่เปนอยางไรตองรายงานท้ังหมด

7.2 การจัดสรรทรัพยากรใหม (reallocating limited resources to capitalize on

institutional strength)

7.3 การลดแรงกดดันที่ตองขึ้นคาเลาเรียน (reducing the rate of tuition increase) ถาเรา

ทำ cost containment ดี และจัดสรรทรัพยากรใหมมาได ก็ลดแรงกดดันที่ตองขึ้นคาเลาเรียนแกเด็ก เด็กก็

ไมตองไปแบกรับ เปนการงายเกินไปท่ีสภาจะไมสนใจการบริหารอะไรเลย แลวก็วาบอกปที่แลวขาดทุน ปนี้

ขอข้ึนคาเลาเรียน ผลักภาระไปอยูที่ผูเรียนรุนใหม แตถาเรามาพิจารณากันอยางนี้ ทำใหการบริหารจัดการ

ชัดขึ้น จะลดแรงกดดันท่ีจะข้ึนคาเลาเรียนแกผูเรียน ก็จะตรงตามปรัชญาของเรา

7.4 การปรับโครงสราง (restructuring) ถาหากมีปญหาจริงๆ ก็ปรับโครงสราง โครงสรางที่

ฝายบริหารเสนอมาก็ตองวิเคราะหวาทำไมตองตั้งหลายฝาย จำเปนหรือไมจำเปนแคไหน ยุบไดไหม ปรับ

โครงสรางไดไหม บางทีคณะกรรมการก็ตองทำเหมือนกัน

8. ประกันความพอเพียงของทรัพยากร (ensuring adequate resources)

8.1 “งบประมาณไมเคยพอ” ก็จริง แตสภาตองรวมรับผิดชอบเพ่ือใหมีทรัพยากรท่ีเพียงพอ

ตอการบริหาร และปฏิบัติงาน

8.2 กรรมการสภาตองชวยกันหาเงินนอกงบประมาณ หาทรัพยากรอ่ืน เชน ทรัพยากรบุคคล

หรือเครือขาย หาความรวมมือ หาพันธมิตร ชวยฝายบริหาร

9. ประกันการบริหารจัดการที่ดี (ensuring good management) เครื่องช้ี คือ

9.1 มี “ธรรมาภิบาล”

9.2 งบดุลไมติดลบ

102 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 104: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

9.3 คณาจารยและเจาหนาที่มีคุณภาพ เสียสละเพื่อสถาบัน

9.4 ได “บัณฑิตที่พึงประสงค” ฯลฯ

10. ยึดม่ันในความมีอิสระของสถาบัน (preserving institutional independence)

10.1 สภาปฏิบัติในกรอบจริยธรรม

10.2 ผูบริหาร และผูปฏิบัติสามารถปฏิบัติงานไดผลดี

10.3 สถาบันไดรับการรับรองคุณภาพ หากเปนเชนนี้แลวสภาวิทยาลัยตองประกัน “ความเปน

อิสระทางวิชาการ” (academic freedom) และ ”ความเปนอิสระในการบริหารสถาบัน” เรื่องความเปน

อิสระน้ี ผมอยากใหสภาคอยๆ ปลอย ถาฝายบริหารกับฝายปฏิบัติยืนไดอยางมั่นคง เร่ืองอิสระสภาก็จะ

ปลอยเอง แตวาในการตั้งวิทยาลัยชุมชนแหงใหมๆ ที่ระเบียบขอบังคับตางๆ ยังไมคอยรัดกุม ผมอยากให

สภาเปนพี่เลี้ยงใหมากกวา เมื่อผานไป 3 ป 5 ป 10 ป วิทยาลัยชุมชนบางแหงเริ่มเจริญเติบโตมีระเบียบ

มีขอบังคับ และรายงานตางๆ ที่เขามา การประเมินผลงาน การรับรองรายงานการเงินตางๆ ดีขึ้นก็ผอนได

ที่ตางประเทศบอกวา ถาสภาได 3 อันบน เราจะคอยๆ ผอนลงลาง คือ สภาปฏิบัติในกรอบจริยธรรมชัดเจน

ผูบริหาร ผูปฏิบัติปฏิบัติงานไดผลดี วิทยาลัยไดรับการรับรองคุณภาพ หลังจากนั้นเราก็คอยๆ ปลอยเปน

อิสระในการบริหารจัดการ

11. เชื่อมโยงวิทยาลัยชุมชนไปสูชุมชน และเชื่อมโยงชุมชนสูวิทยาลัยชุมชน (relating campus to

community and community to campus)

11.1 สภาวิทยาลัยเปน “กันชน – buffer”

11.2 สภาเปน “สะพาน-bridge” เชน บางครั้งส่ือมวลชนอาจจะเขาใจสภาของวิทยาลัยชุมชน

ผิด สภาก็ตองมีหนาที่ชี้แจง หรือเรามีหนาที่หาสิ่งดีงามไปเช่ือมระหวางวิทยาลัยชุมชนกับชุมชน

11.3 สภาชวยสรางความเขาใจระหวางชุมชนกับวิทยาลัย (one foot firmly planted in “the

real world and the other in “the academic world””)

12. บางครั้งทำหนาที่เปนศาลอุทธรณ (serving occasionally as a court of appeal)

12.1 ความขัดแยง ความขัดของหมองใจท้ังหลายของนักศึกษา เจาหนาที่ คณาจารย ตองยุติ

สิ้นสุดที่ระดับบริหารและระดับปฏิบัติ

12.2 สภามีหนาที่ดูแลวา “ระบบและกระบวนการยุติธรรมในวิทยาลัยเปนไปตามกฎระเบียบ

และความเปนธรรม” หรือไม บางครั้งก็จำเปนตองทำ เพราะบางคร้ังมีเรื่องอุทธรณรองทุกขมาที่สภา สภาก็

103คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 105: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ตองทำหนาที่นี้เหมือนกัน

หนาที่ของกรรมการสภาแตละทาน 1. ออกความเห็นดวยความบริสุทธ์ิใจ และตั้งใจฟงเหตุผลของคนอ่ืนบาง

2. เมื่อมีมติแลว ตองสนับสนุนมตินั้นอยางเต็มกำลัง ไมวาจะเห็นดวยหรือไมเห็นดวยกับมตินั้น

3. ชวยเผยแพรผลงานและเกียรติคุณของสภาของวิทยาลัย

เทาที่ผมสังเกตดูทานท้ังหลายท่ีเสียสละมาชวยงานของวิทยาลัยชุมชน โดยเฉพาะกรรมการสภา

ปรากฏวา เปนหวงเปนใย รักใครวิทยาลัยของทานอยางกับลูกกับหลาน เกิดฉันทาคติ เกิดรักเกินเหตุก็มี

เหมือนกัน แตสวนมากแลวมีความรูสึกซาบซึ้งมาก และก็เปนหวงเปนใยมาก ซึ่งเปนของดี

พระบรมราโชวาท ที่นาจะเปนประโยชนตอการทำงาน

1. พระบรมราโชวาท เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2525

“หนาที่ของแตละบุคคล จะมี 2 อยาง คือ สรางตัวเองใหเจริญรุงเรือง สามารถท่ีจะทำงานทำการใน

แนวของตัว เพื่อที่จะเล้ียงชีวิต และอีกดานหนึ่งก็คือชวยสวนรวมไดอยูดีกินดี”

ทานทั้งหลายที่เปนกรรมการสภา ทานประสบผลสำเร็จในขอแรกมาแลว หนาที่การงานตามแนวของ

ทานแตละคน แลวทานกำลังมาชวยสวนรวม ไดอยูดีกินดี ผมถือวาทานทำตามแนวพระบรมราโชวาท คือขอ

ที่สองคนไทยนอกจากจะเอาตัวเองรอดแลว ตองชวยสวนรวมใหอยูดีกินดี

2. พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาเมื่อ 12 กรกฎาคม 2522

“คนไมมีความสุจริต คนไมมีความม่ันคง ชอบแตมักงาย ไมมีวันจะสรางสรรคประโยชนสวนรวมที่

สำคัญอันใดได ผูที่มีความสุจริตและมุงมั่นเทาน้ัน จึงจะทำงานสำคัญยิ่งใหญที่เปนคุณประโยชนอยางแทจริง

ไดสำเร็จ...”

ตอนตนกลาววาหนาที่ของคนไทยมี 2 อยาง คือสวนตัวมีอาชีพ และชวยสวนรวม พระบรมราโชวาท

องคนี้พูดถึงวา คนท่ีจะชวยสวนรวมและทำงานใหญไดสำเร็จ ตองมีความสุจริตและมุงมั่นเทานั้น สิ่งที่ผม

กราบเรียนเรื่องหลักการธรรมาภิบาลไปแลวนั้น อยูที่ความสุจริตเปนพื้นฐาน

104 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 106: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

3. พระราชดำรัสเพื่ออัญเชิญไปอานในพิธีเปดประชุมยุวพุทธิกสมาคมแหงชาติครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 13

เมษายน 2516

“...การทำสิ่งท่ีดีงามนั้น ไมใชของที่พนสมัย หรือของที่นากระดากอาย หากเปนของที่ทุกคนทำไดไม

ยาก และใหผลตอบแทนอยางคุมคา เพราะความดีนั้นทรงคา และทรงผลดีอยูตลอดกาลมิไดเปลี่ยนแปลง มี

แตคานิยมในความดีเทานั้นท่ีเปลี่ยนแปลงไป...”

ประโยคหลังนี่สำคัญนะ มีแตคานิยมในความดีเทาน้ันที่เปลี่ยนแปลงไป ผมคิดวาตรงนี้สำคัญ

ประโยค 2-3 ประโยคแรกทานรับสั่งวาการทำความดี ไมใชของลาสมัย และนาอาย และการทำความดีให

ผลดีตลอดกาลไมเปล่ียนแปลง แตที่นาระวังมากคือคานิยมในความดีเทาน้ันที่เปล่ียนไป ในบางยุคบางสมัย

เราไมไดยกยองความดี เราไปยกยองความรวยความโกงหรือไม ตรงน้ีคือ message สำคัญ ในวิทยาลัยชุมน

เราจะพูดกันในเร่ืองความดีความงามตลอดเวลา ผมก็อยากจะกราบเรียนวาเม่ืออานกระแสพระราชดำรัสน้ี

แลว สิ่งหนึ่งที่เราตองยึดมั่นคือเราตอง เชื่อมั่นในความดี ถาเราสงสัยในความดี สังคมแย คือ คานิยมใน

ความดีเปลี่ยนไปแยเลย ผมคิดวาเราตองยึดมั่นและเชื่อมั่นในความดี เราตองมีความมั่นใจในความดี

4. พระบรมราโชวาทเม่ือวันที่ 10 กรกฎาคม 2518

“ความสุขความเจริญท่ีแทจริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาไดดวยความเปน

ธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำ ไมใชไดมาดวยความบังเอิญ หรือดวยการแกงแยงเบียดเบียนจากผูอื่น”

ตองไดดวยความเปนธรรม ทั้งเจตนาก็เปนธรรม การกระทำก็เปนธรรม จึงจะไดความเจริญ

5. พระราชดำรัสในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมโครงการ ที่โรงเรียนรมเกลา บานคลองทราย

อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี วันที่ 2 กรกฎาคม 2524

“...การพัฒนานี้ตองอาศัยความรวมมือรวมใจทั้งสองอยางคือ จิตใจที่หวงแหนท่ีดินทำกินของเรา หวง

แหนผืนแผนดินของเรา และจิตใจที่จะตองชวยเหลือกัน เพราะทุกคนเปนสมาชิกของประเทศคือเปนชาวไทย

ทุกคน”

หวงแหนที่ดิน หวงแหนผืนแผนดิน และอันที่สอง ตองชวยกันเพราะวาเราเปนคนไทยดวยกัน

6. พระบรมราโชวาทพระราชทานใหสามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ เพื่อเชิญไปอานในการ

ประชุมใหญประจำป ครั้งที่ 56 ในระหวางวันที่ 2-10 สิงหาคม 2512

105คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 107: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

“...ความสามัคคีและความถือตัววาเปนไทยเปนสมบัติมีคาสูงสุด เพราะเปนมรดกท่ีเราไดรับสืบตอ

จากบรรพบุรุษ และเปนปจจัยสำคัญท่ีทำใหเราดำรงชาติประเทศและเอกราชสืบมาได ทุกคนจะตองรักษา

ความเปนไทยและความสามัคคีนี้ไวใหมั่นคง”

เรื่องความสามัคคี กับความเปนไทย ผมขอฝากพวกเราไว ผานมา 40 ปก็ยงัพูดไดไมลาสมัย ถาสภา

วิทยาลัยชุมชนยกเอาส่ิงเหลาน้ีมาเปนหลักอุดมคติ และทานก็สามารถถายทอดไปยังผูบริหาร ผูปฏิบัติใน

วิทยาลัยชุมชน และลูกศิษยของเรา ซึ่งมีทุกปทุกรุน มีผลัดกันเขามาใหมๆทุกรุน ผมเช่ือวาพลังอำนาจ แนว

คิดตางๆ จากพระบรมราโชวาท 5-6 องคนี้ ก็จะทำใหเกิดพลังอำนาจตอไปไดอยางมหาศาล

ขออนุญาตจบเพียงแคนี้

106 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 108: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

วิทยาลัยชุมชนกับการเรียนรูตลอดชีวิต* โดย

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี

ขอเริ่มดวยแนวคิดคำวา “ทรัพยากร” ซึ่งแบงออกเปน 3 กลุม คือ

1. ทรัพยากรธรรมชาติ

2. ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น

3. ทรัพยากรมนุษย

ทั้ง 3 กลุม ถาแตละประเทศมีนโยบายการจัดการทรัพยากรชัดเจน เปนเครื่องมือแหงความอยูรอด

และเปนเครื่องมือการแขงขันกับประเทศอ่ืนไดดวย เพราะฉะน้ันจึงควรมีนโยบาย โครงการ/กิจกรรมท่ีจะ

สนับสนุนทรัพยากรท้ัง 3 กลุม ใหมั่นคงรุงเรือง

ทรัพยากรธรรมชาติ นับวันมีความสำคัญมาก ถูกมนุษยใชสอยในชวงหลังน้ีมากข้ึน โดยเฉพาะชวง

200 ปหลัง ขออธิบายวา มีหลักฐานเชื่อวาระบบสุริยจักรวาลและดาวเคราะหอีก 8 ดวงเกิดมาประมาณ

4,500 ลานปเชนกัน สวนสัตวเซลลเดียวที่เปนสิ่งมีชีวิตแรกมีอายุประมาณ 3,500 ลานป หมายความวา ใน

1,000 ลานป ไมมีสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว มีแตแมน้ำ ดิน กอนหิน และใชเวลาอีก 2,000 กวาลานป คอยๆ

พัฒนาจากสัตวเซลลเดียวเปนสัตวที่มีกระดูกสันหลัง และใชเวลาอีก 300-400 ป พัฒนาเปนสัตวเลี้ยงลูก

ดวยนม และเปนบรรพบุรุษมนุษยประมาณ 2 ลานป ตอมาไดพัฒนาเปนรูปรางหนาตามนุษยเชนพวกเรา

*เรียบเรียงจากการบรรยายเรื่อง ”2552 ปแหงคุณภาพการอุดมศึกษาไทย” วันที่ 3 กรกฎาคม 2552 ณ หอง แกรนด ไดมอนด บอลรูม อิมแพ็ค คอนเวนชั่น เซ็นเตอร เมืองทองธานี

107คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 109: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ประมาณ 100,000 ปเศษๆ เพราะฉะน้ันเมื่อ 9,000 กวาป เวลามนุษยหิวก็ไปลาสัตว หาผลไมกิน รูจักใชไฟ

ประมาณเม่ือ 10,000 ปที่แลวมนุษยจึงรูจักทำการเกษตร ปลูกขาวใสยุงฉางไวกิน ไมตองออกไปหากินทุก

มื้อ นั่นคือมนุษยสรางอารยธรรมเพราะรูวิธีทำการเกษตร สำรองอาหารไวกินได ในชวง 100 ปหลัง

มีความรูเรื่องวิทยาศาสตรและการแพทย สามารถรักษาโรคตางๆ ได ทำใหไมตองตายมากเหมือนสมัยกอน

สมัยกอนตายมากแมแตที่เผาก็ไมมี ใน 2 ปหลังมนุษยอายุยืนและการแพทยกาวหนา

ตัวเลขจากองคการสหประชาชาติพบวา ประชากรโลกขณะนี้มีประมาณ 6,700 ลานคน อีกไมกี่ปจะ

มีจำนวนเพ่ิมเปน 9,000 ลานคน แตทรัพยากรธรรมชาติในโลกใบนี้ไมขยายตาม พื้นที่นาไมขยาย ทำ

อยางไรจึงจะขยายพื้นที่ปลูกขาวใหเลี้ยงคนไดมากขึ้น เช่ือวามีคน 1,000 ลานคนกินไมอิ่มทอง บางคนเปน

โรคขาดอาหาร

ทรัพยากรธรรมชาติจึงเปนสิ่งสำคัญมาก ในชวง 50 – 60 ปที่ผานมา โลกใบน้ีถูกขีดเสนชายแดน

แบงปนกัน ประเทศไทยมีพื้นท่ีเทานี้ แตพลเมืองเพิ่มขึ้น เราตองรักษาพื้นที่ประเทศไมใหคนอื่นเอาไป วิธีที่

ไมใหใครเอาทรพัยากรของเราไปไดคอื ตองใหประชาชนไดรบัการศกึษาสงู ใหประชาชนทัง้ในชนบท ในเมอืง

และชายแดนมีความรูสึกเปนคนไทย มีการศึกษา มีอาชีพ มีความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ มีศีลธรรม

และปกปองพื้นดินที่ปูยาตายายหาไวให ไมทำใหแยลง รูจักรักษาอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและทำใหมี

คุณภาพท่ีดีขึ้นใหลูกหลานใชประโยชนได สรุปคือ หนาที่พวกเราคือ 1) ตองรักษาไมใหเสียแผนดินใหใคร

2) ถามันแยตองทำใหดีขึ้น 3) ทำใหดีที่สุด โดยเฉพาะกระบวนการทางการเกษตร

ผมอยากจะบอกวา ทรัพยากรธรรมชาติในจังหวัดใดก็ตาม ไมขยายตัวตามการเกิดของประชากรและ

จะทำอยางไรจึงจะรักษาทรัพยากรธรรมชาติใหมากที่สุด

วิทยาลัยชุมชนหลายแหงทำงานรวมกับชุมชน มีหลักสูตรระยะส้ันที่เกี่ยวของกับการเกษตรหรือสินคา

ที่ตอยอดจากการเกษตร เชน วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูชวยชาวนาเพิ่มคุณภาพและมูลคาขาว ทำใหขาว

กลองงอก(ขาวฮาง) ขายไดกิโลกรัมละ 80 บาท และมีคนนำไปขายตอกิโลกรัมละ 150 บาท หรือวิทยาลัย

ชุมชนแพรพัฒนาเส้ือหมอฮอมของจังหวัดท่ีเดิมขายตัวละ 200-300 บาท พัฒนามูลคาเพ่ิมดวยการออกแบบ

อยางสวยงาม ทำใหขายไดตัวละ 400-500 บาท เปนตน

ดังนั้นนโยบายการจัดการทรัพยากรทั้ง 3 กลุม ที่ไดกลาวแลว พวกเราตองมีหนาที่ คือ

108 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 110: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

1. สิ่งที่มีคาใหอนุรักษไว

2. สิ่งที่เจริญเติบโตได ตองบำรุงใหจำเริญ รักษาใหอยูในสภาพท่ีดี

3. สิ่งที่ขาดหายตองชดใช-ชดเชย

ทรัพยากรท่ีจะกลาวตอไปคือ ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น ไมไดมาจากธรรมชาติ เชน ที่อยูอาศัย

ถนนหนทาง เปนตน เปนทรัพยากรที่จับตองได เวลาสรางเสร็จเขาจะคิดคาเสื่อมราคา แตทรัพยากรที่

จับตองไมไดคือวัฒนธรรมไทยตองไมทำใหเสื่อมราคา วิทยาลัยชุมชนหลายแหงจัดหลักสูตร/กิจกรรม

ที่เก่ียวของกับวัฒนธรรมไทย/วัฒนธรรมทองถิ่น ตองเพ่ิมคุณคาของวัฒนธรรม มูลคาเพ่ิมมี 2 อยาง คือ

มูลคาทางจิตใจ และมูลคาทางการตลาด เชน คนภูมิภาคใดไดยินเสียงเพลงภูมิภาคน้ันก็มีความสุข หรือเอา

เพลงมาประกอบกิจการของภูมิภาคน้ันๆ ทำใหวัฒนธรรมมีมูลคามากข้ึน ดังนั้นวิทยาลัยชุมชนทำงานกับ

ชุมชน ซึ่งเกี่ยวของกับวัฒนธรรมทั้งท่ีจับตองไดและจับตองไมได จึงมีหนาที่ตองเพิ่มคุณคาของวัฒนธรรม

ทั้งคุณคาความสุขทางจิตใจและเพ่ิมคุณคาทางอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

ผมเคยทำมาแลวท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม สงเสริมกลองสะบัดชัยของชมรมลานนาของนักศึกษา ได

ของบสนบัสนนุจากคณะกรรมการสงเสรมิของมหาวทิยาลยัเชยีงใหม จดัใหนกัเรยีนระดบัประถม/มธัยมศกึษา/

อุดมศึกษา แขงขันตีกลองสะบัดชัย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จมาพระราชทานรางวัลผูชนะ

การประกวด ตอมากลองสะบัดชัยไดถูกใชเปนสวนหน่ึงของการสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเท่ียวของ

จังหวัดในภูมิภาคตางๆ

สุดทายคือทรัพยากรมนุษย ทรัพยากรน้ีสำคัญมาก สมัยกอนคิดวาเด็กอยูในครรภมารดาจะไมรูเรื่อง

อะไร เดี๋ยวนี้เรารูแลววาสมองของเด็กในครรภมารดาเจริญเติบโตไดตั้งแตอยูในในครรภมารดา สามารถ

เรียนรูและจำไดดวยโดยเฉพาะใน 3 เดือนหลัง มีคนทดลองเปดเพลงใหทารกในครรภฟง เช่ือหรือไม

เมื่อเด็กเกิดมาแลวโตขึ้นเด็กจำเพลงน้ันได ในทางวิทยาศาสตรพบวาเสนประสาทสมองของเด็กรับรูไดเพียง

แตไมถึงวัยที่จะพูด เด็กจะพูดเมื่อถึงวัยตามพัฒนาการของเด็ก ปูยาตายายของเราฉลาด เขากระตุนสมอง

เด็กโดยใชปลาเงินปลาทองแขวนใหเด็กดู หรือรองเพลงกลอมเด็ก เด็กจะไดยินและเรียนรูได และเด็กรับรู

รสเพิ่มได ซึ่งสังเกตไดจากเวลาเอานมใหเด็กกินจะกินอิ่มสบาย แตถาเอาของขมใหกินหนาตาจะแหยๆ เรา

จึงควรเลิกพูดวาเด็กไมรูเรื่อง จริงๆ เด็กรูเรื่องและประทับความทรงจำได และจะพูดเมื่อถึงวัยตาม

พัฒนาการของเด็ก

109คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 111: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

เมื่อเร็วๆ นี้มีการวิจัยในสัตวทดลองวา เมื่ออายุมากๆ สมองสัตวเส่ือมหรือไม และคิดวามนุษยก็คง

เชนกัน ผลการทดลองปรากฏวา แมสัตวทดลองจะมีอายุมาก เซลลสมองยังเกิดขึ้นตลอดเวลาถาไดรับการ

กระตุน แตถาไมมีการใชสมอง เซลลสมองกลุมนี้จะตายไปเอง ญาติผูใหญของผมตายเมื่ออายุ 102 ป

เมื่อวัยสาวเขาชอบเลนไพตอง อายุ 90 ป ก็ยังคงชอบเลนไพตอง ขยันเลนคนเดียว 4 ขา (เทากับ 4 คน) ผม

ถามวา ทวดไมเขาขางขาใดขาหน่ึงหรือ ทวดตอบวา ทวดตองซ่ือสัตย สมองทวดดีมาก จำคนไดหมด เพราะ

ฉะนั้นคนเกษียณอายุ 60 ป อยาปลอยใหเปนคนแกที่ใชไมได ตองบำรุงคนแกใหเขาเรียนรูไดตลอดชีวิต

กลาวโดยสรุปคือ

1. สมองมนษุยเจริญเติบโตไดตัง้แตในครรภมารดาจนชวงสดุทายของชีวติ และตองบำรงุคนแกอยูเสมอ

2. สมองมนุษยเรียนรูอยูตลอดเวลา และตองออกแบบระบบการศึกษาใหไดเรียนรูในทุกชวงวัย

ระบบการศึกษาของเราเจาะเฉพาะวัยรุน สมัยโบราณอายุ 7 ป ตองเขาประถมศึกษาปที่ 1 และเรียน

ภาคบังคับ 4 ป หากใครไมไดเขาเรียนแลวมาเรียนเม่ืออายุ 15 ป จะตองไปนั่งเรียนกับเด็กๆ ประถมศึกษา

ปที่ 1 ถูกคนอ่ืนหัวเราะ ซึ่งคนสมัยกอนอายุเทากันเขาเรียนไมพรอมกัน ในช้ันเรียนเด็กจึงอายุไมเทากัน

แตสมัยลูกสาวผมเขาเกิดปมะแม เพื่อนๆ ในชั้นเรียนท่ีอยูโรงเรียนสาธิตปทุมวันก็เกิดปมะแม

ที่ตางประเทศเขาเขาใจเรื่องการเรียนรูตลอดชวีิต เขาเปดโอกาสใหคนแกคนวัยทำงานเขามาเรียนได

หมด เพราะฉะนัน้ในช้ันเรียนของเขาจงึมอีายตุัง้แต 18–80 ป วทิยาลยัชมุชนตัง้มาประมาณ 7–8 ป เดีย๋วนี ้

มีคนแกอายุ 79 ปมาเรียน เราตองเชื่อวาคนเรียนไดทุกชวงวัย ขณะนี้ประเทศญี่ปุนมีปญหามากคนวัยหนุม

สาวไมคอยแตงงาน พวกสาวๆ แตงงานแลวไมอยากมีลูก จึงเกิดปญหาเด็กเกิดนอยลง ในขณะที่การแพทย

ของญ่ีปุนกาวหนา ทำใหคนแกมีอายุยืนที่สุดในโลก (อายุ 90–100 ป) ประเทศญ่ีปุนขณะน้ีมหาวิทยาลัยมี

ทุนรับนักศึกษาตางชาติไปเรียนมีปริญญาโทและปริญญาเอก เมืองโอซากามหาวิทยาลัย 4 แหงตองยุบรวม

เหลือ 2 แหง เพราะคนเขาเรียนนอยลง เด็กเกิดนอยลง ประเทศญ่ีปุนตองเอาคนวัยทำงานของเขาและคน

ตางชาติเขามาเรียน มิฉะนั้นมหาวิทยาลัยประสบภาวะขาดทุน

วิทยาลัยชุมชนเปดโอกาสใหคนเรียนต้ังแตอายุ 18 ปขึ้นไป วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมีนักธุรกิจ

ขายวัสดุกอสรางอายุประมาณ 60 กวา มาเรียนจนไดอนุปริญญา ผมถามเขาวามาเรียนทำไมอายุมากแลว

เรียนวิทยาลัยชุมชนจะไดประโยชนอะไร เขาบอกวามีประโยชนมากหากวาเขาไดเรียนกอนหนานี้เขาจะทำ

ธุรกิจไดดีกวานี้ แมวาวันนี้เขาจะเรียนจบ เขาก็ยังทำธุรกิจเปนประโยชนไดเพราะวิธีคิดของเขาไมเหมือน

อดีต

110 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 112: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การเรียนรู คือกระบวนการท่ีทำใหเกิดการเปล่ียนแปลง ในตัวผูเรียน 3 ดานดวยกัน คือ

1. จาก ไมรู เปน รู

2. จาก ทำไมเปน มีทักษะ ทำเปน

3. จาก ไมดี ขัดเกลา ดีงาม

การเรียนรู 3 อยางนี้ จะระบุไวในวัตถุประสงคหลักสูตร ตองระบุใหครบเพื่อการพัฒนาผูเรียน 3

ดาน จึงจะมีประโยชนตอผูเรียนและสังคม คุณพอคุณแมตองจัดกระบวนการเรียนรูใหลูกครบ 3 ดาน

เพราะกระบวนการเรียนรูอยูนอกระบบการศึกษา ไมสอนแบบกวดวิชา เพราะไมไดสอนคุณธรรม-จริยธรรม

ครูตองสอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรู 3 ดาน สอนปฏิบัติและความดีงาม จึงจะบรรลุวัตถุประสงคหลักสูตร

ดังนั้นวิทยาลัยชุมชนตองกำหนดการเรียนรู 3 ดานเปนวัตถุประสงคหลักสูตรและวัตถุประสงครายวิชาเพ่ือให

เกิดการเรียนรูดังกลาว

สรุปการเรียนรู หมายรวมถึง การเรียนความรู การเรียนปฏิบัติ (ทักษะ) และการเรียนความดีงาม

การสอน คือ กระบวนการท่ีสนับสนุนทำใหคนเรียนรูอยางสมบูรณ จึงหมายรวมถึง การสอนความรู

การสอนปฏิบัติ และการสอนความดีงาม

เพราะฉะนั้น การสอนเสร็จแลวออกจากหองเรียน การสอนน้ันไมสมบูรณในตัวเอง อาจยังไมบรรลุ

เปาหมายการสอนท่ีตองสนบัสนนุผูเรยีนใหเกดิการเรยีนรูทีส่มบรูณ ระบบการศกึษาไทยเนนการสอนท่ีโดดเดีย่ว

ซึ่งไมถูกเพราะไมเกิดการเรียนรู

มีลูกสาวผูใหญคนหน่ึงไปเรียนท่ีประเทศจีน ไปตอนแรกภาษาสูเขาไมได พอของเขาตองโทรศัพทให

กำลังใจลูกสาวและแนะนำใหไปเรียนกวดวิชา ลูกสาวบอกวาไมได เพราะประเทศจีนครูสอนกวดวิชาถือวาผิด

วินัยรายแรง ถาถูกจับไดจะถูกไลออกสถานเดียว หากนักเรียนเรียนไมรูเรื่อง ประเทศของเขามีขอกำหนดวา

ครูจะกลับบานไดตองสอนลูกศิษยที่โงหรือคนสุดทายใหเขาใจในบทเรียนกอนจึงจะกลับบานไดทั้งครูและ

นักเรียน ดังนั้นบางวันครูและนักเรียนจะกลับบานดึกก็แลวแตลูกศิษยในชั้นที่โงสุดจะเขาใจบทเรียน ซึ่งตอมา

ลูกสาวของเขาก็เรียนเกงได พอก็สบายใจบอกใหลูกพักผอนบาง ลูกสาวก็ขยันเรียน 6 วัน เหลือ 1 วันซักผา

และทบทวนบทเรียน

การศึกษา คือ ระบบท่ีออกแบบเพ่ือใหเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่กำหนด ระบบการศึกษา

ประกอบดวย

111คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 113: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

(1) ใครเปนหนวยจัดการศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทบวงกรมอ่ืน อบต. อปจ. สมาคม

มูลนิธิ เอกชน ฯลฯ)

(2) ระบบการเรียนการสอน เปนอยางไรบาง

(3) ผลสัมฤทธิ์ เปนอยางไรเมื่อจบการศึกษา

ผมจะไมพูดถึงผลสัมฤทธิ์มากนัก เรามาพูดกันเรื่องการเรียนรูตลอดชีวิตเกี่ยวของกับใครบาง เริ่ม

ตั้งแต

1. การดูแลหญิงตั้งครรภและทารกแรกเกิด โรคบางโรคของเด็ก หากไมไดรับการแกไขหรือเด็ก

ขาดสารอาหารบางอยางจะทำใหเด็กเรียนรูไดไมเต็มที่ เพราะสมองเด็กไมไดพัฒนา แตถาหญิงตั้งครรภได

รับสารอาหารถูกตอง สมองเด็กจะไดรับการพัฒนา

2. การเลี้ยงดูอบรมเด็กเล็ก 0-3 ขวบ ดูแลเรื่องอาหาร อานหนังสือใหลูกฟง พาไปเที่ยวดูสิ่งดีๆ

ลวนแลวแตมีผลตอความเจริญของโครงสรางสมองทั้งส้ิน ในประเทศญ่ีปุนเขาทดลองใหพอแมอานหนังสือให

ลูกฟงตั้งแตอายุไมถึง 1 ป อานใหฟงบอยๆ ปรากฏวาเด็กเก็บความได โตข้ึนก็พูดไดและมีวิธีคิดที่ดี

ในประเทศไทยก็มีการวิจัยการอานหนังสือใหเด็กฟง และพบวาเด็กมีพัฒนาการทางสมองท่ีดีเชนเดียวกับ

ผลการทดลองของประเทศญ่ีปุน

3. การศึกษาปฐมวัย (อนุบาล) วิทยาลัยชุมชนมีหลักสูตรน้ีไปทำงานกันที่ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เม่ือ

สมัยกอนยังไมมีการเปดสอนสาขาวิชาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร/ครุศาสตรมักจะเปดสอนหลักสูตรวิชาเอก

ประถมศึกษา วิชาเอกมัธยมศึกษา วิชาเอกอนุบาลมีนอยมาก แตจริงแลวตองการครูปฐมวัยและครูปฐมวัย

ตองรูเรื่องพัฒนาการของเด็ก การท่ี อบต. อบจ. ขอใหวิทยาลัยชุมชนเปดหลักสูตรน้ีจึงเปนสิ่งที่สนองความ

ตองการของชุมชน ขณะนี้สำเร็จการศึกษาไปเปนจำนวนมาก แตถาอยากศึกษาตอปริญญาก็ทำได

4. การศึกษาอุดมศึกษา คือ การศึกษาหลังมัธยมศึกษาตอนปลาย การอุดมศึกษามีระดับตางๆ

ระดับอนุปริญญาเปนจุดเริ่มตนของการอุดมศึกษา เปนการศึกษาในระบบ มิใชการศึกษานอกระบบและ

อัธยาศัยของการศึกษานอกโรงเรียน วิทยาลัยชุมชนจึงไมใชและไมเหมือนการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.)

5. การศึกษาสำหรับผูอยูในวัยทำงาน วิทยาลัยชุมชนมีหลักสูตรสำหรับคนวัยทำงานและภายหนาจะ

มีคนวัยนี้มาเรียนอุดมศึกษามากข้ึน

6. การศึกษาสำหรับผูสูงอายุ สังคมในอนาคตจะเปนสังคมผูสูงอายุ ระบบการศึกษาของเรายังให

ความสำคัญไมมากเทาที่ควร มีคำ 2 คำของวัยนี้ในสังคมน้ี คือ Aging Society สังคมกำลังจะกลายเปน

112 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 114: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

สังคมผูสูงอายุ และ Aged Society (อายุยังไมถึง 60 ป) แปลวา เปนสังคมผูสูงอายุแลว (อายุ 60 ปขึ้นไป

ประมาณ 1/5 ของประชากรของประเทศ)

เมื่อ พ.ศ.2548 นักเรียน/เด็กอายุ 0-15 ป จะมีอยูประมาณ 13 ลานกวาคน และคอยๆ ลดลงเร่ือยๆ

อีกประมาณ 20 ปจะเหลือเด็กเพียง 7 ลานกวาคน เรามีโรงเรียนอยูประมาณ 30,000 กวาโรงเรียน จำเปน

ตองปดโรงเรียนไปประมาณ 16,000 โรงเรียน เพราะเด็กหายไป 40% ของประเทศ เขาแบงประชากรของ

ประเทศออกเปน 3 ชวง

ชวงแรก 0 – 15 ป (วัยเด็ก)

ชวงสอง 15 – 60 ป (วัยทำงาน)

ชวงสาม เกิน 60 ปขึ้นไป (วัยสูงอายุ)

ประเทศเราขณะนี้เปนชวงที่สอง ตอไปชวงเด็กจะลดลง คนแกจะมากขึ้น ถาคนเรามองคนแกเปน

ภาระสังคม สังคมไทยจะปวนมาก คนแกจึงถูกทอดท้ิง แตถาเรามองคนแกเปนมรดกท่ีมีคนเอามาบำรุง

ฟูมฟกบำเรอบำราญทำใหเขามีความสุข และเอาเขามาชวยทำงานอาสาสมัครเหมือนตัวอยางเชนประเทศ

ญี่ปุนเขาใชคนแกเลาเรื่องอยูที่พิพิธภัณฑใหกับนักทองเที่ยว เขาก็มีความสุขสนุกสนานดีกวาเขาเหงาอยูบาน

ตัวอยางของประเทศไทย จังหวัดนานมีศูนยพัฒนาเด็กเล็กและศูนยผูสูงอายุ เขาใหคนแกเลานิทานให

เด็กเล็กฟง ปรากฏวาคนแกมีความสุข อีกแหงคือ บานเก๋ียง อำเภอภูเพียง จังหวัดนาน อยูขางสถานีอนามัย

เขาปลูกศาลาใหคนแกคุยกัน คนแกเหลานี้รวบรวมเงินใสถุงผาจัดทำเปนกองทุนเลาเรียนสงเด็กในหมูบาน

ไปเรียนแพทย ทันตแพทย พยาบาล ตำรวจ ฯลฯ เด็กที่ไดทุนเลาเรียนจะกลับมาเย่ียมคนแกในวันเสาร-

อาทิตย เขาถือวาคนแกเหลานี้คือ ปูยาตายายของเขา เด๋ียวนี้สำเร็จการศึกษาไปหลายคนแลว เกิดมาผมก็

ไมเคยเห็นใครทำ ผมวาชาวบานบานเกี๋ยงเขานารักมาก ผมคิดวาคนแกมีคุณคา สังคมตองใหคนแกไดเรียนรู

ตลอดชีวิตดวย

หนวยจัดการศึกษา สมัยกอนเชื่อวารัฐเทานั้นจัดการศึกษาไดดี ไมเชื่อถือภาคเอกชน ซึ่งเปนความคิดโบราณ ตอมา

ประเทศทางตะวันตกเขาเริ่มใหความสำคัญกับหนวยงานที่มิใชรัฐจัดการศึกษาได สมัยรัชกาลที่ 4–รัชกาลที่

5 พวกมิชชันนารีเขามาต้ังโรงเรียนอัชสัมชัญ โรงเรียนมาแตร และนับตั้งแตมี พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ

พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ทำใหกระทรวง ทบวง กรมตางๆ สามารถจัดการ

113คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 115: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ศึกษาไดทุกระดับ กระทรวงวัฒนธรรมฯเขาก็มีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาก็มี

วิทยาลัย/สถาบันพลศึกษา เทศบาล องคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดการศึกษาขั้นปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และจัด

อาชีวศึกษาที่นครปฐมดวย ผมอยากใหหนวยจัดการศึกษาของกระทรวง ทบวง กรมตางๆ จัดการศึกษากัน

มากๆ การขาดครูของกระทรวงศึกษาธิการจะไดไมเปนปญหา กระทรวงศึกษาธิการควรทำในเรื่องการดูแล

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและไมเลือกปฏิบัติ ทำใหการศึกษาทุกแหงมีมาตรฐาน

วิทยาลัยชุมชนเปนวิทยาลัย โดยชุมชน เพื่อชุมชน มีนโยบายต้ังแตเริ่มจัดตั้งวา วิทยาลัยชุมชนตอง

จัดการศึกษาใหคนสวนใหญไดเรียน คาหนวยกิตจึงถูกมาก ในชวงเริ่มตน 20–30 ป รัฐบาลเปนผูจัดเพื่อให

โอกาสคนไดเขาศึกษาระดับอุดมศึกษา ถาใหภาคเอกชนจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนอาจมีปญหามหาศาล

คนรวยสามารถเรียนในเมืองได ควรใหโอกาสคนชายแดนไดเรียนวิทยาลัยชุมชน และมีวิทยาลัยชุมชน

กระจายอยูทุกอำเภอ ใหคนไดเรียนควบคูกับการทำงานดวย การลงทุนโดยรัฐไมควรสรางอาคารใหญโต

ควรใชเงินในการบริหารและสรางระบบใหดีกวาสรางอาคาร ควรใชอาคารของหนวยการศึกษาหรือหนวยงาน

อื่นๆ สุดทายเมื่อรัฐเห็นวาวิทยาลัยชุมชนทำไดดีแลวจึงคอยใหงบประมาณสรางอาคาร ปจจุบันมีวิทยาลัย

ชุมชนหลายแหงมีอาคารเรียนของตัวเอง การจัดการศึกษามิใชรอตึกพรอม ขณะน้ีมีคนจบ 20,000 กวาคน

จบโดยความไมพรอม 100% ของวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนพรอมที่ใจ อุปกรณการศึกษาตางๆ ก็ยืมจาก

ที่อื่นกอน

วิทยาลัยชุมชน ไมใช กศน. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใช เร่ืองมาตรฐานการอุดมศึกษา แบงกลุม

อุดมศึกษาออกเปน 4 กลุม (มหาวิทยาลัยวิจัยและระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยที่เนนปริญญาตรี

สถาบันเฉพาะทาง และวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนคือสวนเร่ิมตนของระดับอุดมศึกษา เปดสอนระดับ

อนุปริญญา มุงเนนการผลิตนักวิชาชีพระดับตนท่ีปฏิบัติงานไดและศึกษาตอยอดไดระดับปริญญาตรีและหาก

มีความสามารถก็ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา มีบางคนบอกวาวิทยาลัยชุมชนเหมือน กศน. คงเขาใจผิด เปน

คนละเร่ืองคนละก่ิงแขนง การศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติบอกวามี 3 ประเภท คือ การศึกษาใน

ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย กศน. คือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย ซึ่งเปนช่ือใหมของ กศน. วิทยาลัยชุมชนเปนการศึกษาในระบบ จะพูดวาเหมือน กศน. ไดอยางไร

ผมไมเขาใจ

114 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 116: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

ตอนนี้เรารูจักตนเองแลววาวิทยาลัยชุมชนคือใคร จากน้ีจะพูดเรื่องการเรียนการสอน การจะสอน

อะไรก็ตองดูพิมพเขียวเหมือนสรางแบบบานก็ตองมีสถาปนิก หลักสูตรก็คือพิมพเขียวของการศึกษา

หลักสูตรตองกำหนดวัตถุประสงคและเน้ือหาวิชาท่ีผูเรียนตองเรียนเพ่ือใหเกิดความรู สามารถปฏิบัติได

และมีคุณธรรมที่เหมาะสมกับความเปนนักวิชาชีพระดับตนในสาขาวิชานั้นๆ เชน เราจะสรางครูปฐมวัย เรา

จะกำหนดวัตถุประสงคหลักสูตรเพ่ือใหมีความรูความเขาใจ สอนได และมีคุณธรรมท่ีดีเหมาะกับการเปนครู

ปฐมวัย เวลาเอาหลักสูตรไปบริหารเขาจะแบงออกเปนหมวดวิชา ไดแก หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชา

เฉพาะ หมวดวิชาเลือกเสรี ทั้ง 3 หมวดวิชาเปนโครงหลักสูตร สวนรายวิชาซึ่งเปนหนวยที่เล็กสุดก็จำเปนตอง

กำหนดวัตถุประสงคของรายวิชา กำหนดเนื้อหา วิธีการสอน วิธีการเรียน และวิธีการวัดผล ถาอยางนั้น

ครูบาอาจารยตองเปนอยางไร

• ตองมีคุณวุฒิ-คุณธรรม และประสบการณวิชาชีพเพียงพอท่ีจะเปนแบบอยางและส่ังสอนอบรม

ลูกศิษยได

• เขาใจวัตถุประสงคของหลักสูตร และเขาใจในรายละเอียดของรายวิชาที่ตนรับผิดชอบ

ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนจึงควรมีหนาที่ตองทำใหครูอาจารยที่เขามาสอนเขาใจเน้ือหาและ

วัตถุประสงคของหลกัสูตร นักเรียนก็ตองเขาใจ วาปนี้จะเรียนอะไร มีวิชาอะไรบาง วิชาเหลานี้สำคัญอยางไร

• จัดการสอนเพ่ือใหผูเรียนไดเรียนรูตามวัตถุประสงคหลักสูตร

• จัดการวัดและประเมินผลอยางเที่ยงธรรม

ผูเรียนควรเปนอยางไร

• ตองมีความเขาใจและศรัทธาในหลักสูตร และวิชาชีพที่ตนจะเรียน (ฉันทะ)

หนาท่ีของอาจารย คือ ตองอธิบายใหผูเรียนฟงวา โครงสรางหลักสูตร ประกอบดวยก่ีหมวดวิชา

หมวดวิชาคืออะไร หมายความวาอยางไร หมวดวิชาประกอบดวยก่ีรายวิชาและแตละรายวิชาคืออะไร จะได

เกิดฉันทะ คือถาคนเรียนรูและเขาใจคุณคาหลักสูตรและการเรียนแตละวิชา นักศึกษาจะเกิดความรักชอบ

คือ เกิดฉันทะ ตองทุมเทและเอาใจใสฝกใฝกับการเรียนจนจบหลักสูตร (วิริยะ-จิตตะ) หากมีขอปญหา-

สงสัย ตองกระทำใหกระจาง ทั้งทฤษฎี-ปฏิบัติ และคุณธรรม (วิมังสา)

ทั้งหมดนี้คือ อิทธิบาท 4

115คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 117: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

หลักสูตรอนุปริญญาและหลักสูตรอาชีพระยะส้ัน 1. หลักสูตรอนุปริญญาวิชาชีพ มีเปาหมายเพ่ือใหผูเรียนไดรับความรูและการปฏิบัติในอาชีพใด

อาชีพหน่ึงโดยเฉพาะ เปนหลักสูตรในการสรางนักวิชาชีพเบ้ืองตน เพ่ือจะไปประกอบสัมมาอาชีวะและไป

เรียนตอปริญญาตรีได ในประเทศอเมริกาอภิปรายกันมารอยกวาป สุดทายมีขอสรุปตรงกันคือ จะไมสอน

ปริญญาตรีในวิทยาลัยชุมชนเด็ดขาด ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

สถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน ขอรองสภาวิทยาลัยชุมชนและผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ถามีเพื่อน

รวมงานอยากสอนปริญญาตรีก็ใหเขาไปเปนอาจารยพิเศษที่อื่น อยามาสรางความคิดที่จะเปดปริญญาตรีใน

วิทยาลัยชุมชนเด็ดขาด นักศึกษาก็เหมือนกนั ถาอยากเรียนปริญญาตรีตองจบอนุปริญญาแลวจึงไปศึกษาตอ

แตถาหากวาเราสรางปริญญาตรี สาขาอ่ืนท่ีเปนอนุปริญญาจะขอเปนปริญญาตรีหมดเลย สุดทายจะกลาย

เปนเชนเดียวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ/สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และจะไมมีความเปนวิทยาลัยชุมชนเพ่ือให

โอกาสคนจน ผมวาประกาศกระทรวงศึกษาธิการชัดเจนอยูแลววา ไมใหวิทยาลัยชุมชนสอนปริญญาตรี

2. หลักสูตรอาชีพระยะส้ัน คอื หลักสูตรทีมีเนื้อหาหลักสูตรจบในตัวเอง เปน END PROGRAM ใช

เวลาสั้น สวนมากไมเกิน 1 ป อาจจะ 3 วัน 3 เดือน 6 เดือน 8 เดือน แลวแตหลักสูตร

ชวงเวลาของการจัดหลักสูตรเปนลักษณะเฉพาะกิจเทาน้ัน มีคนอยากเรียนก็เปดสอน ไมมีใครเรียน

ก็ปดการสอน ตัวอยางเชน หลักสูตรการยอมผาหมอฮอม หลักสูตรการทำขาวกลองงอก หลักสูตรอะไรก็ได

ในทองถ่ิน นี่คือเสนหของวิทยาลัยชุมชนท่ีจะลงไปชวยพัฒนาอาชีพ และพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของแตละ

ชุมชน แตละจังหวัด แตละอำเภอที่มีภูมิสังคมไมเหมือนกัน เรานำตรงนี้ คือมีความยืดหยุนไดเปนพิเศษ

เหมือนวิทยาลัยสารพัดชางหรือไม ไมเหมือน ของเรายืดหยุนมาก เปดปุปปดปป ถาประชาชนขอเปด เชนที่

จังหวัดนราธิวาสอยากไดหลักสูตรลับมีดกรีดยางพารา วิทยาลัยชุมชนนราธิวาสก็จัดให พอเรียนจบ เมื่อไมมี

ใครเรียนอีกก็ปด แลวแตชาวบานอยากไดหลักสูตรอะไร ภาคกลางอาจจะอยากไดหลักสูตรปราบหอยเชอรรี่

เอานักวิชาการเกงๆ ในโลกมาเขียนหลักสูตรแลวก็สอนหลักสูตรปราบหอยเชอรรี่ใหกับชาวนาของเรา พอ

เรียนกันครบหมดแลวก็ปดแลวก็ไปเปดหลักสูตรใหม

คาเลาเรียนท่ีนี่เราจะเก็บใหถูกท่ีสุดเทาที่จะไมทำใหเราขาดทุน เพราะเราขาดทุนไมได เราตองมี

คาใชจายในการจัดการศึกษา

116 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 118: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

วิทยาลัยชุมชน เปนสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะตนเพื่อใหโอกาสผูเรียนในระดับชุมชนอยางทั่วถึง เพื่อให

ผูสำเร็จการศึกษามีการงานอาชีพ และอาจศึกษาตอในระดับสูงขึ้นได

ผูเรียนมีทางไป 2 ทาง คือ ไปสูอาชีพ และไปสูปริญญาที่สูงขึ้น วิทยาลัยชุมชนตองกำหนดเปาหมาย

ตัวเองใหชัดวา เราตองเปนสถานศึกษาท่ีตอบสนองความตองการของชุมชนในการพัฒนาสังคม-เศรษฐกิจ

และวัฒนธรรม การตอบสนองความตองการของชุมชน ตอบสนองอยางไร เรามีคณะกรรมการสภาวิทยา-

ลัยชุมชน คณะกรรมการนี้เปนสะพานเชื่อมโยงระหวางวิทยาลัยกับชุมชน เชื่อมโยงโดยไปสำรวจความ

ตองการของชุมชน ตั้งแตผูวาราชการจังหวัด แผนยุทธศาสตรจังหวัด แผนยุทธศาสตรอำเภอ องคกร

ปกครองสวนทองถ่ิน ชุมชน วัด เขาอยากเรียนรูเรื่องวิชาชีพอะไร แลวเรานำมาปรึกษาหารือกันในสภา

วิทยาลัยวา เปดหลักสูตรน้ีดีไหม ปดหลักสูตรน้ีดีไหม ที่ดีไหม ไมไดดีเพราะใคร แตดีเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจ

สังคม ของชุมชน ไมใชดีเพื่อตัวเองหรือพรรคพวกส่ิงน้ี ตองยึดใหมั่น วิทยาลัยชุมชนทำเพ่ือหิตายะ

(ประโยชนเกื้อกูลของคนสวนใหญ) และเพ่ือสุขายะ (ความสุข) ของชุมชน

วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยทุกจังหวัดจะมีชุมชนเขามาสนับสนุนงานตลอดเวลา เพราะชุมชนเขา

เห็นประโยชน เมื่อใดก็ตามท่ีผูบริหารวิทยาลัยชุมชนหันหลังใหชุมชน แลวชุมชนเขาไมเห็นประโยชน เขาจะ

ไมมาสนับสนุนอีกเลย เพราะฉะน้ันสภาวิทยาลัยชุมชน ผูบริหาร อาจารย นักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนแตละ

จังหวัดตองยึดมั่นตรงนี้ใหดี ตองใสใจชุมชน ชุมชนมีปญหาอะไรเราตองรีบลงไปชวย นอกจากชวยในเรื่อง

ของหลักสูตรอนุปริญญากับหลักสูตรฝกอบรมอาชีพแลว ถามีเรื่องอื่นเดือดรอนเราตองลงไปชวย และตอง

ดึงชุมชนเขามาสูวิทยาลัยชุมชนของเรา ใหเขามีความรูสึกวา เขาเปนเจาของวิทยาลัยชุมชนนี้เหมือนกับเรา

ยิ่งเราวางปณิธานไววาวิทยาลัยชุมชนทำเพื่อชุมชน เราตองเอาใจใสชุมชน และสภาวิทยาลัยชุมชนตองเปน

สะพานเช่ือมระหวางชุมชนกับวิทยาลัยชุมชน

เปาหมายการจัดการศึกษา

1. หลักสูตรอนุปริญญา ตองเปนหลักสูตรอนุปริญญาในสาขาวิชาที่ชุมชนตองการ

2. หลักสูตรอาชีพระยะส้ัน ตองเปนหลักสูตรที่ชุมชนตองการ เปนประโยชนเกื้อกูล และนำความสุข

มาสูชุมชน

117คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

Page 119: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

การเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูตลอดชีวิตของวิทยาลัยชุมชน สำหรับ

1. หลักสูตรอนุปริญญา

ผูเรียน : - จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

- ทุกอายุ (วัยรุน / คนทำงาน / ผูสูงวัย)

2. หลักสูตรอาชีพระยะส้ัน

ผูเรียน : - เงื่อนไขตามหลักสูตร

- ทุกอายุ (เด็ก-วัยรุน-วัยทำงาน-ผูสูงอายุ)

นโยบายเชิงบริหารจัดการ • ตอบสนองการพัฒนาชุมชน ตั้งแตการพัฒนาจังหวัด อำเภอ องคการบริหารสวนจังหวัด องคการ

บริหารสวนตำบล เทศบาล

• กำหนดนโยบายใหชุมชนมีสวนรวม โดยวิทยาลัยชุมชนออกไปฟงความตองการของชุมชนแลว

ผานกระบวนการกล่ันกรองจากสภาวิทยาลัย

• จัดการศึกษาใหแกทุกชุมชนอยางทั่วถึง ขณะนี้หลายแหงพยายามไปจัดทุกอำเภอ เชน วิทยาลัย

ชุมชนแพร ออกไปจัดการศึกษาใน 4 อำเภอใหญๆ ขอฝากใหผูบริหารวิทยาลัยชุมชนวา อำเภอท่ีหางไกล

การเดินทางลำบาก เขาจะมาเรียนก็ติดขัด แตถาเราจัดใหเขาไดไปเรียนใกลทุกชุมชนก็จะดี

ถาเปนหลักสูตรอนุปริญญาจะเห็นภาพชัด แตถาเปนการฝกอบรมหลักสูตรอาชีพระยะส้ันใหกับกลุม

ผูดอยโอกาส อาจจะตองทำงานรวมกับหนวยพัฒนาสังคมจังหวัดของกระทรวงพัฒนาสังคมฯ กรมพัฒนา

ชุมชนของกระทรวงมหาดไทย โดยเฉพาะคนตกงาน คนไมมีบานอยู เด็กกำพรา ถาเราสามารถใหโอกาสเขา

โดยผานกระบวนการของวิทยาลัยชุมชน จะเปนมหากุศล จะตอบสนองความตองการของชุมชน และเปนการ

จัดการเรียนรูตลอดชีวิตจริงๆ

118 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

Page 120: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

119คมทัศน : ทางวิวัฒน วิทยาลัยชุมชน : เลม 1

ขอมูลประกอบการเรียบเรียง*

เกษม วัฒนชัย, ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทย. “จุดยืนในการพัฒนาวิทยาลัยชุมชน”. 5 กันยายน

2548 ณ โรงแรมริเวอรไซด กรุงเทพมหานคร.

________. “คำกลาวโอวาทเน่ืองในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน

สระแกว”. 21 มิถุนายน 2549 ณ หอประชุมปางสีดา จังหวัดสระแกว.

________. “บทบาทวิทยาลัยชุมชนในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสูการปฏิบัติ”. การประชุม

สัมมนา เรื่อง “วิทยาลัยชุมชน : การจัดการศึกษาในยุคเปลี่ยนผาน เน่ืองในโอกาสการเปดสะพาน

มิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต)”. 8 มกราคม 2550 ณ โรงแรมพลอยพาเลซ

จังหวัดมุกดาหาร.

________. “การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจพอเพียงไปสูแนวการปฏิบัติ”. คำกลาวโอวาทเน่ืองในพิธีประสาท

อนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน 11 มกราคม 2550 ณ โรงแรม

อิมพีเรียลธารา จังหวัดแมฮองสอน.

________. “ทิศทางการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชน ตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (2551-2565)”.

30 มิถุนายน 2550 ณ โรงแรมฮอลิเดยอินน รีสอรท รีเจนท บีช ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี.

________. ”สัมมนาสภาวิทยาลัยชุมชน ป 2550”. วันที่ 28-30 สิงหาคม 2550 ณ โรงแรมแมน้ำ

ริเวอรไซด กรุงเทพมหานคร.

________. “ธรรมาภิบาลในวิทยาลัยชุมชน”. คำบรรยายใหแกสภาวิทยาลัยชุมชนท่ีมารวมในพิธีประสาท

อนุปริญญาบัตรผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสระแกว. 6 มีนาคม 2551 ณ วิทยาลัยชุมชน

สระแกว.

*ผูสนใจโปรดติดตอขอขอมูลไดจากสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน หรือเว็บไซตของสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน

Page 121: Quoted of Prof. Dr.Kasem Wattanachai on Community College

120 ทัศนะของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี วาดวยวิทยาลัยชุมชน

________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน

ตราด.” 17 มกราคม 2552 ณ ศาลาประชาคมจังหวัดตราด จังหวัดตราด.

________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน

พังงา”. 8 ภุมภาพันธ 2552 ณ วิทยาลัยชุมชนพังงา จังหวัดพังงา.

________. “คำกลาวโอวาทเน่ืองในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชน

พิจิตร”. 12 มีนาคม 2552 ณ อาคารศูนยวิทยาบริการ จังหวัดพิจิตร.

________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล”.

3 เมษายน 2552 ณ อาคารศูนยขอมูลสารสนเทศการทองเที่ยว จังหวัดสตูล.

________. “คำกลาวโอวาทเนื่องในพิธีประสาทอนุปริญญาบัตร ผูสำเร็จการศึกษาวิทยาลัยชุมชนตาก”.

9 เมษายน 2552 ณ โรงแรมเวียงตากริเวอรไซด จังหวัดตาก.

________. “ปรัชญา หลักการ ของวิทยาลัยชุมชน และบทบาทหนาที่ของสภาวิทยาลัยชุมชน”.

________. การบรรยายเรื่อง ”2552 ปแหงคุณภาพการอุดมศึกษาไทย”. 3 กรกฎาคม 2552 ณ หอง

แกรนด ไดมอนด บอลรูม อิมแพ็ค คอนเวนชั่น เซ็นเตอร เมืองทองธานี