12
102 ภาค 1: แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ จดหมายเหตุเรื่องแผนที่ “สยาม” หรือ From Siam to Burma Map “แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ” ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตากสินมหาราช Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma (1) วนนนเมอ 29 เมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ภายหลงเหตุการณ สงกรานตเลอด ใน กทม. เพยงไมกวน ผมไป กูกง ณ กรุงไทเป ประเทศไตหวนมา จุดประสงคคอเพอไปขอดูแผนท สยามเมองไทย หรอ กรุงไทย สมยสมเดจพระเจา กรุงธนบุร ตากสนมหาราช จำานวน 3 แผน และกไดดูสมใจ แมจะแสนขลุกขลก เตมไปดวยพธรตองและระเบยบรฐการ ตามธรรมชาต ของบรรดาบรรณารกษหองสมุด และนกจดหมายเหตุทงหลายทงปวงกตาม อนวา กูกง นน เปนภาษาจนแปลวา วงเดม เหมอนๆ กบ กูกง ณ จตุรสเทยนอนเหมนในกรุงปกกง ประเทศจน นนเอง แต กูกง ณ กรุงไทเปเปนทงพพธภณฑ เปนหอสมุด และเปนหอจดหมายเหตุ ทไดขนสมบตโบราณและเอกสารเกา งหมดจากพระราชว งกรุงป กก ง ข ามน าข ามทะเลเอามาเก บไว กรุงไทเป พูดง ายๆ ค อ ประธานาธ บด เจ ยงไคเช ค ขนสมบ หนทานประธานเหมาเจอตุงมาเมอคอมมวนสต พชตแผนดนจน ป ค.ศ. 1949 (พ.ศ. 2492) นนเอง าก นว า บรรดาเอกสารและสมบ เก าท สยามเม องไทย หร อ กรุงไทย ของเรา ต งแต สม ยอยุธยา-ธนบุร -กรุงเทพฯ นน กถูกขนยายจากกรุงปกกงมาไวท กูกงไทเป เชนกน และนกทำาใหนกวชาการ มอใหม แตลุมลกอยางสาววยกลางคน สญชาตญปุนนาม Erika Masuda ทจบปรญญาเอกจากโตเกยว ทรู 3 ภาษาอยางดเยยม ไมวาจะเปนองกฤษ จน (โบราณ) และไทย (สยาม) ไมนบรวมภาษาแมของเธอ ทมานงทำางานเปนนกวจยอยูทสถาบน Academia Sinica (จนศกษา) ณ กรุง ไทเป เสนอวาผมตองไปดูใหเหนกบตา ดร. เอร กา มาสุดะ ได นคว าขุดอด ตสยามสม ยสมเด จพระเจ ากรุงธนบุร ตากส นมหาราช ออกมาเป นบทความขนาด ยาวเรอง e Fall of Ayutthaya and Siam’s Disrupted Order of Tribute to China (1767-82) ตพมพอยูใน Taiwan Journal of Southeast Asian Studies, October 2007 และเธอก งม บทความด ๆ อ กหลายบท ท เก ยวก บประว ศาสตร สาม เสาระหวางรชสมยของสมเดจพระเจากรุงธนบุรฯ กบรชกาลท 1 และกบจกรพรรดหรอฮองเตเฉยนหลงแหงกรุงจน ตลอด จนคูแขงของสยามในเวยดนามใต คอ Mac ien Tu หรอ Mac Cuu (มอซอหลน หรอมอเทยนซอ หรอมกเทยนตู หรอ พระยาราชาเศรษฐเจาเมองฮาเตยนหรอบนทายมาศ นกเผชญโชคจากกวางตุงทมาไดดในอุษาคเนย และเลนเกมการเมอง อนสลบซบซอนสเสากบทงจน-เวยดนาม-กมพูชา-ไทยสยาม) ดร. เอรกา นแหละทพาผมไป กูกง ณ ไทเป และเรากไดเหนแผนทจรง 1 ฉบบ กบแผนทจำาลองอก 2 ฉบบ เมอ ตอนเชาของวนท 29 เมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) เอรกาพรอมดวยนกศกษาสาวสวยปรญญาโท ดานอุษาคเนยศกษา ของมหาวทยาลย National Chi Nan มารบผม เรานงรถไปตอรถใตดนอนมประสทธภาพของไทเป ตอรถเมลไปลงหนา บนไดของ กูกง มองขนไปเหนอาคารพพธภณฑและหอสมุดตระหงานตา หลงคาสเขยว ตางกบหลงคาสเหลองแบบของ ปกกง อดตประธานาธบดเจยงไคเชค คงใหออกแบบและส ใหดูแปลกตาจากจนแผนดนใหญของประธานเหมาเจอตุง ดู กระเดยดไปทำานองญปุน ทไตหวนถูกอทธพลครอบงำาเปนอาณานคมอยูถง 50 ปกอนสนสงครามโลกครงท 2 เมอป ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488)

Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

Embed Size (px)

DESCRIPTION

จดหมายเหตุเรื่องแผนที่ "สยาม" หรือ From Siam to Burma Map "แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ" ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตากสินมหาราช Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

Citation preview

Page 1: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

102 ภาค 1: แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ

จดหมายเหตุเรื่องแผนที่ “สยาม”หรือ From Siam to Burma Map

“แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ”ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตากสินมหาราช

Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

(1)

วันนั้นเมื่อ29เมษายนพ.ศ. 2552(ค.ศ. 2009)ภายหลังเหตุการณ์สงกรานต์เลือดŽในกทม.เพียงไม่กี่วันผมไปกู้กงŽณกรุงไทเปประเทศไต้หวันมาจุดประสงค์คือเพื่อไปขอดูแผนที่สยามเมืองไทยŽหรือกรุงไทยŽสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีตากสินมหาราชจำานวน3แผ่นและก็ได้ดูสมใจแม้จะแสนขลุกขลักเต็มไปด้วยพิธีรีตองและระเบียบรัฐการตามธรรมชาติŽของบรรดาบรรณารักษ์ห้องสมุดและนักจดหมายเหตุทั้งหลายทั้งปวงก็ตาม อันว่ากู้กงŽนั้นเป็นภาษาจีนแปลว่าวังเดิมŽเหมือนๆกับกู้กงŽณจัตุรัสเทียนอันเหมินในกรุงปักกิ่งประเทศจีนนั่นเองแต่กู้กงŽณกรุงไทเปเป็นทั้งพิพิธภัณฑ์เป็นหอสมุดและเป็นหอจดหมายเหตุที่ได้ขนสมบัติโบราณและเอกสารเก่าทัง้หมดจากพระราชวงักรงุปกักิง่ขา้มน้ำาขา้มทะเลเอามาเกบ็ไวท้ีก่รงุไทเปพดูงา่ยๆคอืประธานาธบิดเีจยีงไคเชค็ขนสมบตัิหนีท่านประธานเหมาเจ๋อตุงมาเมื่อคอมมิวนิสต์พิชิตแผ่นดินจีนปีค.ศ.1949(พ.ศ.2492)นั่นเอง วา่กนัวา่บรรดาเอกสารและสมบตัเิกา่ที่สยามเมอืงไทยŽหรอืกรงุไทยŽของเราตัง้แตส่มยัอยธุยา-ธนบรุ-ีกรงุเทพฯนั้นก็ถูกขนย้ายจากกรุงปักกิ่งมาไว้ที่กู้กงไทเปŽ เช่นกันและนี่ก็ทำาให้นักวิชาการมือใหม่Žแต่ลุ่มลึกอย่างสาววัยกลางคนสัญชาติญี่ปุ่นนามErika Masudaที่จบปริญญาเอกจากโตเกียวที่รู้3ภาษาอย่างดีเยี่ยมไม่ว่าจะเป็นอังกฤษจีน(โบราณ)และไทย(สยาม)ไม่นับรวมภาษาแม่ของเธอที่มานั่งทำางานเป็นนักวิจัยอยู่ที่สถาบันAcademia Sinica(จีนศึกษา)ณกรุงไทเปเสนอว่าผมต้องไปดูให้เห็นกับตา ดร.เอรกิามาสดุะไดค้น้ควา้ขดุอดตีสยามสมยัสมเดจ็พระเจา้กรงุธนบรุีตากสนิมหาราชออกมาเปน็บทความขนาดยาวเรื่องThe Fall of Ayutthaya and Siam’s Disrupted Order of Tribute to China (1767-82)ตีพิมพ์อยู่ในTaiwan Journal of Southeast Asian Studies, October 2007และเธอกย็งัมบีทความดีๆ อกีหลายบททีเ่กีย่วกบัประวตัศิาสตรส์ามเส้าระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯกับรัชกาลที่1และกับจักรพรรดิหรือฮ่องเต้เฉียนหลงแห่งกรุงจีนตลอดจนคู่แข่งของสยามในเวียดนามใต้คือMac Thien Tu หรือMac Cuu (ม่อซื่อหลินหรือม่อเทียนซื่อหรือมักเทียนตูหรือพระยาราชาเศรษฐีเจ้าเมืองฮาเตียนหรือบันทายมาศ นักเผชิญโชคจากกวางตุ้งที่มาได้ดีในอุษาคเนย์ และเล่นเกมการเมืองอันสลับซับซ้อนสี่เส้ากับทั้งจีน-เวียดนาม-กัมพูชา-ไทยสยาม) ดร.เอริกานี่แหละที่พาผมไปกู้กงณไทเปŽและเราก็ได้เห็นแผนที่จริง1ฉบับกับแผนที่จำาลองอีก2ฉบับเมื่อตอนเช้าของวันที่29เมษายนพ.ศ. 2552(ค.ศ. 2009)เอริกาพร้อมด้วยนักศึกษาสาวสวยปริญญาโทด้านอุษาคเนย์ศึกษาของมหาวิทยาลัยNational Chi Nan มารับผม เรานั่งรถไปต่อรถใต้ดินอันมีประสิทธิภาพของไทเปต่อรถเมล์ไปลงหน้าบันไดของ กู้กงŽ มองขึ้นไปเห็นอาคารพิพิธภัณฑ์และหอสมุดตระหง่านตา หลังคาสีเขียว ต่างกับหลังคาสีเหลืองแบบของปักกิ่ง อดีตประธานาธิบดีเจียงไคเช็ค คงให้ออกแบบและสี ให้ดูแปลกตาจากจีนแผ่นดินใหญ่ของประธานเหมาเจ๋อตุง ดูกระเดียดไปทำานองญี่ปุ่นที่ไต้หวันถูกอิทธิพลครอบงำาเป็นอาณานิคมอยู่ถึง50ปีก่อนสิ้นสงครามโลกครั้งที่2เมื่อปีค.ศ.1945(พ.ศ.2488)

Page 2: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 103

พระราชสาส์นบนแผ่นทองคำาจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตากสินมหาราช หรือ “เจิ้งเจา”Ž หรือ “เจิ้งสิน”Ž (คำาว่า “เจิ้ง”หากออกเสียงตามแต้จิ๋วก็คือ“แต้”Žหรือ“แซ่แต้”Žนั่นเองซึ่งกษัตริย์ไทยสยามใช้เรียกตนเองในพระราชสาส์นครั้งสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์จนกระทั่งถึงรัชกาลที่5)ส่งไปยังฮ่องเต้เฉียนหลงลงวันที่ซึ่งคำานวณออกมาได้ว่าตรงกับวันที่26จันทรคติ เดือน5ซึ่งค.ศ. 1781หรือพ.ศ. 2324สำาหรับบรรณาการ-จิ้มก้องที่ไปกับเรือสำาเภา11ลำาของคณะทูตไทยครั้งนั้นนอกจากพระราชสาส์นทองคำานี้แล้วก็ยังมีช้างพังและพลาย1คู่ไม้หอมขนนกยูงงาช้าง-นอแรด-ดีบุก-หวาย-พริกไทย-ฝาง(จำานวนมาก)การบูรไม้กฤษณา อบเชย เชื่อได้ว่าบรรณาการ-จิ้มก้องครั้งนี้ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ มีจำานวนมากมายมหาศาลอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน และก็น่าสนใจอีกว่าพระราชสาส์นทองคำาเช่นนี้ มักจะถูกราชสำานักจีนนำาไปหลอมใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ดังนั้น จึงตกทอดมาถึงปัจจุบันน้อยมากนี่เป็นตัวอย่างที่หายากมากและปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่ “กู้กงกรุงไทเป”ŽหรือNational Palace Museumโปรดดูรายละเอียดได้จากhttp://www.npm.gov.tw/en/collection/selections_02.htm?docno=244&catno=11

Page 3: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

104 ภาค 1: แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ

(2)

เรา 3 คนเข้าไปรายงานตัวพร้อมจดหมายทางรัฐการกับบรรณารักษ์ ที่ท่าทางเคร่งขรึมน่าเกรงขาม ผมยื่นพาสปอร์ตสามัญชนไทยให้ไว้เป็นประกันแล้วเราก็ถูกนำาไปห้องเอกสารสำาคัญที่แสนจะเงียบเหงาบรรยากาศน่าเกรงกลัวมีนักวิชาการหนุ่มสาว2-3คนนั่งดูเอกสารอย่างเงียบๆและอย่างเคารพนบนอบยำาเกรง เรา3คนนัง่รอคำาอนมุตัิวา่มหีนงัสอืทางการขอมากอ่นแตก่ไ็ดร้บัคำาบอกเลา่วา่ตอ้งรอและรอตอ้งนัง่ใหเ้ปน็ระเบยีบเรียบร้อยเคารพนบนอบนานแสนนานกว่าจะได้คำาตอบว่าพระสุพรรณบัฏหรือพระราชสาส์นทองคำานั้นไม่อนุญาตให้ดู(ทั้งๆที่ถ่ายรูปเอาขึ้นเว็บของกู้กงŽหรือNational Palace Museum (http://www.npm.gov.tw/en/learning/library/info.htm) ผมแจ้งว่า ไม่ได้สนใจของสูงขนาดนั้น เพราะในแง่ประวัติศาสตร์แม้จะสำาคัญแต่คงมี “น้ำา”Ž มากกว่า “เนื้อ”Ž ที่อยากดูมากๆคือ“แผนที่Ž”ที่มาจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯส่งไปถวายฮ่องเต้เฉียนหลง

(3)

อันว่าฮ่องเต้เฉียนหลงนั้นเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ชิงซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายของจีนก่อนที่จะมีการปฏิวัติเปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐในปีค.ศ. 1911(พ.ศ. 2454)หรืออีก111ปีต่อมาพระองค์ครองราชสมบัติยาวนานมากถึง60ปีกับ124วันระหว่างพ.ศ. 2278-2339(8October1735-9February1796)เทียบได้ว่าทรงครองราชย์ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา32ปีและอยู่จนถึงปีที่14ในรัชกาลที่1ดังนั้นราชสำานักของไทยสยามไม่ว่าจะเป็นสมัยกรุงศรีอยุธยาของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมัยกรุงธนบุรีของพระเจ้าตากสินฯและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ของรัชกาลที่1ต่างก็ต้องติดต่อในความสัมพันธ์เชิงการทูตบรรณาการ-จิ้มก้องŽกับราชสำานักจีนของฮ่องเต้เฉียนหลงทั้งสิ้น สิ่งที่น่าสนใจก็คือในขณะที่ทาง“กรุงไทย”Žมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ“กรุงจีน”Žการค้า(ข้าว)การค้าโดยเรือสำาเภาการอพยพโยกย้ายของคนจีนแต้จิ๋ว-กวางตุ้ง-ฮกเกี้ยนหลั่งไหลเข้ามาเป็นจำานวนมากอย่างไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์เป็นความสัมพันธ์เชิง“สันติภาพŽ”นั้นความสัมพันธ์ของจีนกับพม่ากลับเลวร้ายและมี“สงคราม”Žขนาดใหญ่อยู่ตลอดเวลาและนี่ก็เป็นเหตุหนึ่งที่ทำาไมฮ่องเต้เฉียนหลงทรงต้องการ“แผนที่Ž”จากกรุงสยามและทำาไมสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯจึงส่ง“แผนที่”Žไปให้ สงคราม“จีนรบพม่า”Žครั้งใหญ่นี้เกิดขึ้นระหว่างปีพ.ศ. 2308-13(ค.ศ. 1765-70)คือระหว่างก่อนเสียกรุงฯของเราเกือบ2ปีและมีต่อมาอีกจนถึงหลังเสียกรุงฯเกือบ3ปีสงครามที่จีนบุกจากยูนนานเข้าไปในพม่าครั้งนี้กองทัพ(พื้นเมือง) จากชายแดนจีนปราชัยต่อ “คนป่าเถื่อนŽ” (พม่า) อย่างย่อยยับฮ่องเต้เฉียนหลงต้องส่งกองทัพชั้นนำาที่เป็น “ทหารแมนจู” ของพระองค์ไปช่วยแน่นอนกองทัพแมนจู ไม่ชินกับเขตป่า-อากาศร้อนและโรคระบาดนานาชนิดทั้งแม่ทัพและนายทหารแมนจูบาดเจ็บล้มตายมหาศาลในปลายปีพ.ศ.2312(ค.ศ. 1769)แม่ทัพทั้งสองฝ่ายตกลงสงบศึกกันและจีนก็ต้องถอนทหารออกอย่างทุลักทุเลจักรพรรดิเฉียนหลงต้องวางกองกำาลังทหารไว้ตลอดแนวชายแดนยูนนานถึง10ปีออกคำาสั่งห้ามการค้าชายแดนต่อมาอีกถึง2ทศวรรษพร้อมๆกับการวางแผนโจมตีใหม่อีกครั้งและนี่ก็จะทำาให้เราเข้าใจได้ดีว่าทำาไมเมื่อพม่าพิชิตอยุธยาได้ในปีพ.ศ. 2310(ค.ศ. 1767)ถึงต้องรีบถอยทัพส่วนใหญ่กลับประเทศและทำาไมฮ่องเต้เฉียนหลงถึงต้องการ“แผนที่”Žจากกรุงสยามและทำาไมสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯจึงทรงส่งไปถวายมากกว่า1ครั้ง

(4)

ขอยอ้นกลบัมายงัเรือ่งของสมเดจ็พระเจา้กรงุธนบรุฯีสมยัของพระองคเ์ปน็สมยัของการกูบ้า้นเมอืงอยธุยาŽสถาปนา“สยามประเทศŽ”ณกรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรได้แล้วก็ต้องฟื้นฟูความสัมพันธ์ระหว่าง“กรุงไทย”Žกับ“กรุงจีน”Žตามระบบและระเบียบของ “โลกเอเชีย”Ž นั่นคือการส่งคณะทูตบรรณาการไป “จิ้มก้อง”Ž (tributary mission-relationship) อันเป็น“โบราณราชประเพณี”Žที่ฮ่องเต้จีนใช้กับทุกๆประเทศในเอเชียและในโลกเป็นเวลาประมาณ2พันปีเข้าไปแล้ว

Page 4: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 105

การสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในรูปแบบของ “การทูตบรรณาการ-จิ้มก้องŽ” นี้ เป็นหลักหมายของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯและนี่ก็เป็นความยากลำาบากอย่างยิ่งยวดเพราะการล่มสลายของกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสิ้นสุดของ“ราชวงศ์บ้านพลูหลวง”Ž “บ้านเมืองแตกแยก”“เป็นก๊กเป็นชุมนุม”Ž ในขณะที่พระเจ้ากรุงธนบุรีฯก็สืบมาจาก“สามัญชน”Žหาใช่เป็น“ผู้ดี”หรือ“เชื้อสายเจ้านาย-ราชวงศ์”“เก่า”Žไม่ ทางราชสำานักของฮ่องเต้เฉียนหลง ต้องการรักษาไว้ซึ่งระเบียบแบบแผนอันเป็น “สถานะเดิมŽ” หรือ status quo นั่นก็คือไม่ต้องการรับรองบุคคลที่ไม่มี“หัวนอนปลายตีน”Žมาก่อนดังนั้นแม้ราชสำานักใหม่ณกรุงธนบุรีจะพยายามส่ง“ทูตบรรณาการ”Žไปกรุงจีนก็หาได้รับการรับรองให้เข้าเฝ้าหรือได้รับพระราชทาน“ตราโลโต”Žไม่(ฮ่องเต้จีนจะพระราชทาน“ตราโลโต”Žให้กับกษัตริย์ต่างๆเพื่อใช้ประทับในพระราชสาส์นสำาหรับติดต่อกับจีนโลโตหมายถึงอูฐซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการหมอบแสดงความจงรักภักดีต่อฮ่องเต้ของจีน) ดังนั้นกวา่ราชสำานกัของพระเจา้กรงุธนบุรีตากสินมหาราชจะได้รบัการรับรองและได้ตรามาก็ตอ้งเพียรพยายามส่งแล้วส่งอีกติดต่อแล้วติดต่ออีกตลอดรัชสมัย14ปีกว่าของพระองค์สถานการณ์เริ่มเปลี่ยนแปลงไปภายหลังปีพ.ศ.2314(ค.ศ. 1771)เมื่อดูเหมือนว่าพระเจ้ากรุงธนบุรีฯจะสามารถสถาปนาพระราชอำานาจและปราบปรามบรรดา“คู่แข่ง”Žหรือหัวหน้า“ก๊ก-ชุมนุม”Žต่างๆได้แต่กว่าคณะทูตของพระองค์จะไปถึงเมืองจีนก็ตกปีพ.ศ.2324(ค.ศ. 1781)เข้าไปแล้วคณะทูต“บรรณาการ-จิ้มก้องŽ”ชุดนี้ก็คือชุดที่“นายอ้น”Ž(หรือหลวงนายศักดิซึ่งต่อมาคือ“พระยามหานุภาพŽ”)ได้ร่วมไปด้วยท่านคือผู้แต่ง“บันทึกความทรงจำาŽ”ในการไปเยือนเมืองจีนครั้งนั้นในนิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีนŽหรือบางทีก็เรียกว่า“นิราศเมืองกวางตุ้ง”Ž

(5)

นักวิชาการทั่วไปเชื่อว่า เมื่อคณะทูตชุดนี้กลับมาถึง “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรŽ” การเมืองไทยก็ผลัดแผ่นดิน สิ้นบุญของ“พระเจ้าตากสินมหาราช”Žและถูก“สำาเร็จโทษŽ”หรือประหารชีวิตไปแล้วแต่อย่างไรก็ตามหากเราจะลองอ่านบทสรรเสริญพระบรมเดชานุภาพหรือ“ประณามพจน์”Žตลอดจนข้อมูลของการ“นั่งกรรมฐานŽ”ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯจาก“นิราศเมืองกวางตุ้ง”Žดังกล่าวข้างต้นจะเห็นว่าสถานการณ์ยัง“ปกติŽ”ดีอยู่ (เป็นบวกŽต่อพระเจ้ากรุงธนบุรีฯอย่างน้อยก็ในทัศนะของนายอ้น(หรือ“หลวงนายศักดิŽ”หรือ“พระยามหานุภาพ”Ž)ผู้ประพันธ์และผู้อยู่เห็นเหตุการณ์ร่วมสมัย กระนัน้กต็ามอานสิงสท์ีส่มเดจ็พระเจา้กรงุธนบรุฯีไดท้รงเพยีรพยายามสถาปนาความสมัพนัธท์างการทตูกบั“กรงุจีนŽ” ได้ในปีพ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781)นี้ก็ตกเป็นผลประโยชน์ทั้งทางการทูตและการค้า ให้กับต้นสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ของราชวงศ์จักรีนับเป็นเวลานานถึง72ปีต่อมาคือตั้งแต่สมัยรัชกาลที่1ถึงรัชกาลที่4ระหว่างพ.ศ.2325-97(ค.ศ. 1782-1854)มีคณะทูตบรรณาการจาก“กรุงไทยŽ”ไป“กรุงจีน”Žถึง35ครั้งหรือประมาณ2ปีต่อ1ครั้งอันเป็นอัตราที่สูงมากๆก่อนที่ระบบทูตบรรณาการนี้จะถูกยกเลิกไปโดยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่4ที่ทรงส่งทูตบรรณาการไป“จิม้กอ้ง”Žชดุสดุทา้ยกอ่นการทีส่ยามจะลงนามในสนธสิญัญาที่“ไมเ่สมอภาค”Žกบัองักฤษคอืสนธสิญัญาเบาวร์งิ Bowring Treaty เมื่อพ.ศ. 2398(ค.ศ1855)เพียง1ปี

(6)

จี.วิลเลียมสกินเนอร์ผู้เชี่ยวชาญความสัมพันธ์ไทย-จีนได้กล่าวถึงประวัติศาสตร์“หัวเลี้ยวหัวต่อ”Žตอนนี้ไว้ในหนังสือ“สังคมจีนในไทย”Ž(แปลโดยพรรณีฉัตรพลรักษ์และคณะพ.ศ.2529และ2548หน้า22)ไว้ดังนี้

“ประวตัศิาสตรจ์นีไดบ้นัทกึเกีย่วกบัคณะทตูบรรณาการจากสยามไปเมอืงจนีเมือ่ค.ศ.1782(พ.ศ.2325)...ฉะนัน้คณะทตูจงึนา่จะเปน็คณะทตูของรชักาลที่1มากทีส่ดุซึง่ถา้เปน็ไปตามนีก้แ็สดงว่ารัชกาลที่1ทรงส่งคณะทูตไปรายงานจักรพรรดิรวดเร็วอย่างผิดปรกติคำาตอบจึงชาเย็นกษัตริย์องค์ใหม่จึงได้รับการแนะนำามาให้ส่งรายละเอียดแลขอพระราชทานการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ

Page 5: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

106 ภาค 1: แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ

ฮ่องเต้เฉียนหลงจักรพรรดิราชวงศ์ชิงราชวงศ์สุดท้ายของจีนก่อนที่จะมีการปฏิวัติเปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐในปีพ.ศ.2454(ค.ศ. 1911) พระองค์ครองราชสมบัติยาวนานมากถึง 60 ปี กับ 124 วัน ระหว่าง พ.ศ. 2278-2339 (8 October 1735 - 9February 1796)ทรงสละราชบัลลังก์เพราะไม่ต้องการครองราชย์เกินกว่า 61ปี เทียบเท่าŽฮ่องเต้องค์ที่เป็นบรรพบุรุษของพระองค์http://en.wikipedia.org/wiki/Qianlong_Emperor

“ในค.ศ.1784(พ.ศ.2327)รัชกาลที่1ทรงส่งคณะทูตบรรณาการไปอีกครั้งหนึ่งในครั้งนี้ ทรงร้องเรียนเป็นการส่วนพระองค์เพื่อสิทธิอำานาจและขอโล่ทองแดง 2,000 อันเพื่อใช้ในการต่อสู้กับพม่าการขอร้องครั้งนี้(อันได้แก่การซื้อทองนั้นพระราชบัญญัติของราชวงศ์ชิงได้มีข้อห้ามชาวต่างประเทศไว้)ทำาให้พระเจ้าเฉียนหลงต้องคิดทบทวนและในปีค.ศ.1786(พ.ศ.2329)เมื่อรัชกาลที่1ทรงส่งคณะทูตบรรณาการไปอีกคณะหนึ่งรัชกาลที่1จึงทรงได้รับพระราชทานแต่งตั้ง “น่าประหลาดใจว่ารัชกาลที่1ทรงได้รับพระราชทานพระนามภาษาจีนว่าเจิ้งหัวและเป็นโอรสของเจิ้งเจา(พระเจ้าตากสิน)พระราชบัญญัติของจักรพรรดิจีนเกี่ยวกับสยามเมื่อค.ศ.1786(พ.ศ.2329)ระบุว่า“เราเห็นแล้วว่าประมุขของประเทศองค์ปัจจุบันได้สืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา กษัตริย์องค์ปัจจุบันได้ส่งคณะทูตเพื่อมาถวายบรรณาการและความจริงใจของพระองค์ ก็เป็นที่น่าสรรเสริญ “อาจเปน็ไปไดว้า่พระราชสาสน์ของรชักาลที่1นัน้มคีวามเทจ็อยูก่ไ็ด้หรอือาจเปน็ไดว้า่ผูแ้ปลแปลคำาวา่“โอรสŽ”ผดิพลาดมาจากคำาวา่“บตุรเขย”Žตามทีเ่จิง้จือ่-หนานกลา่วถงึคำาเจิง้หวัวา่ใชส้ำาหรบัรัชกาลที่1เมื่อตอนที่เสกสมรสกับพระธิดาของพระเจ้าตากสิน...อย่างไรก็ตามมีบันทึกที่ปักกิ่งว่ากษตัรยิร์าชวงศจ์กัรมีพีระนามวา่เจิง้ตามพระเจา้ตากสนิตราบเทา่ทีส่ยามยงัคงสง่บรรณาการใหจ้นีอยู่Ž”

Page 6: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 107

(7)

เจ้าพนักงาน“กู้กง”Žชายสูงอายุสองคนแต่งตัวทะมัดทะแมงมีผ้าปิดปากและจมูก(คล้ายคนกลัวโรคซาร์หรือไข้หวัดนก)สวมถุงมือครบครันเข็นรถที่มีม้วนกระดาษมา1ม้วนเราถูกบอกให้สวมทั้งผ้าปิดปากปิดจมูกใส่ถุงมือเช่นกันแลว้“แผนที่Ž”แผน่สำาคญัทีถ่กูสง่มาจาก“กรงุธนบรุศีรมีหาสมทุร”Žกถ็กูยกขึน้มาวางบนโตะ๊ยาวแลว้ถกูเจา้พนกังานคลีอ่อกอย่างทะนุถนอมแผนที่ขนาดใหญ่เท่าหน้ากระดาษน.ส.พ.รายวันที่กางออกทั้งสองหน้าเจ้าพนักงานทั้งสองยกกระจกใสขึ้นวางทับแล้วให้เราขยับเข้าไปดูได้อย่างกลัวๆกล้าๆ เราไม่ได้รับอนุญาตให้แตะต้องไม่ให้ถ่ายรูปสรุปแล้ววันนั้นเราได้ดูแผนที่หายาก3แผ่น(ที่มีหมายเลขเอกสารว่าno.014670no.010186no.014784)ดูเหมือนว่าแผนที่ no.014670นั้นดร. เอริกายังไม่ได้นำามาตีพิมพ์ในบทความข้างต้นของเธอส่วนสองno.หลัง019186และ014784ได้ถูกย่อส่วนลงตีพิมพ์แล้วน่าเสียดายว่าความคมชัดไม่มีทำาให้ไม่สามารถเข้าใจรายละเอียดและความหมายของแผนที่เหล่านั้นได้

(8)

ในที่นี้ขอให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อ no.014670และขอใช้ชื่อเรียกสำาหรับบทความนี้ว่า“แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ”Ž (Siam to Burma Map)แผนที่สำาคัญแผ่นนี้(ขนาด63 x 64.5cm.วาดด้วยสีฝุ่นบนผ้าฝ้าย)น่าจะถูกส่งไปถวายฮ่องเต้เฉียนหลงเมื่อประมาณก่อนพ.ศ. 2324(ค.ศ. 1781)ถ้าจะพิจารณาดูรายละเอียดแล้วก็คือเป็นเส้นทางเดินทัพหรือยุทธศาสตร์ที่ตั้งต้นจาก“เสียนหลอก๊กŽ”หรือกรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรไปยังกรุงหงสาวดีและอังวะโดยผ่านเส้นทางหลายเส้นเช่นเส้นทางกาญจนบุรีเส้นทางเชียงใหม่หรือเส้นทางเรือลงไปยังนครศรีธรรมราชปัตตานีปาหังเข้าช่องแคบมะละกาผ่านภูเก็ตตะนาวศรีมะริดทวายเมาะตะมะจนถึงกรุงหงสาวดีและอังวะ วธิกีารวางแผนทีใ่หท้ศิเหนอือยูด่า้นขวามอืทศิใตอ้ยูซ่า้ยมอืทศิตะวนัออกอยูด่า้นลา่งสว่นทศิตะวนัตกอยูด่า้นบนนี่ดูจะเป็นวิธีวางทิศของโลกตะวันออก(จีน-ไทย-อุษาคเนย์)ที่ต่างกับของโลกตะวันตกตรงกลางตามแนวนอนของแผนที่ดูจะเป็นรูปของเทือกเขา(ระบายด้วยสีน้ำาเงิน)ซึ่งก็น่าจะเป็นเทือกเขาตะนาวศรีที่คั่นระหว่างไทยสยามกับมอญพม่าส่วนดา้นลา่งของเทอืกเขากเ็ปน็รปูของคลืน่หรอืน้ำา(ระบายดว้ยสเีขยีว)คอืทะเลของอา่วไทยในขณะทีด่า้นบนหรอืทศิตะวนัตกเป็นทะเลอันดามัน บรรดาชือ่ประเทศ-อาณาจกัร-กก๊รวมทัง้เมอืงตา่งๆวาดเปน็“แผน่ปา้ยŽ”(ระบายดว้ยสแีสด)เขยีนดว้ยตวัหนงัสอืจีนแบบดั้งเดิม(ระบายด้วยสีดำา)น่าสนใจที่ว่าเมืองที่ถือว่าอยู่ใน“เขตแดนŽ”ของไทยสยามนั้นจะเขียนตัวภาษาจีนจากบนลงล่าง ในขณะที่ประเทศ-อาณาจักร-ก๊กรวมทั้งเมืองในพม่า-มอญ-มลายู (รวมทั้งเชียงใหม่) เขียนตัวจีนต้องอ่านจากล่างไปบนดังนั้นหากจะอ่านให้สะดวกก็ต้องหมุนแผนที่กลับหัวกลับหาง(และสีที่ระบายก็เป็นฟ้าเขียว)ดูเหมือนว่าวิธีการทำาแผนทีเ่ชน่นี้นา่จะเปน็เทคนคิทีไ่ทยไดร้บัอทิธพิลมาจากจนีและในกรณนีี้ผูท้ำานา่จะมจีนีฮกเกีย้นเปน็ผูเ้ขยีนตวัจนีดว้ยซ้ำาไป(ดังนั้นหากจะอ่านแผนที่นี้ให้ได้อย่างแม่นยำาก็น่าจะเป็นผู้ที่ต้องรู้ทั้งภาษาจีนกลางและฮกเกี้ยนมากกว่าแต้จิ๋วที่แม้จะเป็นจีนส่วนใหญ่ของไทยสยาม)

(9)

ถ้าเราเอา “ป้าย”Žชื่อของ “เสียนหลอก๊ก”Žหรือกรุงธนบุรีซึ่งอยู่ด้านล่างตรงกลางให้เป็นศูนย์กลาง เราจะเห็นได้ชัดว่าแผนที่นี้“บอกอะไรŽ”กับเราแน่ชัดว่าเป็นการบอก“เส้นทางŽ”จากกรุงธนบุรีไปยังศูนย์กลางของอาณาจักรพม่า(และมอญ)นั่นเองด้านบนตรงขึ้นไปตามเส้นประคือ“กาญจนบุรี-เขตแดนสยาม”Žและ“จากราชธานีหรือเมืองหลวงที่ธนบุรีถึงกาญจนบุรีเดินทางบก8วันทางน้ำา12วันŽ”จากนั้นเส้นทางก็แยกเป็นเส้นประไปทางขวาหรือทิศเหนือไปยัง“เมาะตะมะ-เขตแดนพม่า”Žเส้นประไปทางซ้ายหรือทิศใต้“ทวายเขตแดนพม่าเดิมเป็นเขตสยามŽ” จากเมาะตะมะเสน้ประต่อไปทางซา้ยหรอืทศิเหนอืสู่“หงสา-ทางบก15วนั”Žขอ้ความภาษาจนียงัขยายความอกีวา่

Page 7: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

108 ภาค 1: แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ

แผนที่เก่าเขียน“ก๊กหงสาŽ”(หมายความว่าเป็นเอกราชมาก่อน?)จากหงสาต่อไปทางซ้ายหรือทิศเหนือทางบก15วันถึงอังวะ-เขตแดนพม่าŽ ทีนี้กลับมาที่“ทวายŽ”อีก5ป้ายของชื่อเมืองต่างๆยังอ่านภาษาจีนจากบนลงล่างได้แสดงว่าเป็นเขตแดนสยามคือตะนาว(ศรี)“ซึลอง”Žซึ่งน่าจะเป็น“ภูเก็ต”Ž( Junk Ceylon)เขตแดนสยามถัดไปเป็น“วังฉี-วังกะ”Žเขตแดนสยามเช่นกัน(แต่เรายังไม่ทราบได้ว่าคือเมืองอะไร) ถัดไปอีก5ป้ายชื่อเมืองที่มีสีระบายต่างออกไปและ4ป้ายต้องกลับหัวกลับหางจึงจะอ่านออกซึ่งก็หมายถึงอยู่นอกเขตแดนสยามไปแล้วยกเว้นเคดะห์(หรือไทรบุรี)ที่แม้จะเขียนว่าเขตแดนมลายูแต่ก็ดูมีสถานะกำากวมแถมยังมีเส้นโยงไปเชื่อมกับ“ท่าข้าม”Ž(ซึ่งอาจจะเป็นบ้านดอนŽสุราษฎร์ฯ?)ป้ายสุดท้ายในกลุ่มนี้คือมะละกา-เขตแดนมลายูŽเป็นอันจบทางด้านของพม่าตอนกลาง-ตอนล่างและทะเลอันดามันที่มีมะละกาเชื่อมต่อกับปาหัง(ที่จะกล่าวถึงต่อไป)

(10)

กลบัมายงัแผน่ปา้ยของ“เสยีนหลอกก๊Ž”หรอืกรงุธนบรุีมตีวัหนงัสอืจนีหนึง่แถวทอดยาวไปทางซา้ยหรอืทางทศิใต ้เลาะไปตามทะเลและน้ำาอ่านได้ใจความว่า“จากกรุงสยามไปถึงปาหัง”(มลายู)ทางเรือทะเลระหว่างเดือน9-10ตามลมไปใช้เวลา 15-16 วันŽ ป้ายสุดท้ายด้านซ้ายมือหรือทิศใต้นี้ คือ “ปาหัง” ของชาวบูกิต เขตแดนมลายูŽ ซึ่งก็จะเชื่อมต่อด้วยข้อความตัวหนังสือจีนอีกหนึ่งแถวต้องพลิกแผนที่กลับหัวกลับหางของพม่าŽนั่นเอง ขอกลบัมาดเูมอืงตา่งๆทางดา้นซา้ยมอืหรอืทศิใตข้อง“เสยีนหลอกก๊”ไลเ่รยีงไปตามลำาดบัไดด้งันี้“ทา่จนีเขตแดนสยาม”Ž(สมุทรสาคร)“แม่กลองเขตแดนสยาม”Ž(สมุทรสงคราม)“เพชรบุรีฯ-ราชบุรีฯ-ปาน(ปราณ)ฯ-บางสะพานฯ-กุยฯ-สวีฯ-ขันธบุรีฯ(?)-ชัยบุรีฯ (? เขตในอำาเภอท่าชนะ?)-ท่าข้ามฯ (บ้านดอน?ซึ่งน่าสนใจมากคือมีข้อความอธิบายไว้ว่าณบรเิวณนีไ้ปตามคลอง10วนักจ็ะไปออกทีเ่คดะหห์รอืไทรบรุี!?)-ลกิอรฯ์(นครศรธีรรมราช-เขตแดนสยาม-แผนทีเ่กา่วา่เปน็สงขลา)-สงขลาฯ-พทัลงุฯ”จากนัน้กเ็ปน็“กก๊ตานี(ปตัตาน)ี-ยะโฮร์(ของชาวบกูติ)และปาหงั-เขตแดนมลายูŽ”เปน็อนัสดุแดน

(11)

ท้ายสุดกลับมาดูทางด้านขวามือหรือทิศเหนือของ “เสียนหลอก๊กŽ” ก็จะพบว่ามีแผ่นป้าย 4แผ่นตามแนวขวางอ่านได้ความว่าเป็นเมืองกำาแพง(เพชร)เขตสยาม-?-สวรรคโลกฯ-พิษณุโลกฯŽมีเส้นประจากกำาแพง(เพชร)ไปเชียงใหม่ระยะทาง10วัน ที่เชียงใหม่นั้นแผ่นป้ายเขียนตัวอักษรจีนกลับหัวกลับหาง(แบบเดียวกับป้ายชื่อเมืองของพม่า)และเขียนว่าเดิมคือ“เชียงใหม่ก๊กŽ”และ“พม่ายึดไป”Žที่นี่มีเส้นประต่อไปอีกไป“15วันก็จะถึงกรุงอังวะŽ” จากสวรรคโลกมีเส้นประแยกไป“เชียงใหม่ระยะทาง10วันŽ”หรือไป“พิชัยเขตแดนสยาม12วัน”Žถัดมาเป็น“พิษณุโลกŽ”มีเส้นประว่าไป“พิชัยทางบก2วันทางน้ำา3วันŽ”เป็นอันหมดเมืองสำาคัญของทิศขวามือหรือทิศเหนือ กลา่วโดยยอ่นีค่อืแผนทีข่อง“กรงุสยาม”Žหรอื“เสยีนหลอกก๊Ž”ในปลายสมยัของสมเดจ็พระเจา้กรงุธนบรุีตากสนิมหาราชที่แสดงเขตแดนดินแดนและเมืองต่างๆทั้งทางด้านทิศตะวันตก(บน)ด้านทิศเหนือ (ขวา)ด้านทิศใต้ (ซ้าย)แต่ไม่มีทิศตะวันออก(ล่าง)คือแถบที่จะเป็นจันทบุรี-ตราดไล่เลยไปยังกัมพูชาและ/หรือเวียดนามใต้แต่อย่างใดและนั่นก็คงต้องไปดูจากแผนที่แผ่นอื่นรวมทั้งแผนที่ที่ทางเวียดนามใต้อย่างเมืองฮาเตียน(หรือบันทายมาศ)ก็“แข่งขัน”Žส่งไปยังฮ่องเต้เฉียนหลงเช่นกันและนี่ก็คือสถานการณ์ของ“การกู้บ้านกู้เมือง”Žซึ่งเป็นสภาพก่อนรัตนโกสินทร์และหลังเสียกรุงศรีอยุธยาŽของ“กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรŽ”

Page 8: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 109

หมายเหตุ

ก. ขอขอบคุณDr. Erika Masudaที่แนะนำาให้รู้จักและนำาชมแผนที่นี้ณกู้กงŽไทเปข. ขอขอบคุณคุณPichai Laiteerapong & Dararat Hong ที่ช่วยถอดความและชื่อภาษาจีนออกเป็นภาษา

ไทย)เช่น Names in the map ( Myanmar side) are listed as follows: Chiangmai, place conquered by Myanmar, the old map as

Chiangmai state Ava, Myanmar proper Hongsa (Pegu), Myanmar proper, old map as Hongsa state) Tama (Martaban), Myanmar proper Tawai (Tavoy), Myanmar proper, old map as Tawai state) Names in traditional Chinese writing (as appeared in the Map) Tachin, Siam boundery Maeklong, Siam boundery Petchburi, Siam boundery Rajburi, Siam boundery Pranburi, Siam boundery Bangsapan, Siam boundery Kuipuri, Siam boundery Sawi, Siam boundery Khantuuli, Siam boundery (Ampoure Thachana today) Chaiya, Siam boundery  (Old map as Kanburi) Takham, Siam boundery (the interior part of Bandon today) Ligor, Siam boundery Songkla, Siam boundery Patthalung, Siam bounderyค.ขอขอบคุณรศ. อาทรฟุ้งธรรมสารและคุณอนันต์กรุดเพ็ชร์ในการประสานงานและสรุปข้อความในการอ่าน

แผนที่

20กรกฎาคม2553

ตลิ่งชัน-ธนบุรี-สยามประเทศ

พิมพ์ครั้งแรกในงานสัมมนาประจำาปี“จดหมายเหตุสยาม:

จากกรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรถึงเมืองจันทรบูร

Page 9: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

110 ภาค 1: แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ

แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ

Page 10: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 111

แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ(ฉบับถอดความภาษาไทย2553)

Page 11: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

112 ภาค 1: แผนที่เส้นทางเดินทัพจากกรุงธนบุรีถึงกรุงอังวะ ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีฯ

Page 12: Sino-Thai Map from Bangkok-Thonburi to Ava-Burma

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 113