27
1 ศิโรตม คลามไพบูลย ([email protected])[1] พิมพครั้งแรกในวารสารวิถีทรรศน ชุดโลกาภิวัฒน ปที5 ฉบับที19 (2544) ฉบับ "ทฤษฎีและความรู" โพสทโมเดิรนเปนศัพทแสงทางวิชาการที่โดงดัง และแพรหลายมากที่สุดในวงการปญญาชนไทย ในทศวรรษที่ผานมา ไมมีใครที่ไมไดอิทธิพลจากแนวคิดนีหรืออยางนอยก็ไมมีใครที่จะปดหูปดตา และทําไมรูไมชี้ตอการมีอยูของคําๆ นี้ไปได โพสทโมเดิรนเปนคําใหมในสังคมไทย แตถึง ..นีโพสทโมเดิรนก็ไมไดเปนศัพทแสงที่จํากัดอยู แตในวงการปญญาชน และนักวิชาชีพตามมหาวิทยาลัยอีกตอไปแลว อิทธิพลของโพสทโมเดิรนตอ วงการศิลปะ-ภาพยนตร -สถาปตยกรรม-วรรณกรรม ทําใหแมแตชาวบานรานตลาดก็เผชิญกับการ หลอกหลอนของคํานี้อยางไมอาจหลีกเลี่ยงได โดยเฉพาะในรายที่มีความสามารถในการอานออก เขียนได และสมัครรักใครในวัฒนธรรมการอานในระดับเพียงพอ. ปฏิกิริยาที่ปญญาชนไทยมีตอโพสทโมเดิรนนั้นมีหลายทาง. ทางหนึ่งก็คือการคลั่งไคลอยางไมลืมหูลืมตาในอะไรก็ไดที่มีคําวา "โพสทโมเดิรน" ปะหนา ราวกับ วาภูมิปญญามนุษยชาตินั้นไดมาถึงบทสุดทายพรอมๆ กับการปรากฎกายของโพสทโมเดิรนขึ้นมา ไมมีคําตอบที่ดีกวานี้ในอดีต และไมมีทางจะมีคําตอบที่ลึกซึ้งกวานี้ในอนาคต อีกทางหนึ่งคือการบอกปดอยางไมใยดี พรอมกับโจมตีอยางงายๆ วาโพสทโมเดิรนไมมีอะไรใหม เปนเรื่องเลอะเทอะเหลวไหล ไมสนใจสังคม หรือกระทั่งเปนของเลนใหมทางภูมิปญญา และแนวทางสุดทายก็ไดแกฝายที่พยายามอยางเหลือเกินที่จะอธิบายโพสทโมเดิรนใหมีลักษณะ "เพื่อสังคม" แลวใชวิธีคิดแบบนี้เปนเครื่องมือในการสรางปฏิบัติการทางวิชาการและการเมือง บางอยางขึ้นมา. เห็นไดชัดเจนวาปฏิกิริยาแบบแรกกับแบบที่สองนั้นขัดแยงกันโดยตรง และเพราะ เหตุนีจึงไมนาแปลกใจที่วิวาทะและการโตเถียงเกี่ยวกับโพสทโมเดิรนที่ชัดเจนที่สุดจะมาจากคน สองกลุมนีอยางไรก็ดี การถกเถียงและโตแยงกันผานขอเขียนเชิงวิวาทะอยางเปดเผยนั้น เปนสิ่งที่ไมเคยมีอยู ในประเพณีทางภูมิปญญาแบบไทยๆ ของปญญาชนไทยมานานแลว ความขัดแยงระหวางความคิด ทั้งสองแบบจึงไมใชเรื่องที่จะมองเห็นไดงายๆ แตใครที ่ติดตามความเคลื่อนไหวทางภูมิปญญาใหดี

Sirote Postmodern

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Sirote Postmodern

1

ศิโรตม คลามไพบูลย ([email protected])[1] พิมพคร้ังแรกในวารสารวิถีทรรศน ชุดโลกาภิวัฒน ปท่ี 5 ฉบับที่ 19 (2544) ฉบับ "ทฤษฎแีละความรู"

โพสทโมเดิรนเปนศัพทแสงทางวิชาการทีโ่ดงดัง และแพรหลายมากที่สุดในวงการปญญาชนไทยในทศวรรษทีผ่านมา ไมมีใครที่ไมไดอิทธิพลจากแนวคิดนี ้หรืออยางนอยกไ็มมีใครที่จะปดหูปดตาและทําไมรูไมช้ีตอการมีอยูของคําๆ นี้ไปได

โพสทโมเดิรนเปนคําใหมในสังคมไทย แตถึง พ.ศ.นี้ โพสทโมเดิรนก็ไมไดเปนศพัทแสงที่จํากัดอยูแตในวงการปญญาชน และนักวิชาชพีตามมหาวิทยาลัยอีกตอไปแลว อิทธิพลของโพสทโมเดิรนตอวงการศิลปะ-ภาพยนตร-สถาปตยกรรม-วรรณกรรม ทําใหแมแตชาวบานรานตลาดก็เผชิญกับการหลอกหลอนของคํานี้อยางไมอาจหลีกเลี่ยงได โดยเฉพาะในรายที่มีความสามารถในการอานออกเขียนได และสมัครรักใครในวัฒนธรรมการอานในระดบัเพียงพอ.

ปฏิกิริยาที่ปญญาชนไทยมีตอโพสทโมเดิรนนั้นมหีลายทาง. ทางหนึ่งก็คือการคลั่งไคลอยางไมลืมหูลืมตาในอะไรก็ไดที่มีคําวา "โพสทโมเดิรน" ปะหนา ราวกบัวาภูมิปญญามนุษยชาตนิั้นไดมาถึงบทสุดทายพรอมๆ กบัการปรากฎกายของโพสทโมเดิรนขึ้นมา ไมมีคําตอบที่ดีกวานี้ในอดตี และไมมีทางจะมีคําตอบทีลึ่กซึ้งกวานีใ้นอนาคต

อีกทางหนึ่งคอืการบอกปดอยางไมใยด ีพรอมกับโจมตีอยางงายๆ วาโพสทโมเดิรนไมมีอะไรใหม เปนเรื่องเลอะเทอะเหลวไหล ไมสนใจสังคม หรือกระทั่งเปนของเลนใหมทางภูมิปญญา

และแนวทางสดุทายกไ็ดแกฝายที่พยายามอยางเหลือเกนิที่จะอธิบายโพสทโมเดิรนใหมีลักษณะ "เพื่อสังคม" แลวใชวิธีคิดแบบนี้เปนเครื่องมือในการสรางปฏิบัติการทางวิชาการและการเมืองบางอยางขึ้นมา. เห็นไดชัดเจนวาปฏิกิริยาแบบแรกกับแบบที่สองนั้นขัดแยงกนัโดยตรง และเพราะเหตุนี ้จึงไมนาแปลกใจทีว่วิาทะและการโตเถียงเกีย่วกับโพสทโมเดิรนที่ชัดเจนที่สุดจะมาจากคนสองกลุมนี้

อยางไรก็ด ีการถกเถียงและโตแยงกันผานขอเขียนเชิงวิวาทะอยางเปดเผยนั้น เปนสิ่งทีไ่มเคยมีอยูในประเพณีทางภูมิปญญาแบบไทยๆ ของปญญาชนไทยมานานแลว ความขัดแยงระหวางความคิดทั้งสองแบบจงึไมใชเร่ืองที่จะมองเหน็ไดงายๆ แตใครทีต่ิดตามความเคลื่อนไหวทางภูมิปญญาใหดี

Page 2: Sirote Postmodern

2

ก็คงจะเล็งเห็นถึงความไมลงรอยขอนี้ไดไมยาก ถึงแมจะไมเคยมวีิวาทะและการเผชิญหนากันอยางตรงไปตรงมาเกิดขึ้นจริงๆ เลยก็ตาม. บทความนี้ไมมีวัตถุประสงคที่จะเสนอวาโพสทโมเดิรนพูดถึงอะไร และก็ไมไดมีความมุงหมายที่จะอธบิายวาทามกลางการโจมต,ี เห็นดวย, ช่ืนชม, ตอตาน และอะไรตอมิอะไรที่อ้ืออึงอลหมานอยูตามหนาหนังสือพิมพ, วารสาร, เวบ็บอรด , วงสนทนา ฯลฯ นัน้ ใครเปนฝายถูกและใครที่เปนฝายผิด

เปาหมายของบทความนี้อยูที่การแสดงใหเห็นวาในทามกลางการทะเลาะเบาะแวง และถกเถียงที่อ้ืออึงอลหมานทวายากจะมองเห็นไดนั้น มีแงมุมความคิดอะไรบางที่แตละฝายใชเปนหลักเปนฐานในการโตแยงอภปิราย และแงมมุที่วานั้นสะทอนใหเห็นถึงทรรศนะคติทางภูมิปญญาและปฏิบัติการ ทางการเมืองที่แตกตางกันอยางไรบาง

ดวย ขอจํากัดที่ปญญาชนไทยไมเคยถกเถียงในเรื่องอะไรกันอยางจริงจังและเต็มที ่โดยเฉพาะเรื่องในระดบัอภิปรัชญาและมรรควิธี จึงหลีกเลีย่งไมไดที่ผูเขียนจะตองพูดถึงเรื่องนี้โดยอาศัยขอถกเถียงใน โลกตะวันตกเปนกรอบอางอิง

โพสทโมเดิรนคืออะไร คําถามนี้ตอบไดไมงาย และแมแตนักคดิในกลุมโพสทโมเดิรนที่มีช่ือเสียงมากที่สุดคนหนึ่งกย็ัง ตอบคําถามนี้ไมไดเหมือนๆ กัน ความคลุมเครือและกํากวมของโพสทโมเดิรนนั้นเปนที่มาของคําตอบอยางนี ้แตความคลุมเครือและกํากวมนี่เองที่ถือวาเปนคุณลักษณะสําคัญของ โพสทโมเดิรนเอง เพราะโพสทโมเดิรนเปนกระแสความคิดที่เต็มไปดวยความหลากหลาย, แยกยอย, กระจัดกระจาย , ไมไดมุงเสนอทฤษฎีที่เปนระบบระเบียบในการอธิบายสังคม, ไมมีระเบียบวิธีที่แจมชดั, ไมมีอุดมการณเพื่อวันขางหนา , ไมไดพดูถึงการเปลี่ยนแปลงโลก และยิ่งไมไดพูดถึงลักษณะของสังคมที่พึงปรารถนา.

แมแตจะบอกวาโพสทโมเดรินเกิดขึ้นเมื่อไร ก็ยังเปนสิ่งที่นักคิดในกลุมนี้หลายรายปฏิเสธดวยซํ้าไป. ความคลุมเครือเปนเหตใุหโพสทโมเดิรนถูกโจมตีดวยหลายขอหา นักสังคมศาสตรบางคนโจมตีวาโพสทโมเดิรนใชการไมได เพราะไมมีทฤษฎแีละระเบียบวิธีอะไรที่ชัดเจน นักปรัชญาเสนอวาโพสทโมเดิรนไมไดพูดถึงอะไร นอกเหนือไปจากลัทธิสูญญนิยมและการหักลางทําลาย นักศิลปะเห็นวาโพสทโมเดิรนไมเคยมีอยูจริงๆ ฝายซายเห็นวาโพสทโมเดรินไมสนใจการปฏิวัติ ในขณะที่นกัทฤษฎีสังคมหลายรายกลาวหาวาโพสทโมเดรินเปนฝายขวา และกระทั่งเปนเครื่องมือทางอุดมการของชนชั้นนายทุน.

แลวโพสทโมเดิรนเปนอยางที่วามาจริงหรอืเปลา.

Page 3: Sirote Postmodern

3

คําตอบคือใชและไมใช ที่ใชก็เพราะโพสทโมเดิรนไมทําอะไรตอมิอะไรตามที่นักนั้นนักนีว้าไว จริงๆ แตที่ไมใชก็เพราะการสรุปวาโพสทโมเดิรนเปนอะไร จากสิ่งที่โพสทโมเดิรนไมทํานั้น บอยครั้งก็เปนการดวนสรุปโดยเอาบรรทัดฐานของผูสรุปเองเปนตัวตัง้มากจน เกินไป แลวสรางขอสรุปขึ้นมาจากความไมรู อคติ ฉันทาคติ รสนิยมทางการเมือง ฯลฯ จนกระทั่งการโจมตีโพสทโมเดิรนโดยนกัทฤษฎีหลายราย กลายเปนการประกาศความสูงสงของทฤษฎีที่ตนยดึถือ มากกวาจะเปนการจําแนกแยกแยะใหเห็นวาโพสทโมเดิรนมีจุดออนและขอ บกพรองอะไรจรงิๆ.

โพสทโมเดิรนไมไดเสนออะไรที่ชัดเจน เพราะตัวโพสทโมเดิรนเองเปน "กระแสความคิด" มากกวาจะเปน "สํานักคิด" ที่มีระเบียบวิธี, ปรัชญา และเปาหมายในการศึกษาที่ชัดเจนตายตวั แตอยางไรก็ดี นี่ไมไดหมายความวาโพสทโมเดิรนจะไมมีอะไรบางอยางรวมๆ กันเสียเลย และยิ่งไปกันใหญ หากจะบอกวาโพสทโมเดิรนไมมอีะไรที่เปนแกนสารอยูขางใน.

เชื่อกันวาโพสทโมเดิรนปฏิเสธความจริง แตคงจะถูกกวาถาจะบอกวาโพสทโมเดิรนเห็นวาความจริงเปนสิ่งที่สังคมสรางขึ้นมา ดวยความรูแบบวิทยาศาสตร, ดวยวิธีคิดแบบเหตุผลนยิม และดวยวธีิการศึกษาแบบปฏิฐานนิยม ซ่ึงทั้งหมดนี้ลวนเปนสิ่งที่วงการสังคมศาสตรถือวาสูงสงและเปนกลางกวาส่ิงใดๆ และเพราะฉะนัน้ ความจริงทีไ่ดมาจากองคประกอบเหลานี้ จึงเปนความจริงที่จริงแทแนนอนและไมมีวันผันแปรเปนอื่นไปได

โพสทโมเดิรนตั้งขอสงสัยกับเรื่องเหลานี ้และโตแยงวาทั้งหมดนีก้็เปนแคผลผลิตที่มาจากความรูความเขาใจในแบบหนึ่งๆ ซ่ึงเอาเขาจริงๆ แลวก็พิสูจนไมไดวาเปนความจริงเหนือกวาความจริงแบบอื่นๆ ตรงไหนและอยางไร.

โพสทโมเดิรนตั้งคําถามกับความเชื่อที่วาความรูนั้นเหมือนกระจก สวนโลกก็เหมือนวตัถุที่เราจะเอากระจกไปสองใหเหน็ไดอยางถวนทัว่ สําหรับโพสทโมเดิรนแลว วตัถุนั้นอยูหางไกลจนไมมีทางที่กระจกบานใดจะสองไดทั่วถึง และการจองมองวัตถุนั้นก็สัมพันธอยางมากกับตวัตนและตําแหนงแหงที่ของ บุคคลผูถือกระจกเอง

ภาพในกระจกเปนเพยีงภาพตัวแทนของความจริง แตก็เหมือนภาพตัวแทนทั่วๆ ไป คือถึงอยางไรมันก็ไมใชและไมมีวนัจะเปนความจริงไปได

สําหรับโพสทโมเดิรนแลว ศาสตรและความรูทั้งหลายทีส่รางขึ้นอยางมีระเบียบแบบแผนโดยมีเปาหมายทีจ่ะอธิบายโลกและเขาถึง "ความจริง" นั้น แทจริงแลวจึงเปนแคคําอวดอางที่ไดรับการค้ํายันจากระบบอาํนาจในสังคม จนทําใหคําอวดอางนีย้ิ่งใหญและกลายเปนความรูที่จริงแทและไมมีวันเปนอื่นไปไดเลย.

Page 4: Sirote Postmodern

4

ทั้งหมดนี้ทําใหโพสทโมเดิรนดูคลายกับปรัชญาแบบสัมพัทธนิยม และพอคลายกับสัมพัทธนิยมแลว ผูคนจํานวนไมนอยกจ็ะคิดตอไปวาโพสทโมเดิรนเปนสกุลความคิดแบบอะไรก็ได ใครอยากทําอะไรก็ไดเสมอ ไมตองมีบรรทัดฐานอะไร บอกไมไดวาใครถูกใครผิด เผด็จการดีพอๆ กับประชาธิปไตย การฆาเพื่อนมนุษยไมใชเร่ืองชั่วราย ทั้งเปนโพสทโมเดิรนเองตางหากที่เผยใหเหน็ถึงแนวโนมทีภ่าวะสมัยใหมจะ นําไปสูเร่ืองโหดรายในประวัติศาสตรอยางเชนการฆาลางเผาพันธุ

หรืออยางที่นกัปรัชญาหลายคนวาไววา สัมพัทธนิยมนัน้เปนฝนรายของวิชาปรัชญา.

ถาถือวาสัมพัทธนิยมคือการปฏิเสธความคิดวาโลกมีความจริงแทที่แนนอนและเปนอื่นไมไดเพียงหนึ่งเดยีว โพสทโมเดิรนก็เปนสัมพัทธนิยมอยางไมตองสงสัย แตถาสัมพัทธนิยมคือความเชื่อวาโลกไมมีความเปนจริงใดๆ เลยสักอยาง โพสทโมเดิรนก็คงไมใชสัมพัทธนิยม

โพสทโมเดิรนยอมรับการมีอยูของความจรงิ แตการพูดถึงความจริงนั้นก็สัมพันธกับภาษาและถอยคํา ซ่ึงไมมีวันที่จะสะทอนความเปนจริงทั้งหมดใหครบถวนสมบูรณแบบไปได และที่เราทําไดอยางมากที่สุดก็คือการมองเห็นขอจํากดันี้ และไมอวดอางวาไดเขาถึงความรูอันยิ่งใหญใดๆ ที่เปนเสมือนกุญแจไขไปสูความลึกลับของจักรวาล.

ถาถือวาโพสทโมเดิรนหมายความถึง "หลังสมัยใหม" ก็จะชวนใหคดิตอไปวาโพสทโมเดิรนคืออะไรที่ถอยหาง, มาทีหลัง และสามารถจําแนกแยกแยะและลากเสนแบงออกจาก "สมยัใหม" ไดอยางชัดแจง

ความเขาใจขอนี้เปนสาเหตใุหปญญาชนไทยบางรายโจมตีโพสทโมเดิรนอยางงายๆ วา เพราะสังคมไทยยังไมเขาสูภาวะสมัยใหม "หลังสมัยใหม" จึงเปนสิ่งที่ไมมีอยูจริง ทั้งที่โพสทโมเดิรนหมายความถึงปฏิกิริยาที่ผูคนจํานวนไมนอยมีตอความคดิ, ความเชื่อ, ความรู, แบบแผนการปฏิบัติ, สถาบัน และอะไรตอมิอะไรที่เปนทั้งผลผลิตและเปนไวพจนของภาวะสมัยใหมไปพรอมๆ กัน ไมวาจะเปนความรู, ความมีเหตุมีผล, ประชาธิปไตย, สังคมสมัยใหม, โรงพยาบาล, สังคมขอมูลขาวสาร, ความเปนตัวตน , เทคโนโลยี, การปลดปลอย ฯลฯ ซ่ึงในบางกรณีกก็ินความไปถึงหลักสิทธิมนุษยชนสากล, ประชาธิปไตย, เสรีภาพสมบูรณ ฯลฯ ไปเลยดวยซํ้า.

เพราะเหตุนี้ ถึงโพสทโมเดิรนจะมาทหีลังสมัยใหม และถึงบางสังคมจะไมไดอยูในภาวะสมัยใหมอยางสมบูรณ แตโพสทโมเดรินก็ดํารงอยูควบคูไปกับภาวะสมัยใหมตลอดเวลา เพราะโพสทโมเดิรนเปนกระแสความคิดที่เปนปฏิกิริยาตอภาวะสมัยใหมในทกุๆ ดาน โดยเฉพาะในดานที่เปนวิธีคิดที่มักเรยีกรวมๆ กันอยางกวางๆ วา Enlightenment ซ่ึงครอบงําโลกสมัยใหมไปทุกหนแหงในรอบ ๒-๓ ศตวรรษที่ผานมาอยางไมมีขอยกเวน

Page 5: Sirote Postmodern

5

โพสทโมเดิรนไมไดลมลางภาวะสมัยใหม ไมวาจะในทางภูมิปญญาหรอืในทางโลกกายภาพ แตส่ิงที่โพสทโมเดิรนทําคือการทาทายและขดัแขงขัดขาภาวะสมัยใหมไปตลอดเวลา แลวเตือนใหภาวะสมัยใหมตระหนักวาตนเองไมไดเปนบรรทัดฐานหนึ่งเดยีวในการมองโลกและตัดสนิความถูกผิดของจักรวาลไปตลอดเวลา.

ความไมเชื่อในการมีอยูของ "ความจริง" ในระดับใหญโตที่สังคมใชเปนรากฐานในการอธิบายเรื่องตางๆ เชน ความเทาเทียม, อภิปรัชญา, การแบงแยกระหวางหญิง/ชาย อยางตายตวั, ความเชื่อเร่ืองความกาวหนา ฯลฯ อยางที่พวกโพสทโมเดรินมักเรียกวา "อภิมหาพรรณนา" เปนเหตใุหโพสทโมเดิรนถูกโจมตีทั้งจากพวกฝายขวาและฝายซาย.

ฝายขวาโจมตวีาโพสทโมเดรินตอตานพระเจาและอภิปรัชญา ขณะทีฝ่ายซายเหน็วาโพสทโมเดิรนเปนอุดมการณจอมปลอมทีข่ัดแยงกับการปฏิวัติสังคม ทั้งที่โดยตัวของโพสทโมเดิรนเองนั้นเปนไดทั้งซายและขวา แตการปฏิเสธ "อภิมหาพรรณนา" ก็ทําใหหลายฝกฝายยอมรับโพสทโมเดิรนไมไดอยูดี.

ลัทธิมารกซและโพสทโมเดิรน หนึ่งในคนกลุมที่โจมตีโพสทโมเดิรนไวอยางรุนแรงที่สุดไดแกชาวลัทธิมารกซ ทั้งที่ปญหาเรื่องลัทธิมารกซนั้นแทบไมไดเปนประเดน็ทีน่ักคิดแนวโพสทโมเดิรนสนใจ อยางไรกด็ี นี่เปนเรื่องที่เขาใจได ถาถือวาลัทธิมารกซเปนสวนหนึง่ของภาวะสมัยใหม และมารกซิสทเองก็เห็นพองกับความคิดพื้นฐานของภาวะสมัยใหมหลายประการ โดยเฉพาะความคิดเรื่องการปลดปลอยมนุษย รวมทั้งความคดิเรื่องสังคมอุดมคติในอนาคต ซ่ึงทั้งหมดนี้ลวนเปนเรื่องที่นักคิดที่มีอิทธิพลตอโพสทโมเดิรน หรือ "หลังสมัยใหม" ไมเหน็ดวย ไมวาจะเปน Adorno/Horkheimer ที่มองวาภาวะสมัยใหมเปนเรื่องของการครอบงํา หรือ Koselleck ที่ถือวาความคิดเรื่องสังคมอุดมคติในอนาคตนัน้เปนศัตรูของภาวะสันติสุข ไมวาสังคมในอดุมคตินั้นจะอยูในรูปของคอมมูนิสต, ฟาสซิสต หรือเสรีประชาธิปไตยก็ตาม.

มารกซิสทแนวทรอทสกี้อิสทอยาง อเล็กซ คาลลินิคอส(Alex Callinicos) โจมตีโพสทโมเดิรนวาเปนความคิดทีเ่ต็มไปดวยความไมสม่ําเสมอทางตรรกะและ ลักล่ันขัดแยงกันเอง[2] สวน Jean-Francois Lyotard ผูเขียนหนงัสือเลมสําคัญอยาง The Postmodern Condition ที่นิยาม "หลังสมัยใหม" วาเปนเรื่องของการตั้งคําถามและขอสงสัยอยางไมหยดุยั้งตออภิมหาพรรณนา (postmodern as incredulity toward metanarratives)[3] ก็เปนบุคคลที่คาลลินิคอสเปดโปงวาเปนอดีตสมาชิกกลุมนิยมทรอทสกี้ใน ทศวรรษ ๑๙๕๐ ผูอกหักและผิดหวงัจากลัทธิสตาลิน แลวตกอยู

Page 6: Sirote Postmodern

6

ใตอิทธิพลของปญญาชนปารีแซงในชวงทศวรรษ ๑๙๗๐ มากเกินไป จนเขียนหนังสือเลมนี้เพื่อประกาศความเชื่อวาไมมีทางเลือกเพื่อออกไปจาก ระบบที่เปนอยู

คาลลินิคอสย้ําอยูตลอดเวลาวาโพสทโมเดรินเปนความคดิที่คลุมเครือและไมชัดเจน และแมแตมิเชล ฟูโกตเอง ก็ยอมรับวาไมแนใจเหมือนกนัวา "ภาวะหลังสมัยใหม" หรือ "postmodernity" หมายความถึงอะไรกันแน ความคลุมเครือนี้ไมไดจํากัดอยูเพยีงแคในระดับทฤษฎ ีหากแตยังรวมความไปถึงการดํารงอยูของ "หลังสมัยใหม" ในฐานะที่เปนความเปนจริงทางสังคม ซ่ึงคาลลินิคอสเสนอวาเสนแบงระหวาง "สมัยใหม" กับ "หลังสมัยใหม" เปนสิ่งที่ไมอาจมองเห็นไดอยางชัดเจน และนั่นก็หมายความวาความแตกตางระหวาง "สมัยใหม" กับ "หลังสมยัใหม" อาจจะเปนสิ่งที่ไมมีอยูจริง[4] ไม ใชเร่ืองเหนือความคาดหมายที่นกัลัทธิมารกซอยางคาลลินิคอสจะมีปฏิกริยา ตอ "หลังสมัยใหม" ไปในลักษณะนี้ อยางไรกด็ ีปญหาของการวิจารณแบบนี้ก็คือมันเปนการโจมตีหลังสมัยใหมโดยไมไดนยิาม ใหชัดเจนวากําลังพูดถึงหลังสมัยใหมหรือโพสทโมเดิรนในแงมุมไหนกันแน สุนทรียศาสตร? วิธีการทางทฤษฎี? การแบงยุคสมัยทางสังคม? การเมอืง? ฯลฯ

การโจมตีที่เตม็ไปดวยความคลุมเครือเชนนี้ทําใหมองไมเห็นวาขอบกพรองของหลังสมัยนั้นคืออะไรกันแน ราวกับวาอะไรก็ตามที่มีคําวาโพสทโมเดิรนหรือ "หลังสมัยใหม" หอยทาย ก็เปนอันรับประกันไดเลยวาตองไมดีเปนแน โดยมองไมเห็นพลวัตรและนัยยะที่ความคิดแบบหลังสมัยใหมมีตอนักทฤษฎสัีงคมหลายตอหลายราย ซ่ึงใหความสําคญัตอการตอตานการครอบงําไมนอยไปกวาลัทธิมารกซเอง นอกจากนั้น ในแงภาพรวมแลว คาลลินิคอสใน Against Postmodernism ก็เปนการอธิบายวาลัทธิมารกซพูดถึงอะไร เพื่อยืนยนัถึงความเปนวิทยาศาสตรสากลและความสูงสงอยางไมมีวันเปนอื่นไปไดของลัทธิมารกซ มากกวาจะเปนการพูดถึงเนื้อหาสาระของความเปน "หลังสมัยใหม" เอง จนอาจจะถูกตองกวาถา คาลลินิคอส จะตั้งชื่อรองกับหนังสือเลมนี้วา "In Defense of Marxism" ไปเลย.

แตคําวิจารณของปญญาชนแนวมารกซไมไดเปนแบบนี้เสมอไป คําวิจารณที่แหลมคมและนาสนใจที่สุดที่มาจากภูมิปญญาแบบมารกซนั้นเปนผลงานของ Terry Eagleton ศาสตราจารยดานวรรณคดีนามกระเดื่อง บุคคลที่เพอรร่ี แอนเดอรสัน ยกยองวามีฐานะทางภูมิปญญาเทียบเทากบัเบเนดิค แอนเดอรสัน ในวชิาประวัติศาสตร , เดวิด ฮารเวย ในการศึกษาทางดานพืน้ที่ และจิโอวานนี่ อาริกคี่ ในทางเศรษฐวิทยา[5] โดยเฉพาะ The Illusion of Postmodernism นั้น ถือเปนปฎิกิริยาครั้งสําคัญที่ปญญาชนแนวมารกซิสทฝงอังกฤษ มีตอความคิดแบบ "หลังสมัยใหม" เลยทีเดยีว .[6]

Page 7: Sirote Postmodern

7

อีเกิลตั้นเริ่มตนงานเขียนใน The Illusions of Postmodernism โดยยอมรับความสําคัญของความคิดแบบ "หลังสมัยใหม" ในแงที่เกี่ยวกับปญหาชาติพันธุและสีผิว , การเตือนใหเห็นปญหาของความคิดเรื่องเอกลักษณ / อัตลักษณ และอันตรายของวธีิคิดแบบสวนทั้งหมด (totality) แตขณะเดียวกนั อีเกิลตั้นก็ช้ีใหเห็นวา "หลังสมัยใหม" ที่มีญาณวิทยาแบบสัมพัทธนิยมนัน้ มีขอออนตรงที่มีลักษณะ "สัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม, อนุรักษนยิมทางศีลธรรม, การตั้งขอสงสัยไปกับทุกเร่ือง, ปฏิบัตินิยม และทองถ่ินนิยม ปฏิเสธความคิดเรื่องภราดรภาพและการจัดองคกรที่มีวินัย รวมทั้งการปราศจากทฤษฎวีาดวยการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่มีน้ําหนักพอ" [7]

สําหรับอีเกิลตั้นแลว จุดแข็งของความคิดแบบ "หลังสมัยใหม" วางอยูบนญาณวิทยาทีผิ่ดพลาด นอกจากนั้น "หลังสมัยใหม" ยังเปนวิธีคิดที่ปราศจากการคํานึงถึงนัยยะทางการเมือง และเมื่อถึงขั้นนี้ "หลังสมัยใหม" จึงไมใชอ่ืนใด นอกจากทฤษฎีที่เต็มไปดวยภาพลวงตา.

สําหรับนักลัทธิมารกซจํานวนไมนอย สัมพัทธนิยมทางปรัชญาเปนพื้นฐานของพหนุิยมทางการเมือง แตนอกจากจะมีความใกลเคียงกบัพหุนยิมทางการเมืองแลว อีเกิลตั้นยังชีด้วยวาสัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรมนั้น อาจจะนําไปสูลักษณะ "รวมศนูย" ทางวัฒนธรรม ('cultural absolutism') เพราะเมื่อวัฒนธรรมทุกชนิดทุกรูปแบบลวนเปนสิ่งที่มีคุณคาทัดเทยีมกัน การโจมตีลักษณะ "รวมศูนย" ของวฒันธรรมหนึ่งวฒันธรรมใด กไ็มใชเร่ืองที่จะสามารถกระทําไดอีกตอไป[8]

แตไมวาความเปนสัมพัทธนิยมของ "หลังสมัยใหม" จะทําใหเกิดพหนุิยมทางการเมือง หรือลักษณะ "รวมศูนย" ทางวัฒนธรรมกนัแน ส่ิงที่ไมอาจละเลยไปไดก็คือ สัมพัทธนิยมเปนจุดยนืทางปรัชญาที่อยูตรงขามกับสารัตถะนิยม และฉะนัน้ การโจมตี "หลังสมัยใหม" วาเปนสัมพัทธนิยม จึงจําเปนตองมาจากความเห็นพองตองกันทีน่ักทฤษฎีวรรณกรรมแนว มารกซิสทรายนี้มีตอ "สารัตถะนิยม" ดวย

อยางไรก็ดี ขอท่ีนาประหลาดก็คือ ในการประกาศความผูกพันตอ "สารัตถะนิยม" นัน้ อีเกิลตั้นกลบัไมไดพิสูจนใหเห็นความสมเหตุสมผลและมีอยูจริงของสารัตถะ นิยมไวแมแตนอย นอกเหนือไปจากการพดูไวอยางกวางๆ วา สารัตถะนิยมเปนเรื่องที่มคีวามจําเปนอยูในบางดาน โดยเฉพาะในการอธิบายวาอะไรคือความตองการที่เปนแกนสารอยางแทจริงของ ความเปนมนุษย ซ่ึงนั่นก็เทากับวาอีเกิลตั้นไดยกระดับสารัตถะนิยมใหเปนเรื่องทาง อภิปรัชญาที่อยูเหนอืการถกเถียงใดๆ ไปโดยปริยาย.

อีเกิลตั้นตอกย้าํความสําคัญของสารัตถะนิยมดวยเหตผุลแบบประโยชนนิยม แทนที่จะเปน "เหตุผลนิยม" แบบทีน่ักสังคมนิยมที่เปนวิทยาศาสตรควรจะเปน และนอกจากจะปกปองปรัชญาแบบ "สารัตถะนิยม" ดวยเหตุผลแบบ "ประโยชนนิยม" แลว อีเกิลตั้นยังอธิบาย "สารัตถะนยิม" ใน

Page 8: Sirote Postmodern

8

ลักษณะที่เต็มไปดวยความคลุมเครือ และโนมเอียงไปในทาง "สัมพัทธนิยม" ดวย ดังที่เขากลาววา "ความเชื่อในสารัตถะนิยมไมจําเปนวาจะตองหมายถึงการเห็นดีเห็นงามไปกับความคิดที่ยากจะยอมรับได นั่นก็คือความคิดที่วาทุกสิ่งทุกอยางตองอยูภายใตสารัตถะนั้นๆ" [9]

สําหรับอีเกิลตั้นแลว สารัตถะที่เปนธาตุแทของทุกสรรพสิ่งจึงเปนสิ่งที่มีอยู แตการมอียูของสารัตถะนั้นกไ็มไดเปนไปอยางสัมบูรณแตอยางใด.

ลําพังคําอธิบายเชนนีก้็คลุมเครือและเต็มไปดวยความกํากวมมากพออยูแลว และตวัอยางที่อีเกิลตัน้หยิบยกขึ้นมากลาวอางนั้นกท็ําใหทุกอยางคลุมเครือและกํากวมยิ่งขึ้นไปอีก เชนในการพูดถึงปญหาสตรีนั้น เขากลาววาเพราะผูหญิงมี "มนุษยภาพ" บางอยางรวมกัน ผูหญิงจึงไมควรจะถูกกดขี่ ซ่ึงเปนการตกหลุมพรางที่นักสทิธิสตรีเมื่อหนึ่งหรอืสองทศวรรษที่แลวเคยตกลงไป นั่นก็คือการมองวาผูหญิงทุกคนเปนอันหนึ่งอันเดียวและเปนกลุมกอนเดียวกัน โดยไมตระหนกัถึงความหลากหลายของการกดขี่ผูหญิงในรูปตางๆ ซ่ึงสัมพันธกับศาสนา, อาย,ุ สีผิว, พื้นที่ ฯลฯ จนยากจะหาสารัตถะที่ผูหญิงทุกคนมอียูรวมกนัได และประเด็นกค็ือไมวาผูหญิงในฐานะกลุมจะม ี"มนุษยภาพ" รวมกนัหรือไม ผูหญิงก็ไมควรจะถูกกดขี่อยูดี.

อีเกิลตั้นไมเหน็ดวยกับการที่โพสทโมเดิรนหรือ "หลังสมัยใหม" ตอตาน "อภิมหาพรรณนา" (metanarratives) และความคิดแบบ "สวนทั้งหมด" ("totalities") ดังที่เขากลาววา "สําหรับนักสังคมนิยมแลว มีอภิมหาพรรณนาดํารงอยูอยางแนนอน และสวนใหญก็คือความเหน็อกเหน็ใจตอผูที่ตกทุกขไดยาก ส่ิงที่นักสังคมนยิมรับไมไดตอประวัติศาสตรในทุกวันนีก้ค็ือมันแสดงให เห็นอยางสม่ําเสมอและเดนชัด วาจะปฏิเสธการมีอยูในระดบัความเปนจริงของการกดขี่ขูดรีดและความ ทุกข"[10]

สําหรับอีเกิลตั้นแลว ญาณวทิยาแบบสัมพทัธนิยมทําใหทฤษฎี "หลังสมัยใหม" ไมเหน็ "อภิมหาพรรณนา" ขอนี้ ผลที่ตามมาก็คือ "หลังสมัยใหม" ตอตานระบบที่เปนอยูเฉพาะแตในอาณาบริเวณของความเปนการเมือง แตเปนพันธมิตรทีย่อมรับกันไดในทางเศรษฐกิจ (politically oppositional but economically complicit) และนอกจากนั้น "หลังสมัยใหม" ยังโนมเอียงที่จะพูดถึงมนุษยในระดับ "เอกบุคคล" มากกวา "สวนรวม" ซ่ึงในทางการเมืองยอมนําไปสูการเรียกรอง-ยอมรับ-เพิกเฉย ตอรัฐที่ทําการกดบังคับสวนรวมลงไป.

อีเกิลตั้นโจมต ี"หลังสมัยใหม" ในแงทีไ่มไดคิดถึงนัยยะทางการเมืองของทฤษฎี เขายอมรับวาการบรรจบกันของปจจัยและพลังอันหลากหลายทางวัฒนธรรม, เศรษฐกิจ และการเมือง เปนสิ่งที่มีความสําคัญตอการเฟองฟูขึน้ของ "หลังสมัยใหม" แตส่ิงที่เกิดขึ้นทามกลางการบรรจบกันของปจจัยเหลานี้ก็คือทรรศนะคติที ่วาลัทธิมารกซแบบราดิกาล หรือ "ถึงรากถึงโคน" เปนเรื่องที่ลมเหลวไป

Page 9: Sirote Postmodern

9

แลว และเพราะฉะนัน้ จึงเปนไปไมไดที่จะสรางการกระทําทางการเมอืงที่ทรงความหมายไดอีกตอไป.

ทรรศนะคติเชนนี้ทําให "หลังสมัยใหม" ประกาศวาการตอสูกับอะไรกต็ามที่เปน "สวนทั้งหมด" นั้น แทจริงแลวเปนเพียง "ภาพลวงตา" ผลที่ตามมาก็คือฝายราดิกาลหนัไปหาปรัชญาปฏิบัตินิยมแนวเขมขน (hard-boiled pragmatism) โดยเฉพาะในหมูฝายซายที่เจ็บปวดจากความลมเหลวที่หลอกหลอนมาจากอดีต และประกาศความพายแพ ทั้งที่ยงัไมเคยมีความพายแพจริงๆ บังเกิดขึ้นมา. พูดงายๆ ก็คือ สําหรับอีเกิลตั้น "หลังสมัยใหม" ไมใชอ่ืนใด นอกจากเปนเรื่องของความลมเหลวในแงขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมือง

ฐานในการศึกษาของอีเกิลตัน้มาจากวรรณกรรม, วัฒนธรรม และสุนทรียศาสตร ซ่ึงเปนเรื่องนักลัทธิมารกซจํานวนมากถือวาไมมีความสําคัญ อยางนอยกไ็มสําคัญเทากับการพูดถึงการตอสูทางชนช้ัน, การเมืองของการปลดปลอย, ความอับจนของจิตนยิมทางปรัชญา, การขูดรีดมูลคาสวนเกนิ ฯลฯ และเพราะเหตนุี ้จึงไมนาแปลกใจที่งานของอีเกิลตัน้จะไดรับการขานรับจากโลกทางภูมิปญญาแบบลัทธิมารกซ "แทๆ" นอยกวางานของคาลลานิคอสมากมายนัก ถึงแมวาการโจมตี "หลังสมัยใหม" ของอีเกิลตั้นจะแหลมคมกวาการปกปองลัทธิมารกซของคาลลานิคอสมากก็ตาม

ในขณะที่คาลลินิคอสโจมตีวา "หลังสมัยใหม" ไมตางไปจากคนที่นั่งดีดพณิ ในเวลาที่กรุงโรมกําลังถูกเผาไหม สวนโลกนั้นกเ็รียกรองใหเกิดการปฏิวัติ[11] โดยแทบไมไดพูดถึงประเดน็หลักๆ ของหลังสมัยใหมเลย งานเขียนของอีเกิลตั้นใน The Illusions of Postmodernism กลับสาธกใหเห็นประเด็นสําคัญๆ ของพวก "หลังสมัยใหม" และชี้ใหเหน็ขอบกพรองในระดับญาณวิทยาโดยตรง.

อยางไรก็ดี ส่ิงที่นักทฤษฎีการเมืองแนวลัทธิมารกซและนักทฤษฎีวรรณกรรมแนวมารกเซียนคูนี ้มีเหมือนๆ กันกค็ือการยกยองลัทธิมารกซอยางสูงในแงของการปฏิบัติเพื่อเปลี่ยนแปลง สําหรับนักลัทธิมารกซแลว ดูเหมือนวาบทเสนอวาดวยฟอยเออรบาคของมารกซจะกลายเปนสิง่ที่ทรงคุณคามากกวา - หรืออยางนอยก็ไมยิ่งหยอนไปกวา - วภิาษวิธีทางปรัชญาของคารล มารกซ เอง

เมื่อเปนเชนนี้ จึงไมนาแปลกใจที่แมจะคนพบวาลัทธิมารกซมีดานที่เปนอคติแบบปตาธิปไตยหรือผูชายเปนใหญ (patriarchal bias) และลมเหลวในการทําความเขาใจเพื่อ "ปลดปลอย" ประเด็นสิทธิสตรี อีเกิลตั้นก็ยังยนืยนัตอไปวาอคติแบบนี้เปนผลมาจากการที่ลัทธิมารกซนั้นเปน "เร่ืองเลาที่มีขีดจํากัด" หรือ "restricted theory" ที่ไมไดมุงหมายจะเปน "ทฤษฎีสําหรับทุกเรื่อง" หรือ "Theory for Everything" ซ่ึงเปนคําแกตัวที่เต็มไปดวยการใชภาษาแบบ "หลังสมัยใหม" , ใชวธีิการแบบ counter-factual และใชวิธีคิดแบบ "สัมพัทธนิยม" มากกวาจะเปนการตอบคําถามนี้ดวยวิธีคิดแบบสารัตถะนิยม อันเปนสิ่งที่อีเกิลตั้นพยายามปกปองมาโดยตลอด.

Page 10: Sirote Postmodern

10

ปญหาของลัทธิมารกซ ไมวาวิธีคิดแบบมารกซจะเปนเพียงวิธีคิดเดียวที่ใหความสําคัญตอปฏิบัติการเพื่อเปลี่ยนแปลงโลกจริงหรือไม และไมวาวิภาษวิธีแบบมารกซจะเปนวิธีการตั้งคําถามตอโลกอยางรุนแรงและถึงรากถึงโคนที่สุดจริงหรือเปลา ปญญาชนที่มีบทบาทในชวงหลังทศวรรษ ๑๙๘๐ อยาง Stanley Fish, Edward W.Said, Cornel West, Slavoj Zizek และ Gayatri Spivak ก็ไมไดอยูใตอิทธิพลของวิธีคิดแบบมารกซอีกตอไป แตก็ไมไดหมายความวาคนกลุมนีจ้ะมีลักษณะวพิากษวิจารณนอยลง.

ตัวอยางเชน Gayatri Chakravotry Spivak ก็เปนผูที่มีช่ือเสียงอยางมากจากการถายทอดงานชิ้นสําคัญของแดริดาอยาง Of Grammatology มาสูโลกภาษาอังกฤษในทศวรรษ ๑๙๗๐ และไดผสมผสานความคิดแบบเฟมนิิสท, มารกซิสท และวิธีการศึกษาแบบ subaltern studies เขาดวยกนั สปวาคเคยตั้งคําถามแบบรื้อถอนความคิด "สารัตถะนิยม" เอาไว กอนจะหันมาพูดถึงการมีความเขาใจตอ "สารตัถะนิยม" แบบรื้อถอน เพื่อปกปองไวซ่ึงการมีสารัตถะนิยมในแงที่เปน "ยุทธศาสตร" อันเปนวิธีคิดที่แพรหลายเปนอยางมากในหมูคนที่พยายามเชื่อมจุดยนืแบบ ตอตานสารัตถะนิยมเขาดวยกันกับการเมือง โดยเฉพาะการเมืองเรื่องอัตลักษณ [12]

ปญญา ชนกลุมนี้เติบโตและไดรับอิทธิพลจากการถกเถียงแบบมารกซิสมในดานใดดาน หนึ่งอยูไมมากก็นอย แตก็ไมใช "มารกซิสท" ตามความหมายแบบเดิมๆ อีกตอไป คนเหลานี้เติบโตและใหความสําคัญอยางสูงตอการวิพากษวจิารณเร่ืองตางๆ ภายใตบรรยากาศทางภูมิปญญาแบบซายๆ กอนจะหันไปหาระเบยีบวิธีใหมๆ ซ่ึงมีความหมายอยางสูงในการศึกษาทางทฤษฎี ไมวาจะเปนจติวิเคราะหแบบลากัง, New Criticism, Subaltern Studies, ปฏิบัตินิยม ซ่ึงทั้งหมดนี้ลวนเปนระเบยีบวิธีที่มีญาณวิทยา และวิธีการในการศึกษาทีใ่หญโตกวางขวางเกนิกวาภมูิปญญาลัทธิมารกซใน อดีตจะคาดคิดได แตนั่นก็ไมไดทําใหคนกลุมนี้จะใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงนอยลงไป แตอยางใด.

ความเรียงขนาดยาวของซิเซคที่พูดถึงชีวิตทางการเมืองของวัคลาฟ ฮาเวล เปนตวัอยางที่ดีของสิ่งที่กลาวมานี้ เพราะในความเรียงชิ้นนี ้ซิเซคแสดงถึงความเปน "ซาย" ในแงของการวิพากษวจิารณ มากกวาที่พวกซายแบบ "มารกซิสต" ไดกระทําเอาไวเสียอีก โดยเฉพาะในการประณามการสนับสนุนทั้งโดยทางตรงและทางออมที่พวก "ซาย" มีตอบทบาทของกองกําลังนาโตในคาบสมุทรบอลขาน ที่อางวาทําไปเพื่อ "ตอตาน" การฆาลางเผาพันธุ โดยมองไมเห็นวาทั้งหมดนี้เปนเรื่องของกระบวนการสรางความเปน "เหยื่อ" เพื่อประโยชนของระบบทุนนยิมโลกในระดับสากล และแมวาซิเซคจะเห็นดวยกับความคิดเรื่องเสรีภาพ แตก็โจมตีชาว "หลังมารกซ" อยางฮาเบอรมาสเอาไวเชนกันวา ออกจะ "ละเมอ" เกินไป เมื่อพูดถึงเปาหมายของการบรรลุซ่ึงชีวิตที่ปราศจากความแปลก

Page 11: Sirote Postmodern

11

แยก ในขณะทีซิ่เซคเห็นวาความแปลกแยกและการแบงแยกในระดับสังคม เปนราคาที่มนุษยตองจายเพื่อใหไดเสรีภาพมา[13]

เมื่อถึงตอนนี้ ไมวาลัทธิมารกซจะเปนทฤษฎีที่ปฏิวัติหรือไม แตการยกยองลัทธิมารกซโดยชาวมารกซิสตทุกวันนีว้าเปนปรัชญาของการเปลี่ยนแปลง ก็เปนเรื่องที่คนกลุมนี้คิดไปเอง เพราะการปฏิวัติในทกุวนันี้จํากดัอยูทีก่ารสะกดคําวา "ป-ฏิ-วั-ติ" มากกวาจะเปนเรื่องของการเคลื่อนไหวเพือ่เปลี่ยนแปลงสงัคมจริงๆ

การปฏิวัติแบบมารกซนั้นรวมศูนยอยูที่ชนชั้นและสังคม แตการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในโลกในชวงหลังทศวรรษ ๑๙๙๐ เปนตนมา เปนการเปลี่ยนแปลงในระดับประชาชาติเพือ่ปรับปรุง / สรางรัฐ มากกวาจะเปนการปฏิวัติตามที่พวกมารกซิสตเขาใจ ไมวาจะเปนความลมสลายของระบบทรราชยในอินโดนีเซีย, การพังทลายของลัทธิเหยียดสีผิวในอัฟริกาใต, การถอยทัพกลับเขากรมกองของทหารในเกาหลีใต, ชัยชนะของฝายเรยีกรองเอกราชในติมอรตะวนัออก, การปดฉากของระบบคณาธิปไตยในเวเนซุเอลา และความสั่นคลอนอยางไมเคยมีมากอนของรัฐศาสนาในอิหราน.

ภายใตสถานการณอยางนี ้ความเหน็ของปญญาชนแนวมารกเซียนอาวุโสอยางเพอรร่ี แอนเดอรสัน จึงเปนเรื่องทีน่าสนใจ แอนเดอรสันเสนอวา เพื่อที่จะตอบใหไดวาทําอยางไรที่จะฟนชีพพลังอยางที่เคยมีในศตวรรษที่แลวขึ้นมาไดอีกครั้ง ส่ิงที่ฝายซายตองกระทําก็คือการยอมรับความพายแพอยางหมดรูปในทางประวัติศาสตรของฝายซายเอง [14]

แนนอนวาความพายแพในทางประวัติศาสตรไมไดหมายความถึงความพายแพใน ปจจุบันและอนาคต และส่ิงที่แอนเดอรสันยืนยันอยูตลอดเวลาก็คือเปนไปไดที่ฝายซายจะคืน ชีพมาอีกครั้ง แตทั้งหมดนี้ตองเริ่มตนดวยการตระหนกัถึงความเปนจริงอยางตรงไปตรงมา โดยไมยอมจํานนกบัภาพลวงตาที่วาสังคมกําลังเคลื่อนไปสูทิศทางที่ดีขึ้น รวมทั้งปฏิเสธมายาคติแบบที่เรียกรองใหยอมรับสภาพอันเลวรายในทกุวนันี ้เพื่อปกปองระบบจากพลังแบบปฏิกริยา.

พูดงายๆ ก็คือแอนเดอรสันเห็นวาในการฟนฟูฝายซายในฐานะที่เปนขบวนการทางการเมืองขึ้นมานั้น ส่ิงที่สําคัญมากก็คือการปฏิเสธความเชื่อมั่นในความเปลี่ยนแปลงยอยๆ ที่บอกวาจะทําใหระบบออนแอ และบอกปดความพงึพอใจในทุกรปูแบบกับระบบที่เปนอยู[15] สวนวิธีคิดในแนว "หลังสมัยใหม" นั้น ก็เปนสิ่งที่แอนเดอรสันตั้งขอสังเกตไวอยางนาสนใจวาเริม่มีลักษณะถึงรากถึงโคนยิ่งขึ้น แตก็เปนการถึงรากถึงโคนในแงของความนาตื่นตาตื่นใจทางทฤษฎี มากกวาจะเนนไปที่ผลซ่ึงเกิดขึ้นกับสังคม[16] หรือพูดงายๆ ก็คอืเปนการถึงรากถึงโคนที่วางอยูบนความผดิหวังจากการปฏิวัติ แลวหนัไปเชิดชูบูชาความพึงพอใจสวนบุคคล ที่ไปกันไดกับวฒันธรรมการบริโภคลนเกินในทศวรรษ ๑๙๘๐ นี่เอง

Page 12: Sirote Postmodern

12

ขอเรียกรองของแอนเดอรสันแตกตางจากปฏิกิริยาของนกัลัทธิมารกซมาตรฐาน เพราะสิ่งที่เกิดขึน้ในหมูนักลัทธิมารกซมาตรฐาน ก็คือการอธิบายวาความพายแพเปนผลผลิตของระบบทรราชยในยุคสตาลิน. อยางไรก็ดี ปญหาของการโยนความผิดทุกอยางไปที่สตาลินก็คือ มันโนมเอียงที่จะทําใหลัทธิมารกซและการปฏิวตัิสังคมกลายเปนความฝนที ่ไมเคยบังเกิดขึน้จริง หรือเกดิขึ้นแคในชวงส้ันๆ ระหวางการปฏิวัติบอลเชวิคในป ค.ศ.๑๙๑๗ จนถึงอสัญกรรมของเลนินในเดอืนมกราคม ค.ศ.๑๙๒๔ ซ่ึงเปนชวงเวลาที่ส้ันเหลือเกนิเมือ่เทียบกับความเปลี่ยนแปลงตางๆ ในศตวรรษที่ผานมา.

นัยยะที่ไมไดตั้งใจของคําอธิบายแบบนี้คอืการบอกอยูกลายๆ วาระบบทุนนิยมมีความมั่นคงสถาพร สวนการปฏิวตัิสังคมนิยมนัน้เปนแค "กรณียกเวน" ที่ไมสามารถจะใชอางอิงอะไรได ซ่ึงเปนผลลัพธที่แตกตางอยางมหาศาลจากเปาหมายที่นักลัทธมิารกซวาไว นั่นก็คือการโจมตีสตาลินเพื่อ "ชําระ" ลัทธิมารกซใหสะอาดตอไป ไมในระดับการจดัการทางเศรษฐกจิการเมือง ก็ในระดับของปรัชญาและทฤษฎีทางสังคม.

เพื่อปกปองลัทธิมารกซเอาไว การโจมตีสตาลินจึงเปนเรื่องที่ตองกระทําตอไป สวนเจตนารมณอันยิ่งใหญของเลนินก็เปนเรื่องที่ตองรักษาไวใหได อยางนอยก็เพื่อเปนแรงบนัดาลใจสาํหรับการปฏิวัติที่อาจจะมีขึ้นในอนาคต.

แตทาทีที่ปญญาชนฝายซายมีตอเลนินนั้นก็เปนสิ่งที่มีความกํากวมมาโดย ตลอด ทฤษฎีองคการและพรรคแบบเลนินนั้นเปนสิ่งที่ปญญาชนจํานวนมากยากจะยอมรับได เพราะเหน็ไดชัดวาพรรคแบบเลนินนัน้มีศักยภาพจะกลายพันธุเปนชนชั้นนําใน ระบบสังคมนิยม แตแมกระทั่งนักลัทธิมารกซที่เปยมไปดวยวัฒนธรรมแหงการวพิากษ วิจารณอยางสํานักแฟรงคเฟรต ก็ยังเห็นเหมือนกับเลนนิวาจิตสํานกึของชนชั้นกรรมาชีพนั้นเกิดขึ้นเองโดย ธรรมชาติไดยาก และแมวาปศาจวิทยาของการตอตานชนชั้นนําจะทําใหปญญาชนไมสนับสนุนทฤษฎี องคกรโดยเปดเผย แตความสงสัยในเรื่องจิตสํานึกแบบเปนไปเอง ก็ทําใหพรรคแบบกองหนากลายเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมไดไปโดยปริยาย [17]

ความเคลือบแคลงใจในจติสํานึกของคนชัน้ลางและความปรารถนาจะมีกองหนาในการตอตานระบบทุนนยิมดังนี ้สอดคลองกับขอสังเกตของ ซลาโว ซิเซค ที่วา กระทั่งในชวงที่ระบอบสังคมนิยมในยุโรปกลางและยุโรปตะวนัออกใกลลมสลาย ฝายซายในยุโรปตะวนัตกก็ยงัคงเลือกที่จะปกปองพรรคคอมมูนิสต มากกวาจะตอสูเคียงบาเคียงไหลกับฝายประชาสังคม โดยที่ฝายซายบางรายถึงกับคัดคานการเลือกตั้งโดยเสรี เพราะเกรงวาประชาชนจะหันไปลงคะแนนใหฝายที่สนับสนุนทุนนิยม. [18]

Page 13: Sirote Postmodern

13

แต ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมอืงที่ตามมาจากการลมสลายของสังคมนิยม เปนเหตใุหความสําคัญในทางประวัตศิาสตรของเลนินและการปฏวิัติก็ถูกตั้งขอ กังขาไปดวย ในสายตาพลเมืองชาวยโุรปกลางและยุโรปตะวนัออกนั้น เลนินและการปฏิวัติเปนสัญลักษณทางการเมืองที่ไมสามารถแยกออกจากพรรค คอมมูนิสต, ตํารวจลับ, การคอรัปชั่น, ลัทธิชาตินิยมจดั, รัฐรวมศูนย และโปลิตบูโร ไมวาทั้งหมดนี้จะเปนความจริง หรือเปนสิ่งที่ถูกสรางและตอกย้ําใหรุนแรงจนเกินจริงโดยโลกตะวนัตกกต็าม.

ดวยเหตดุังนี้ ปรากฏการณที่เกิดขึ้นอยางแพรหลายในยโุรปกลางและยุโรปตะวนัออก ก็คือการที่ "ปญญาชนสาธารณะ" ออกมาใหความเหน็วา นอกเหนอืจากจะตองคดัคานคอมมูนสิตแลว ยุโรปกลางและยุโรปตะวนัออกยงัตองสรางขบวนการ "ตอตานคอมมูนิสตใหม" ดวย (from anticommunism to anti-postcommunism)[19]

เมื่อเปนเชนนี้ จงึไมนาแปลกใจที่อนุสาวรียและสัญลักษณตางๆ ที่จะชวนใหระลึกถึงเลนินและ "การปฏิวัติ" จะถูกรื้อทําลายหรือโยกยายออกไปใหพนหพูนตา สวน คารล มารกซ นั้น แมจะไดรับการยกยองอยูบาง แตก็เปนในฐานะนักปรชัญา ไมใชนักปฏิวัติ.

ยุโรปตะวนัตกไมมีประสบการณจากคืนวนัอันโหดรายภายใตระบอบ "ปฏิวัติ" แตใบหนาของเลนนิก็ชวนใหหวนคิดถึงจักรวรรดิโซเวียตอนัยิง่ใหญอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได และฉะนั้น ส่ิงที่เกิดขึ้นในหมูฝายซายในโลกตะวันตก ก็คือการหันหลังให เลนิน-ทรอทสกี้ แลวบายหนาไปหา โรซา ลุกเซมเบิรก ซ่ึงแสดงจุดยืนคัดคานและวิพากษวิจารณทฤษฎอีงคกรและพรรคของเลนินเอาไวตั้งแต ค.ศ.๑๙๐๔. โดยโจมตีวาพรรคเปนอุปสรรคตอความเปนอิสระและประสบการณตรงของชนชั้นกรรมกร แลวเสนอวาการสไตรคและลุกขึ้นสูอยางเปนไปเองของกรรมกรตางหากทีเ่ปนพลังไปสูการปฏิวัต ิ"สังคมนิยม" ที่แทจริง.

อยางไรก็ดี ลุกเซมเบิรกเปนปญญาชนที่ซ่ือสัตยตอการปฏิวัติไมนอยไปกวาเลนินและทรอทสกี้ และการคัดคานทฤษฎีองคกรของเลนินก็ไมไดทําใหลุกเซมเบิรกเปนฝายขวา หรือกระทั่งเหน็ดวยกับลัทธิรัฐสภาแบบเคาทสกี ้และการ "ปฏิรูป" แตอยางใด [20] การเชิดชูลุกเซมเบิรกจึงเปนเสมือนฟางเสนสุดทายที่ฝายซายในยุโรปตะวนัตกจะทําได เพื่อจะให "ประชาชน" ในตลาดการเลือกตั้งแบบเสรีนิยมยอมรับได ขณะเดียวกันก็สามารถสืบทอดความคิดในการปฏิวัติเอาไว.

ประวัติศาสตร ขั้นตอนนี้ส้ันเกินกวาจะระบไุดวากระบวนการทั้งหมดจะเดินไปสูเสนทางไหน ถึงแมจะพอเหน็วาวาพลเมืองยุโรปขานรับการปรับตัวเชนนี้อยางเบาบาง จนดูเหมือนวาแมลุกเซมเบิรกจะตายดวยน้ํามือของเยอรมันฝายขวาในสภาพที ่โหดราย ไมตางไปจากทรอทสกี้ผูซ่ึงตาย

Page 14: Sirote Postmodern

14

ดวยการลอบสังหารของสตาลินและ "ฝายซาย" แตลุกเซมเบิรกก็ยังเปนสัญลักษณของส่ิงที่นาสะพรึงกลัวอยาง "การปฏิวัต"ิ และ "คอมมนูิสต" ไมนอยไปกวาเลนินอยูดี.

ถาถือวาส่ิงที่อีเกิลตั้นพยายามทําใน The Illusions of Postmodernism คือการปกปอง "อภิมหาพรรณนา" วาดวยการกดขี่ขดูรีดและความทุกขยากของชนชั้นผูยากไร ขณะทีแ่อนเดอรสันใน Renewal เรียกรองใหยนืหยดัในการเปลี่ยนแปลง และคาลลานิคอสใน Against Postmodernism ตองการจะปกปองความสําคัญของการปฏิวัติเอาไวตอไป ปรากฏการณที่เกดิขึ้นในยุโรปกลาง, ยุโรปตะวนัออก และยุโรปตะวนัตก ก็คือการที่ฝายซายพยายามรักษาหลักการบางอยางที่เกี่ยวของกับการปฏิวัติเอาไว โดยหันไปเชิดชูความสําคัญของนักปฏิวัติรายอ่ืนๆ ที่ดูจะรุนแรงและเปน "บอลเชวิค" นอยกวาเลนิน.

ดูเหมือนวาโลกยุคหลังสงครามเย็นและการเฟองฟูของความคิดเรื่อง "ทางสายที่ ๓" ไดฝงทฤษฎีองคกรและพรรคของเลนินลงไปอยางยากจะฟนขึ้นมาได และกลาวใหถึงที่สุดแลว ประวัติศาสตรไดเดนิมาถึงขั้นตอนที่เลนินเปนแค "สัญลักษณ" ของจิตใจที่แนวแนและยิ่งใหญเพื่อจะเปลี่ยนแปลงโลก ในโลกซึ่งไมตองการ "ฝายซาย" ในฐานะขบวนการทางการเมืองอีกตอไป.

ความพายแพในทางการเมืองและอุดมการณของฝายซาย เปนเหตใุหปญญาชนฝายซายตองยืนยันการมีอยูจริงของความยากไรและ อภิมหาพรรณนาวาดวยความทุกขยากของผูคนไวตอไป ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะตอกย้าํถึงความจําเปนในการปฏิวตัิสังคมเอาไว ถึงแมวาทั้งหมดนี้จะกลายเปนเรื่องที่ตองทําอยางละมุนละมอมและออมคอม กวาเดมิมากก็ตาม.

อยางไรก็ดี นี่ไมไดหมายความวาปญญาชนกลุมอ่ืนๆ จะตองมีปฏิกิริยาตอความเปลี่ยนแปลงใหมๆ ไปในทิศทางเดียวกันนี้ Richard Rorty นักปรัชญาแนวปฏิบัตินิยมใหมที่มีอิทธิพลอยางสูงตอความคิดแบบโพสทโมเดิรน หรือ "หลังสมัยใหม" เปนหนึ่งในคนที่แสดงปฏิกิริยาตอความเปลี่ยนแปลงทีว่านี้ไว เพียงแตวาปฏิกิริยาของรอตี้นั้น สวนทางและกลับตาลปตรกับระบอบการคิดของปญญาชนฝายซายอยางฉกรรจ.

พูดไมไดวารอตี้เปนตัวแทนของวิธีคิดแบบหลังสมัยใหม เพราะความคิดของรอตี้บางขอก็ขัดแยงกบันักคิดแนวหลังสมัยใหมบางราย [21] แตกพ็ูดไมไดอีกเชนกันวารอตี้ไมไดเปนสวนหนึ่งของความคิดที่ถูก เรียกกันอยางเหมารวมและกวางๆ วา "หลังสมัยใหม" เพราะคําถามที่รอตี้สงสัย และคําตอบที่รอตี้เสนอ มีลักษณะรวมๆ มากมายกับใครตอใครที่ถูกจัดประเภทใหอยูในกระแสความคดินี้ ดังจะไดเหน็ตอไป

Page 15: Sirote Postmodern

15

โพสทโมเดิรนและรอตี ้ รอตี้เร่ิมตนบทความเรื่อง 'The End of Leninism , Havel and Social Hope' โดยอางคําพดูของกรัมเชี่ยนอยาง Ernest Laclau ที่วา "วัฎจกัรของเหตุการณซ่ึงเปดฉากดวยการปฏิวัติรัสเซีย ไดปดตวัลงไปแลวอยางสมบูรณ ไมวาจะในฐานะที่เปนพลังของแสงสวางแหงจินตนาการรวมหมูเร่ืองฝายซายสากล หรือศักยภาพของมนัในการที่จะครอบงําพลังทางการเมืองและสังคมในระบบซึง่ถือวาลัทธิเลนินเปนนโยบายรัฐ ซากศพของลัทธิเลนินที่ปรากฏนั้น เปนเหมือนการฉีกกระชากหนากากของผูที่อยูในอํานาจ เผยใหเห็นความนาสมเพชเวทนาและความจริงอันนาสลดหดหู"[22]

อยางไรก็ดี ในขณะที่ลาคลาวเหน็วาสถานการณเชนนี้เปนเงื่อนไขที่ดใีนทางการเมืองสําหรับการทําประชาธิปไตยใหมีลักษณะถึงรากถึงโคน (a radicalization of democracy) โดยยอมรับสวนยอยๆ รวมทั้งขอเรียกรองตองการของกลุมเฉพาะตางๆ ใหมากขึ้น[23] แลวขยายความคิดเรือ่ง "สากล" หรือ "universal" ใหกวางขวางและตอยอดขึ้นมาจากขอเรียกรองเฉพาะสวน และการเมืองแบบเฉพาะเรื่องเฉพาะประเด็น (issue-oriented politics) ที่เตบิโตอยางแพรหลายและกระจัดกระจายในทศวรรษที่ผานมา[24] รอตี้กลับเห็นวาถึงเวลาแลวทีจ่ะโยนศัพทแสงและไวยากรณทางการเมืองอยาง "ทุนนยิม" และ "สังคมนิยม" ทิ้งไป. [25]

รอ ตี้เห็นวาความลมสลายของสหภาพโซเวยีตและฝายซายสากล ทําใหการสรางสังคมประชาธิปไตยตามแนวทางของ Social Democracy กลายเปนเรื่องทีห่ลีกเลี่ยงไมได และฉะนัน้ ภายใตภาวะแบบนี้ ศัพทแสงอยาง "ทุนนยิม", "สังคมนิยม" และ "การตอสูเพื่อตอตานทุนนยิม" ยอมไมใชเร่ืองที่มีความจําเปนอีกตอไปรอตี้เสนอใหแทนที่ไวยากรณทาง การเมืองชุดนี้ดวยคําพดูแบบพื้นๆ ที่มลัีกษณะยดึติดทฤษฎีนอยลง อยางเชน "การตอสูกับความเจ็บปวดที่มนุษยชาติสามารถหลีกเลี่ยงได" , "ความเห็นแกตวั", "ความละโมบ", "คาจางที่ไมพอกิน" ฯลฯ เพราะคําอยาง "ทุนนิยม" และ "สังคมนิยม" นั้น เปนผลผลิตของลัทธิโรแมนติคในหมูฝายซาย ที่เชื่อวามีความเปนไปไดในการขจัดความทกุขยากลําบากออกไปจากสังคมมนุษย ไดอยางสิ้นเชิง ซ่ึงเปนเรื่องที่ประวัติศาสตรในป ค.ศ.๑๙๘๙ ก็ไดบอกแลววาเปนความเพอฝนซึ่งไมมีวันเปนไปได ไมตางอะไรจากความฝนของกระฎมพีทีจ่ะสรางรัฐสวสัดิการและชวีติที่เทา เทียมในหมูพลเมืองขึ้นมา.

รอตี้เรียกรองใหปญญาชนหยุดใชคําอยาง "ระบบทุนนยิม" , "อุดมการณของชนชั้นกระฎมพี" และ "ชนชั้นกรรมาชีพ" เพราะคําเหลานี้สัมพันธกับการอวดอางวาของปญญาชนวาตนเองนั้นหยั่งรู วาอะไรคือส่ิงที่ดีกวาระบบตลาด และอะไรคอืสังคม "ทางเลือก" ที่มีความสามารถเทาทันความสลับซับซอนทางเทคโนโลย ีรอตี้ปกปองความสําคัญตลาดโดยอางคาํกลาวของฮาเบอรมาสที่วา "สังคมที่สลับซับซอนนั้นไมสามารถผลิตซ้ําตัวเองได ตราบจนกวาจะอยูใตตรรกะของการจัดการตัวเองของเศรษฐกิจตลาดไปอยางสมบูรณ" [26] แลวโจมตีวาศัพทแสงประเภทที่กลาวมาลวนเปน

Page 16: Sirote Postmodern

16

ผลผลิตของคําอวดอางที่เปน เท็จ เพราะเศรษฐกิจแบบตลาดไมใชตนตอของความชั่วรายทุกชนดิ สวนระบบทุนนิยมในฐานะการจัดการทางอุตสาหกรรมการเงิน ก็ไมไดเปนตนตอของความทุกขยากลําบากทกุอยางของมนุษยชาติเสมอไป และสําหรับ "ทางเลือก" ที่ไวยาการณเหลานี้พูดถึง ก็เปนสิ่งซ่ึงไมมีใครรูจัก อยางนอยกใ็นขณะนี้.

รอ ตี้อธิบายวาความหลงใหลในสิ่งที่ไฮเดกเกอรเรียกวา "อภิปรัชญาแบบตะวนัตก" คือตนตอของไวยากรณทางการเมืองเหลานี้ อภิปรัชญาแบบตะวนัตกเปนสิ่งที่สืบทอดกันมาตั้งแตเพลโตสูเฮเกล จากเฮเกลสูมารกซ และจากมารกซสูสเตราส โดยมีสาระสําคัญอยูที่การเชื่อมโยงความโรแมนติคทางการเมือ งกับชีวิตที่สมบูรณทางปญญา

การเมืองแบบโรแมนติคเปนการเมืองที่ปญญาชนมีบทบาทและ"ปติ" กบัจินตนาการรวมหมูในการปลดปลอยมนษุยไดอยางเตม็ที่ และในทางกลับกัน เมื่อความหวังในการปลดปลอยหมดลง และการขจัดความทกุขยากกไ็มใชเร่ืองที่มีความหมายอีกตอไป ความปติกย็อมกลายเปนอดตีที่จะถูกแทนที่ดวยความเฉื่อยชาของจินตนาการใน ระดับรวมหมูไปในที่สุด ซ่ึงนั่นคือฝนรายที่จะตามมาดวยลัทธิสุญนิยม, การปฏิเสธวาการตระหนกัรูตัวเองคือส่ิงที่มีคุณคาเหนือส่ิงอ่ืนใด และการไรซ่ึงความเปนมนุษย ซ่ึงทั้งหมดนี้ลวนเปนสิ่งที่ปญญาชนยากจะยอมรับได และบรรยากาศโดยทั่วไปในหมูปญญาชนก็คือ "แมไมมีเหตผุลที่เราจะรูสึกหมดหวัง แตเราก็ยังสงสัยวาตัวเราจะมีประโยชนไดอยางไรบาง" . [27]

สําหรับรอตี้แลว ความตองการของปญญาชนที่จะมีอะไรบางอยางซึ่งเกี่ยวของกับชะตากรรมของ มนุษยชาติ ทําใหปญญาชนสรางภาพลวงตาและความหลงใหลในการ "ปลดปลอย" มนุษยขึน้มา[28] รอตี้เสนอวาหลังจากเพลโตเปนตนมา ปญญาชนลวนสนใจทีจ่ะสรางชุดของจินตนาการจํานวนมหาศาลที่สลับซับซอนและ ใหญโต เพื่อเชื่อมโยงจินตนาการที่เปนรูปธรรมขนาดยอยๆ ดวยความคิดเรื่องความสัมพันธของมนุษยกับบางสิ่งบางอยางที่ไมเปน "ประวัติศาสตร" (ahistorical) เชนพระเจา, ธรรมชาติของมนุษย, ความรูและความจริงทีเ่ปนวิทยาศาสตร, และ "ประวัติศาสตร" (History) ทั้งๆ ที่ "จินตนาการจํานวนมากสามารถยืนหยัดอยูไดดวยตวัเอง โดยไมจําเปนตองถูกผูกมัดเขากับวตัถุที่ถูกหยิบฉวยไดดวยมโนทัศนขนาด ใหญ"[29] และกม็ีจินตนาการอีกมากที่มีลักษณะงายๆ ซ่ึงพบไดทัว่ไป ทั้งในคนที่มแีละไมมีการศึกษา เชนจนิตนาการเกี่ยวกับงานที่พอใจและคาจางที่พอเพียงสําหรับการดําเนินชวีิต จินตนาการเกี่ยวกับงานที่ปลอดภัยและไมถูกทําลายความเปนมนุษย ฯลฯ เพียงแตวาปญญาชนไดแทนที่จินตนาการเล็กๆ ที่เปนรูปธรรม, ตรงไปตรงมา และมีลักษณะตามทองถ่ิน ดวยจนิตนาการขนาดใหญโตดังที่กลาวมา.

Page 17: Sirote Postmodern

17

เฮเกลทําใหภาวะเชนนี้เดินมาสูจุดสูงสุดดวยการยนืยนัวามี "ระบบ" หรือ "ความรูสัมบูรณ" ที่ยิ่งใหญและแจมชัด จนปราศจากความพรามัวไมวาจะในแงมุมใดๆ ตอจากนั้น เฮเกลก็ชวนใหเราหยุดคดิถึงสรรพสิ่งอยางที่มันเปน ไมวาจะเปนเจตจํานงของพระเจา, วิถีของธรรมชาติ ฯลฯ ไปสูส่ิงที่สรรพสิ่งไมเคยเปน แตอาจจะเปนไปไดดวยการกระทําของเรา หรืออยางที่รอตี้พูดไวก็คือ เฮเกลทําใหปญญาชนออกจากความเพอฝนเรื่องการเขาถึงภาวะนิรันดร ไปสูความเพอฝนเรื่องการสรางอนาคตที่ดีกวา (from fantasies of contacting eternity to fantasies of constructing a better future)

มารกซพยายามเอาความคิดของเฮเกลขอนี้มาใครครวญวาจะทําเพื่อคนในอนาคตได อยางไร เพียงแตความลมเหลวที่จะตระหนกัถึงความแตกตางระหวางการเขาใจโลก กับการรูวาจะเปลี่ยนแปลงโลกไดอยางไร ทําใหมารกซคดิวาจะแทนที่ระบบทุนนยิมดวยระบบคอมมูนิสตได สวนวัฒนธรรมกระฎมพีกจ็ะสูญสิ้นไปดวยวัฒนธรรมใหมของกรรมาชีพผูถูก "ปลดปลอย"

การเมืองของการปลดปลอยสัมพันธกับสิ่งที่เรียกวา "จินตนาการรวมหมูเร่ืองฝายซายสากล" และความเฟองฟูของฝายซายในศตวรรษที่ผานมาก็มาจาก "จินตนาการรวมหมู" ที่วานี้ แตการลมสลายของลัทธิบอลเชวิคและการปฏิวัติสังคมนิยมในชวง ค.ศ.๑๙๘๙ ทําให "จินตนาการรวมหมู" ลมสลายตามไปดวย และเพราะฉะนั้น ปญหาที่ตามมาก็คือฝายซายในทศวรรษนี้จะใชอะไรเปนฐานของขบวนการไดบาง โดยเฉพาะในยุคสมัยที่ไมมีอะไรสามารถจะมาแทนที่บอลเชวิค ไมมีวีรบุรุษรายใดยิ่งใหญเทียบเทาเลนิน และไมมีใครเชื่อในระบบกรรมสิทธิของรัฐเหนือปจจัยการผลิตของสังคมอีกตอ ไป[30]

สําหรับฮาเวลซึ่งดูจะเปนแสงสวางใหกับ "จินตนาการรวมหมู" ไดนั้น ก็ถูกรอตี้ก็ตั้งขอสงสัยในความยั่งยืนของพลังทางการเมืองและศีลธรรมที่ผลักดันใหฮาเวลขึ้นสูอํานาจ และรวมทั้งมองเห็นความไมลงรอยกันของความคาดหวังที่ฝายซายและประชาชนชาวยุโรปตะวนัออกมีตอฮาเวล กับส่ิงที่ฮาเวลไดกระทําลงไปจริงๆ จนทําใหรอตี้สรุปอยางไมลังเลใจวาแมกระทั่งฮาเวลนัน้ก็ไมใชความหวังของ "จินตนาการรวมหมู" แตอยางใด.

เพื่อที่จะสรางขบวนการทางการเมืองที่ใหญโตขึ้นมา รอตี้เห็นวามีความจําเปนตองสราง "อภิมหาพรรณนา" ("Metanarrative") ที่เปนอิสระจากไวยากรณแบบ "ทุนนิยม" แตทวาเปยมไปดวยความเรารอนอยางที ่"เร่ืองเลา" แบบมารกซิสทเคยทําไว แตการสรางอภิมหาพรรณนาแบบนีเ้ปนเรื่องที่เปนไปไมไดในขณะนี้ และเพราะเหตนุี ้รอตี้จึงหันไปสูการเรียกรองใหปญญาชนยกเลิกความคิดวาตนเองมีความสามารถพิเศษที่จะฉวยจับโลกไดเหนือกวาคนธรรมดา [31] โดยไมจําเปนตองลมลางความหวังในการปลดปลอยมนุษยจากเงื่อนไขในการดํารงอยูที่เลวราย.

Page 18: Sirote Postmodern

18

อยางไรก็ดี ในชวงเวลาที่ไมมีใครมีความคดิที่ชัดเจนวาทาํอยางไรที่ความหวังนีจ้ะเปนจริงได ก็จําเปนตองสลัดจินตนาการขนาดใหญที่เปนนามธรรม ไปสูจินตนาการขนาดเล็กที่เปนรูปธรรม แลวหนัไปอธิบายความทกุขยากของมนษุยดวยคําทีต่รงไปตรงมามากขึ้น โดยระมดัระวังทีจ่ะสรุปวามนุษยชาติคืออะไร และอะไรคือส่ิงที่มนุษยชาตสิามารถจะทําได รวมทั้งหันหลังจากการเมืองวัฒนธรรม ไปสูการเมืองที่แทซ่ึงมีเนื้อหาที่เปนแกนสารและตรงไปตรงมา บนเปาหมายเพื่อลดทอนความทุกขยากของมนุษย[32]

รอตี้เสนอวาปญญาชนจําเปนตองอานเบนแธม, มารกซ, ฟูโก ในฐานะนักคิดผูชวยใหเราเขาใจวาเราหลอกตัวเองในอดีตไดอยางไร ( how we tricked ourselves in the past) ไมใชผูที่บอกเราวาอะไรคือส่ิงที่ควรทําในอนาคต (who tell us the right thing to do in the future) ปญญาชนตองหยุดมอง "ประวัติศาสตร" (History) ในฐานะที่เปนตัวแทนของ "ความจริงสัมบูรณ" โดยไมตระหนกัวาการพูดถึง "ประวตัิศาสตร" (History) ที่ถูกตองนั้น แทจริงแลวก็เปนแคเร่ืองของรสนิยม

ปญญา ชนตองหยุดยั้งความพยายามทีจ่ะมองหาจุดเปลีย่นของประวัตศิาสตรโลก รวมทั้งสัญลักษณและบุคคลของการเปลี่ยนแปลงนั้น หยดุยัง้การมองหาเหตุการณทางประวัติศาสตรที่จะเปดเผยใหเห็นคล่ืน ประวัติศาสตรทั้งหมด[33] แลวแทนที่ดวยการมองวาประวตัิศาสตรเปน "บันทึกของอดตี" ที่เต็มไปดวยเกร็ดเล็กเกรด็นอยที่มีลักษณะเฉพาะ แลวคดิใหมากถึงชุมชนมนุษยที่ในอดีตนั้นเต็มไปดวยความแตกตางกันอยาง มหาศาล โดยทีแ่ตละชุมชนกม็ีเรื่องราวที่แตกตางกันไป ซ่ึงยอมเปนเชือ้มูลใหแตละชมุชนมีจุดเปลีย่นแปลงที่ไมเหมือนกนัใน ปจจุบัน

รอตี้ยังระบุตอไปดวยวาปญญาชนตองหยดุความพยายามที่จะมีชัยชนะเหนือ "ระบบทุนนิยม" และ หยุดมอง "อุดมการณชนชัน้กระฎมพี" วาเปนตนตอของความชั่วราย สําหรับรอตี้แลว ความชั่วก็คือความดีที่ถูกปฏิเสธ หรือความดีในแบบที่อดีตเคยยึดถือ และเพราะฉะนัน้ "ความชัว่" หรือ "ปศาจ" ที่เลวรายอยางถึงที่สุดอยางระบบทุนนยิมและชนชั้นกระฎมพีนั้น แทจริงแลวก็เปนสิ่งที่ปญญาชนฝายซายสรางขึ้นเพื่อการดํารงอยูของฝายซายเอง.

ปญญาชนตองหยุดคนหา "ชนชั้นกรรมาชพี" ในฐานะทีเ่ปนองคอวตารของแสงสวาง หยุดคดิถึงวีรบุรุษผูยิ่งใหญอยางเลนิน และหยุดพดูถึงจุดจบที่เปนโศกนาฎกรรมอันยิ่งใหญอยางโสกราตีส รวมทั้งยอมรับวาตนเองไมอยูในวิสัยที่จะเสนอพิมพเขียวใดๆ เพื่อเปนแนวทางในการเปลี่ยนแปลงและสรรคสรางสังคมอุดมคติได.

อยางไรก็ดี ทั้งหมดนี้ไมไดหมายความวาปญญาชนจะตองหยุดคดิถึงความอยุติธรรมในสังคมแตอยางใด เพียงแตตองหันไปขบคิดใหมากขึ้นในเรื่องที่เปนรูปธรรมตางๆ เชนการแกกฎหมาย, มติศาล, ขอตกลงระหวางประเทศ ฯลฯ [34]

Page 19: Sirote Postmodern

19

สรุปโดยรวมกค็ือรอตี้ไมเห็นดวยกับทรรศนะความเชื่อทีว่ามีสัจธรรม, ปรัชญา และประวัติศาสตร ในความหมายของ Truth, Philosophy, History และเพราะฉะนั้น มันจึงไมมีเหตุผลพื้นฐานและหลักการสากลที่จะใชในการอธิบายและตัดสินคุณคาของทุกสิ่งทุกอยางไดตอไป โลกของรอตี้เปนโลกท่ีแตกตางจากโลกของเพลโต, เฮเกล, มารกซ และสเตราส สวน "อภิมหาพรรณนา" นั้น แมจะมีความจําเปนในทางการเมือง มากกวาจะเปนเรื่องที่มีความหมายโดยตัวเองจริงๆ แตก็เปนเรื่องที่ไมสามารถสรางขึ้นมาได อยางนอยกใ็นขณะนี้

ดังนั้น ส่ิงที่ตองทําอยางหลีกเลี่ยงไมไดจงึไดแกการหันกลับไปหาประวัติศาสตรและเงื่อนไขของสถานการณทีม่ีลักษณะจําเพาะเจาะจง ณ จดุยอยตางๆ เพือ่ตัดสินใจเปลีย่นแปลงและสรางสิ่งที่ดีที่สุดและเปนรูปธรรมที่สุดขึ้นมาในขณะนั้นๆ โดยปญญาชนนั้นตองตระหนกัวาตนเองไมไดมีความสําคัญตอชะตากรรมของมนุษยชาตมิากอยางที่คิด รวมทั้งยังตองยอมรับดวยวาตนเองไมมี "ปญญา" จะคดิถึงการปลดปลอยมนุษยในระดับใหญโตและแทจริงไดอีกตอไป.

แนนอนวาเกือบทั้งหมดที่รอตี้พูดนั้นเปนสิง่ที่ฝายซาย - โดยเฉพาะปญญาชนที่อยูภายใตอิทธิพลทางภูมิปญญาแบบลัทธิมารกซ - ยากจะยอมรับได และรอตี้ในงานเขยีนชิ้นหลังๆ อยาง Achieving Our Country ก็พูดถึงส่ิงที่ชวนใหฝายซายขัดหูยิ่งขึ้นไปอีก ดังที่เขากลาววา "ลัทธิมารกซไมไดสรางความหายนะแตในประเทศทีพ่วกมารกซิสทมีอํานาจ แตยังสรางความหายนะแกพวกนักปฏิรูปฝายซายในทุกๆ ประเทศดวยเชนกัน"[35] และ "มันจะเปนเรือ่งที่ดีมาก หากฝายซายอเมรกิารุนถัดไป จะหลงใหลใน คารล มารกซ และวลาดิมีร ไอลิช เลนิน นอยลง ในระดบัเดียวกับที่รูสึกตอเฮอรเบิรต สเปนเซอร และเบนิโต มุสโสลินี" [36]

อยางไรก็ดี ทั้งหมดนี้ไมไดหมายความวารอตี้เปนฝายขวาหรือ "อนุรักษนิยม" เพราะรอตี้โจมตีความเชื่อเร่ืองพระเจาไวดวยน้ําเสยีงที่รุนแรงไมนอยไปกวากนัวา ในโลกนี้ "ไมมีมาตรฐานใดๆ แมกระทั่งมาตรฐานที่ศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา ที่จะมาขัดขวางการตัดสินใจของเสรีชนได"[37] จึงเปนไปไดมากวารอตี้โจมตีลัทธิมารกซ บนหลักการเดยีวกับที่โจมตีฝายอนุรักษนยิมแนวเทววิทยา นั่นก็คือทั้งคูลวนเปนผลผลิตของระบอบการคิดเรื่องอภิมหาพรรณนา ที่หมกมุนวุนวายกับการตัดสินโลกไปตามบรรทัดฐานของตน.

การเมืองแบบหลังสมัยใหม ในฐานะที่เปนไวยากรณทางการเมืองวัฒนธรรมรวมสมัย คาลลินิคอสโจมตี "หลังสมัยใหม" ไวอยางมากวาเปนกระแสความคิดที่ไมปฏิวัตแิละเหนิหางจากสังคม อยางไรก็ด ีคําวิจารณเชนนี้เปนผลมาจากการไมสามารถแยกแยะระหวางการสะกดคําวา "ป-ฏิ-วั-ติ" กับการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติในระดบัความเปนจรงิได ซํ้ายังอยูภายใตภาพของการปฏิวัติแบบที่มีลัทธิบอลเชวิคเปนแรง

Page 20: Sirote Postmodern

20

บันดาลใจมาก เกินไป และเมื่อถึงจุดนี้ คําวิจารณที่อีเกิลตั้นมีตอ "หลังสมัยใหม" ดูจะเปนคําถามที่นาสนใจกวา โดยเฉพาะในประเด็นทีว่า "หลังสมัยใหม" ตอตานระบบที่เปนอยูแตในดานการเมือง แตเปนพนัธมิตรที่ยอมรับกนัไดในทางเศรษฐกิจ ซ่ึงซุกซอนไวดวยคําถามอื่นๆ อีกอยางนอย ๓ ขอ

ขอแรก มีการเมืองแบบ "หลังสมัยใหม" ดํารงอยูหรือไม , ขอสอง การเมืองแบบ "หลังสมัยใหม" เปนอยางไร และขอสาม การเมืองแบบ "หลังสมัยใหม" ตอตานระบบตรงไหน.

คําถามเหลานี้ตอบไดไมงาย สวนหนึ่งเปนเพราะตวัคําถามเองก็ยากอยูแลว แตสวนที่สําคัญกวาก็คือบุคลิกลักษณะของ "หลังสมัยใหม" ไมไดเปนทฤษฎีที่มสีารัตถะ วิธีวทิยา ญาณวิทยา ระบบระเบยีบ และอะไรตอมอิะไร ที่เปนพืน้ฐานของความเปน "ศาสตร" อยางหยุดนิ่งตายตัว "หลังสมัยใหม" ไมใชอุดมการณทางสังคมหรือการเมืองที่มุงเสนอทางออก, ทางเลือก หรือ "ทางลอง" ใดๆ ไมแมกระทั่งเสนอความคิดรวบยอดเพื่อเปนพมิพเขียวของปฏิบัติการทางสังคม

ในทางตรงกนัขาม ส่ิงที่ "หลังสมัยใหม" พดูถึง คือการทาทายความรูและวิธีการหาความรูแบบปฏิฐานนิยม, วิทยาศาสตร และเหตุผลนิยม ซ่ึงเมื่อถึงจุดนี้ "หลังสมัยใหม" ก็ไมตางจากปฎิฐานนยิม, วิทยาศาสตร และเหตุผลนิยม นั่นก็คือมันสามารถถูกนําไปตีความ, ประยุกต, วิจยั, ปฏิบัติ, ปฏิวัติ ฯลฯ ใหเปนซายขวาหนาหลังอยางไรก็ไดทั้งนั้น จนยากจะจับใหมัน่คั้นใหตายไดวา "หลังสมัยใหม" คดิกับการเมืองอยางไร และตอตานระบบตรงไหน ซ่ึงหากทาํไป ก็อาจจะขดักับ Spirit บางอยางของ "หลังสมัยใหม" ดวยซํ้า.

อยางไรก็ดี เปนเรื่องผิดฝาผิดตัวอยางมากที่จะโจมตี "หลังสมัยใหม" อยางเหมารวมวาเปนฝายเฉื่อยชาทางการเมือง ปฏิกิริยา อนรัุกษนยิมใหม นักปฏิรูปกระฎมพี ฯลฯ หรืออยางที่คาลลินิคอสพูดไวก็คือ "หลังสมัยใหม" คือฝายที่นั่งดีดพณิในขณะที่กรุงโรมถูกเผาไหม สวนโลกเรียกรองใหเกดิการปฏิวัติ เพราะประเด็นหลักของ ริชารด รอตี้ ในหนังสือเลมที่เปนเสมือนจดหมายเหตวุาดวยประวัติศาสตรปญญาชนฝายซาย ในอเมริกา อยาง Achieving Our Country : Leftists Thought in Twentieth Century ก็คือการเรียกรองใหปญญาชนฝายซายกลับไปมีบทบาทใกลชิดกับการเคล่ือนไหว ทางการเมืองในระดับรากฐาน เพื่อสรางการเมืองแบบ "กาวหนา" ใหคืนกลับมาใหม โดยหวนกลับไปหาสิ่งที่ปญญาชนฝายซายของอเมริกาในทศวรรษ ๑๙๔๐ และ ๑๙๕๐ เคยทําเอาไว โดยเฉพาะการมองไปที่ปญญาชนอยาง จอหน ดวิอ้ี, วอลท วิทแมน, เออรวิ่ง ฮาว และฟลิป แรนดอลฟ ซ่ึงมีช่ือเสียงจากปรัชญาปฏิบัตินิยม, การปฏิเสธอภิปรัชญา และการยนืยนัวาฉันทานุมัติแบบประชาธปิไตยที่มาจากเสรีชน คือส่ิงที่มีความสําคัญเหนืออ่ืนใด.

Page 21: Sirote Postmodern

21

สําหรับรอตี้แลว การเมืองแบบกาวหนาสัมพันธกับการมีขบวนการสหภาพแรงงานที่เขมแข็ง และเพราะฉะนั้น เพื่อจะสรางการเมืองแบบกาวหนาขึน้มาใหม นอกเหนือจากการกลับไป "ชําระ" ประวัติศาสตรของปญญาชนฝายซาย เพื่อสรางตัวแบบสําหรับเดินไปสูอนาคต รอตี้ยงัเรียกรองใหสหภาพแรงงานขยายการเคลื่อนไหวไปสูคนงานในภาคบริการใหมากขึน้ ดุจเดียวกับที่เคยทํากับคนงานภาคหตัถอุตสาหกรรมในอดีต [38]

แตการเปนฝายซายหรือฝายกาวหนากไ็มไดมีความหมายถึงคอมมูนิสตแตอยางใด เพราะรอตี้คิดถึง "ฝายซาย" หรือ "ฝายกาวหนา" โดยมีนยัถึงพรรคแรงงานอังกฤษและพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมันในอดตีมากกวา ดังที่เขาระบุถึงความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมไดที่จะสรางฝายซายที่เขมแข็งและไมใชคอมมูนิสตขึ้นมา เพื่อจะเปนพลังใหแตละรัฐชาติใชในการควบคุมกลุม "โคตรรวย" ในระดับโลก (Cosmopolitan Super Rich) หรือไมอยางนั้น ส่ิงที่จะตามมาก็คือการลุกฮือขนานใหญ ไมวาจะโดยฝายฟาสซิสตหรือขบวนการฝายซายแบบ "ประชานิยม" เองก็ตาม [39]

รอตี้เรียกรองใหนักปรัชญา "ถีบสันดานทางปรัชญาทิ้งไป" ("kicks its philosophy habit") [40] และส่ิงที่เขาโจมตีไวอยางมากกค็ือการที่นักปรัชญาผูใฝใจในลัทธิมารกซ พากันเสียเวลาเปนชั่วโมงๆ ในการถกเถียงวาวัตถุนยิมวิภาษวิธีหมายถึงอะไร โดยไมสนใจวากระบวนการทางการเมืองหรือกระบวนการกาํหนดนโยบายนั้นเปนอยางไร รอตี้เห็นวาส่ิงที่เกิดขึ้นกับปญญาชนทุกวันนีเ้ปยมไปดวยความเชื่อวา ตองรูทฤษฎีของลากาง, ฟูโกและแดรดิา เปนอยางด ีกอนที่จะไปอภิปรายถึงปญหาสังคม ดุจเดียวกับที่ฝายซายในทศวรรษ ๑๙๓๐ เชื่อวาตองเขาใจมารกซ, เองเกลส และเลนิน อยางกระจางแจง จึงจะแสดงความคิดทางการเมืองที่มีน้ําหนกัได หรือไมอยางนั้นก็คือการหมกมุนวุนวายอยูกับ "การเมืองวัฒนธรรม" ในสถาบันการศึกษาและมหาวิทยาลัย แลวหลงคิดไปวาทั้งหมดนั้นจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงในระดับการเมืองที่เปน จริง (เชน "สตรีศึกษา"?)

สําหรับรอตี้ ส่ิงที่มีความสําคัญกวาก็คือการเลิกคิดถึงทฤษฎีทั่วไปวาเรากําลังอยูในประวัติศาสตรขั้นตอนไหน แลวหนัไปพิจารณาการปฏิรูปในระดับเฉพาะเจาะจง เพื่อปองกันไมใหฝายขวาแบบ "ประชานิยม" กลับฟนคืนชพี[41] ซ่ึงจะเริม่ตนทําอยางนีไ้ด ก็ตองมี "ความหวัง" ถึงส่ิงที่ดีกวาในอนาคต.

ถึงจุดนี้ก็จะเหน็วาการโจมตทีี่มารกซิสทมีตอ "หลังสมัยใหม" วาเปนพวกปฏิกิริยา, ไมสนใจความจริงทางสังคม, ตอตานประชาธิปไตย, อกหักจากการปฏิวตัิ ฯลฯ รวมทั้ง "ไมสนใจประชาชน" นัน้ แทที่จริงแลวกลับวางอยูบนคําวิจารณที่ตืน้เขินซึ่งมีเปาหมายเพื่อปก ปองความชอบธรรมทางภูมิปญญาของลัทธิมารกซ โดยอาศัยการผูกขาดคําวา "ป-ฏิ-ว-ัติ" และ "เปลี่ยนแปลง" ไวตอไป ในขณะที่การเมืองแบบรอตี้นั้นเรียกรองใหปญญาชนกลับไปหาประชาชนในระดับ รากฐาน ยืนยนัความ

Page 22: Sirote Postmodern

22

จําเปนของการสรางขบวนการสหภาพแรงงานที่เขมแข็ง รวมทั้งเสนอใหปญญาชนออกไปสูการเมืองที่เปนจริง มากกวาจะหมกมุนวุนวายอยูกับการถกเถียงทฤษฎใีดๆ - ไมวาจะเปนมารกซิสทหรือฟูโกตเดยีนก็ตาม - จะวาไปแลวกเ็ปนขอเรียกรองทางการเมืองที่ซายและมีลักษณะถึงรากถึงโคน กวาพวกมารกซิสทหลายรายเสียอีก เพียงแตรอตี้เหน็วาทั้งหมดนี้เปนเรื่องที่สามารถทําไดโดยไมตองอาศัย อภิมหาพรรณนาที่วางอยูบนความคิดแบบเหตุผลนิยมและสากลนิยม ในขณะที่ปญญาชนแนวมารกซิสทนั้นกลับเห็นวาถึงอยางไรก็ตองปกปองความ สําคัญของการปฏิวัติและชนช้ันกรรมาชีพเอาไว ถึงแมทั้งหมดนีจ้ะเปนแคการสะกดคําวา "ป-ฏิ-ว-ัติ" ออกมาบอยๆ ในที่สาธารณชนกต็าม.

รอตี้อธิบายความคิดและจนิตภาพที่เขามีตอการเมืองไวอยางชัดเจนมากขึ้นในบทความชื่อ "Remarks on Deconstruction and Pragmatism" วา

"จริยศาสตรและการเมือง - ในความหมายของการเมืองที่แทจริง ไมใชการเมืองวัฒนธรรม - เปนเร่ืองของการบรรลุซ่ึงขอตกลงระหวางผลประโยชนซ่ึงแขงขันกัน จริยศาสตรและการเมืองเปนเรื่องที่ตองถูกขบคิดในรูปที่ตรงไปตรงมาและใชกันอยูในชวีติประจําวนั ในรูปซ่ึงไมตองการการวิเคราะหทางปรัชญา และในรูปที่ไมจําเปนตองมีสมมติฐานทางปรัชญา … การเมืองเปนเรื่องของการปฏิบัติ, การปฏิรูปในระยะสั้นๆ และการประนีประนอม การประนปีระนอมเปนสิ่งซ่ึงในสังคมประชาธิปไตยตองเรียกรองและปกปองไมใหอยูแตคนกลุมนอย ความคิดทางการเมืองตองมีศูนยกลางอยูทีค่วามพยายามจะวางรากฐานที่เปนขอตกลงรวมกันบางอยาง วาทําอยางไร และภายใตเงื่อนไขไหน ที่การปฏิรูปอยางที่วามานี้จะบังเกิดผลได ความเปนนักราดกิาลที่เต็มไปดวยความสงสารเห็นใจเปนเรื่องที่ตองเก็บไวช่ัวคราว และการเปนนักปฏิรูปที่ปฏิบัตินิยมตางหากคือส่ิงที่ขาพเจาเลือกเมื่อตองอยูกับคนอื่น"[42]

การมองการเมอืงวาเปนเรื่องของการปฏิบัติ, การประนีประนอม และการปฏิรูปในระดับสั้นๆ เปนเหตุให Chantal Mouffe ตั้งขอสังเกตไววาแมรอตี้จะโจมตีและวจิารณวิธีคิดแบบทีว่างอยูบน เหตผุลนิยมและสากลนิยม (rationalism and universalism) แตกไ็มไดเปนอิสระจากมรดกทางการเมืองที่ตกทอดมาจากยุคแหงแสงสวาง (the political side of Enlightenment) แตอยางใด และมรดกที่วานั้นก็คือการสรางประชาธิปไตย ซ่ึง Mouffe ยืนยันวารอตี้ใหความสําคัญกับการเมืองแบบประชาธิปไตยไมนอยไปกวาคนอยาง ฮาเบอรมาส เพียงแตฮาเบอรมาสนั้นเหน็วามีความเชื่อมโยงระหวางเหตุผลนิยม, สากลนิยม, ประชาธิปไตยสมัยใหม และรัฐประชาธิปไตย แลวหมกมุนวุนวายอยูกับการคนหาอะไรบางอยางที่อยูเหนือการเมือง เพื่อใชเปนฐานในการยืนยนัวาประชาธิปไตยสําคัญเหนือส่ิงอ่ืนใด รอตี้กลับโจมตีวาทั้งหมดนี้เปนเรื่องของเกมภาษา และเสนอตอไปวาประชาธิปไตยไมจําเปนตองสรางขึ้นบนรากฐานทางปรัชญา สวนความมั่นคงของประชาธิปไตยก็

Page 23: Sirote Postmodern

23

ไมไดมาจากการใชเหตุผลผานสถาบันตางๆ หรือพูดใหส้ันๆ คือรอตี้โจมตีประชาธปิไตยในทางทฤษฎี ขณะที่เห็นดวยในทางการเมือง [43]

การเมืองสัมพันธกับสังคมการเมือง ความคิดและจนิตภาพทางการเมืองจึงเปนสวนหนึ่งของสังคมการเมืองอยางไมอาจปฏิเสธได ถาการเมืองเปนเรื่องของการประนีประนอมและปฏิรูปในระยะส้ันๆ อยางที่รอตี้วาไว ในขณะที่สังคมการเมืองเองก็ไมจําเปนตองมีพืน้ฐานมาจากเหตุผลและหลักการแบบอภิปรัชญาอีกตอไป ดังที่รอตี้เองก็ไดกลาวไววา "ในฐานะพลเมืองของรัฐประชาธิปไตย ขาพเจาไมคิดวาอภิปรัชญาจะมีประโยชนอะไรนัก" แตหากปราศจากสิ่งเหลานี้ คําถามก็คือแลวการประนีประนอมระหวางคนกลุมตางๆ จะเกิดขึ้นไดอยางไร.

ไช ยันต ไชยพร อธิบายวาสําหรับรอตี้นั้น "ความรัก" สําคัญกวา "ความรู"[45] และ Mouffe เองก็ระบุวารอตี้ตอบคําถามนี้โดยทําใหการเมืองกลับไปหาความสําคัญของความรู สึกและความเหน็อกเห็นใจ (sentiment and sympathy) [46] ตัวอยางเชนรอตี้เห็นวาเพื่อทีจ่ะขจัดวาทกรรมแบบเหยียดสีผิวทิ้งไปนั้น ส่ิงที่เราตองการไมใชแควาทกรรมแบบตอตานการเหยียดสิผิวหรือความคิด เร่ืองภราดรภาพทีเ่ปนนามธรรม แตคือการขยายความคิดวาเรา "รูสึก" อยางไร ออกไปใหกวางขวางยิ่งขึ้น ซ่ึงเปนเหตุใหฝายซายโจมตีวารอตี้มจีุดยนืไมตางจากฝายอนุรักษนิยม ใหม เพราะเนนไปที่การเมืองในระดับของปฏิสัมพันธระหวางบุคคล โดยไมตระหนกัถึงบทบาทของตลาดและพลังของกลไกบริหาร [47]

มองจากมุมของการตอตานระบบแบบปฏิวตัิตามครรลองของนักลัทธิมารกซที่ดี การเมืองแบบหลังสมัยใหมในแงที่เปนการตอรองและประนปีระนอมระหวางคนกลุมตางๆ ดวยความรักและความรูสึกรวมแบบเหน็อกเหน็ใจ คือขอเสนอที่มุงรักษาระบบ, อนุรักษนิยม และ เปน "ปฏิกิริยา" มากกวาจะทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงแบบพลิกฟาคว่ําแผนดิน.

ขอวิจารณของกรัมเชี่ยนอยาง Ernesto Laclau ก็คอืความคิดเรื่องปฏิบัตินิยมแบบรอตี้นัน้ก็ไมตางจากความคดิเรือ่งร้ือ ถอนแบบแดริดา นั่นกค็ือมันไมสามารถจะเปนพืน้ฐานของนําไปสูการเมืองชนิดใดได เพยีงแตวาในขณะที่ความคิดเรื่องร้ือถอนแบบเต็มรูปนั้น ไมอาจนําไปสูการสรางการเมืองแบบประชาธิปไตย ความคิดเรื่องปฏิบัตินิยมของรอตี้กลับนําไปสูความเชื่อมั่นวาเสรีนยิมใน ขณะนี้คือปฏิบัตินิยมทีพ่ัฒนามาอยางเต็มที่ สวนประวัติศาสตรที่ผานมาคือข้ันตอนที่ไมสมบูรณแตจําเปนเพื่อจะมาถึง จุดนี้[48] และยิ่งไปกวานัน้ ปรัชญาแบบปฏิบัตินิยมของรอตี้ยงัมีจุดออนตรงมองเห็นแตการเคลื่อนตัวทาง ยุทธศาสตรที่เปนไปไดแตในวาทกรรมแบบเสรีนิยมอเมริกัน [49]

แนนอนวาการจะประเมินวา "หลังสมัยใหม" มีลักษณะตอตานระบบหรือไมนั้น นอกจากจะเปนผลของการคิดถึง "หลังสมัยใหม" ในแบบที่มเีอกภาพมีคําตอบมีขอเสนอที่ชัดเจนเปนรูปธรรมแลว ก็

Page 24: Sirote Postmodern

24

ยังสัมพันธอยางมากกับจดุยนื, ทัศนวิสัย, ความเชื่อ, รสนิยม, บรรทัดฐาน ฯลฯ ของตัวผูประเมินเอง.

ตัวอยางเชนคําถามของอีเกิลตั้นสัมพันธกบัความเชื่อเร่ืองการตอตานระบบ โดยเศรษฐกิจและ "มูลคาสวนเกนิ" ขณะที่คําวจิารณของคาลลินิคอสสัมพันธกับความเชือ่เร่ืองการปฏิวัติแบบใหญ โต ซ่ึงทั้งสองประเด็นนี้ลวนเปนสิ่งที่นกัคิดแนวหลังสมัยใหมไมไดตอบเอาไว แตปญหาคือทั้งหมดนี้จะหมายความวาหลังสมัยใหมไมตอตานระบบไดหรือ เปลา.

ถาระบบหมายถึงโครงสรางสังคมหรือการเมือง และการตอตานระบบก็คือการจัดตั้งขบวนการทางการเมืองที่มีเปาหมายเพือ่ ปฏิรูปหรือปฏิวัติ โพสทโมเดิรนก็ไมไดเปนกระแสความคิดที่มีลักษณะตอตานระบบมากมายนัก การปฏิรูปและปฏิวัติเปนการมองการเมืองที่สัมพันธกับนโยบายสาธารณะ ซ่ึงนั่นเปนสิ่งที่โพสทโมเดิรนไมไดใหความสนใจ แตถาคิดถึงระบบในความหมายที่กวางกวานัน้ โพสทโมเดิรนก็เปนวิธีคิดทีม่ีเหตุผลในการตอตานระบบอยูไมมากกน็อย.

ความสําคัญของโพสทโมเดิรนเกิดขึ้นทามกลางสภาวะทีลั่ทธิมารกซหรือสํานักคิดอื่นๆ ไมไดสนใจปญหาเรื่อง the self , การครอบงํา, การตอตาน , อํานาจของภาษาและความรู ฯลฯ หรือไมอยางนั้นก็ไมไดพดูถึงปญหาเหลานี้ดวยสายตาทีว่ิพากษวจิารณมากพอ "ระบบ" ทีโ่พสทโมเดิรนตั้งคําถามจึงเปนระบบที่ครอบคลุมสังคมในขอบเขตที่กวางขวาง และเมื่อถึงจุดนี้ คําถามที่วาการตอสูในระดบัที่เปนรูปธรรม ณ จุดยอยๆ แบบนี้ จะเปนการตอตานระบบหรือไม ก็คงจะเปนคําตอบแบบอัตนัยที่เปดกวางสําหรับผูตอบแตละรายไป

เชิงอรรถ

[1]พิมพคร้ังแรกในวารสารวิถีทรรศน ชุดโลกาภิวัฒน ปที่ 5 ฉบับที่ 19 (2544) ฉบับ "ทฤษฎีและความรู" [2] Callinicos, Alex. 1989. Against Postmodernism. Cambridge : Polity Press. [3] Lyotard, Jean-Francois Lyotard, 1984. The Postmodern Condition. Minnesota : Minnesota [4] ขอที่นาสนใจก็คือขณะทีม่ารกซิสทอยางคาลลินิคอสโจมตีวา "หลังสมัยใหม" เปนเรื่องเหลวไหล เพราะเสนแบงระหวาง "สมัยใหม" กับ "หลังสมัยใหม" ไมเคยมีอยูจริง นักปรัชญาแนวปฏิบัตินิยมที่มอิีทธิพลอยางสูงตอความคิด "หลังสมัยใหม" อยาง Richard Rorty กลับเห็นวาการพยายามลากเสนแบงระหวาง "สมัยใหม" กบั "หลังสมัยใหม" ใหชัดเจน เปนผลผลิตของนักปรัชญาที่ตองการจะทาํใหทุกอยางมจีุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดที่แจมชัด Rorty เหน็วา "หลังสมัยใหม" เปน

Page 25: Sirote Postmodern

25

เร่ืองของความคิดและทรรศนะคติที่ตั้งคําถามกับ "อภิมหาพรรณนา" หรือ "meta-narratives" มากกวาจะเปนเรื่องของ "ยคุสมัย" และถาถือวา Jean-Francois Lyotard เปนคนที่ประกาศวา "ภาวะสมัยใหม" ไดปดฉากไปแลว พรอมๆ กับการการฆาลางเผาพันธุ การลมสลายของจักรวรรดิ การทําลายระบบนเิวศน ฯลฯ ก็จะกลายเปนวามารกซิสทอยางคาลลานิคอส กับ "หลังสมัยใหม" อยาง Lyotard นั้น คิดไมตางกนัในเรื่องนี้ คือคิดวาสามารถลากเสนแบงที่ชัดเจนในแงระยะเวลา ระหวาง "สมัยใหม" กบั "หลังสมัยใหม" ขึ้นมาได ในขณะที่นกัปฏิบัตินิยมอยาง Rorty กลับเหน็วา "สมัยใหม" และ "หลังสมัยใหม" อยูผสมปนเปและปะปนกันอยางวุนวาย สนใจเรื่องนี้เพิ่มเติม โปรดดู Rorty, Richard. 1991. Essays on Heidegger and Others. Cambridge : Cambridge University Press, pp.67-72.) [5] Anderson, Perry. "Renewal." New Left Review, Jan-Feb 2000, p.15-24. [6] ไมวาจะมองในแงมุมไหน อีเกิลตั้น ก็ถือไดวาเปน "ปญญาชนสาธารณะ" โดยไมตองสงสัย แตการเปนปญญาชนสาธารณะในโลกตะวันตกนั้น ไมจําเปนตองแลกมาดวยความตืน้เขินทางภูมิปญญาเสมอไป ในทางตรงกันขาม ความลึกซึ้งทางภูมิปญญาและความยอมรับที่ชุมชนวิชาการมตีอปญญาชนนั่นเอง ที่จะนําปญญาชนคนหนึ่งๆ ไปสูความเปน "ปญญาชนสาธารณะ" ในขณะทีใ่นสังคมซึ่งอัตคัดวัฒนธรรมการอาน และปราศจากชุมชนทางวิชาการที่เขมแข็งนั้น กย็อมเปนสาธารณะและ "ตลาด" นั่นเองที่จะเปนผูเลือกวาจะใหความสาํคัญกับปญญาชนรายไหน ซ่ึงการเลือกนั้นกไ็มแนวาจะมาจากคุณคาทางปญญาและความรอบรูเสมอไป ผลที่ตามมาก็คือเพื่อที่จะรักษาความเปนปญญาชนสาธารณะเอาไว ปญญาชนจําเปนตองหาชองวางที่ตลาดตองการ ขายส่ิงที่ตนเองสามารถจะขายได พูดอยางที่ตลาดประสงคจะไดยิน และปดทายลงดวยการทาํอัตวินิบาตกรรมทางภูมิปญญาไปโดยปริยาย สนใจเรื่องนี้เพิ่มเติม โปรดดู Goldfarb, Jeffrey C. 1998. Civility and Subversion : The Intellectual in Democratic Society. Cambridge, New York : Cambridge University Press. [7] Eagleton, Terry. 1996. The Illusions of Postmodernism. London : Blackwell Publishers. [8] Eagleton, Terry. 2000. The Idea of Culture. Oxford, Massachusattes : Blackwell Publishers. p.77. [9] Eagleton, Terry. The Idea of Culture. p.91. [10] Eagleton, Terry. The Idea of Culture. p. 105 [11] Callinicos, Alex.. Against Postmodernism, p.174. [12] Zizek, Slavoj. "Attempts to Escape the Logic of Capitalism." London Review of Books 21(21). [13] Zizek, Slavoj. "Attempts to Escape the Logic of Capitalism." London Review of Books 21(21).

Page 26: Sirote Postmodern

26

[14] Anderson, Perry. "Renewal". P16. [15] Anderson, Perry. "Renewal". p.15. [16] Anderson, Perry. "Renewal". p.19. [17] Jay, Martin. 1988. Fin-De-Siecle Socialism and Other Essays. New York: Routledge. p.111. [18] Zizek, Slavoj. "Attempts to Escape the Logic of Capitalism". p.32. [19] Zhelve, Zhelyu. 1999. "Is Communism Returning?," Pp.258-262 in The Revolutions of 1989 : Rewriting Histories, edited by Vladimir Tismaneanu. London: Routledge. [20] Geras, Norman. 1985. The Legacy of Rosa Luxemburg. London: Verso. [21] ดูตัวอยางของปญหานี้ไดใน Critchley, Simon. 1999. "Metaphysics in the Dark : A Response to Richard Rorty and Ernesto Laclau," Pp.106-121. in Ethics, Politics, Subjectivity : Essays on Derrida, Levinas and Contemporary French Thought. London, New York : Verso. [22] Laclau, Ernesto. 1990. New Reflections on the Revolution of Our Time .London: Verso. p.xi. [23] New Reflections on the Revolution of Our Time. p.82. [24] Butler, Judith , Ernesto Laclau and Slavoj Zizek. 2000. Contingency, Hegemony , Universality : [25] Rorty, Richard. 1998. Truth and Progress : Philosophical Papers. Cambridge: Cambridge University Press. p.229. [26] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.234. [27] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.235. [28] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.230. [29] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.232. [30] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.236. [31] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.235. [32] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.231โดยรอตี้อธิบายวาปญญาชนมักจะปะทะ "การเมืองวัฒนธรรม" ซ่ึงเปนการเมืองแบบที่ปญญาชนมีบทบาท กับ "การเมืองที่เกิดขึ้นจริง" หรือ "การเมืองที่แท" ซ่ึงปญญาชนอาจจะไมมีบทบาทมากนัก ตัวอยางเชนปญญาชนเชื่อวาการเมืองวัฒนธรรมของการกระตุนใหนกัศึกษาทา ทายระบบครอบครัว ยอมมีสวนทาทายโลกอันปราศจากความยุติธรรมไดในไมชาก็เร็ว และเมื่อเชื่อเชนนี ้ปญญาชนก็จะรูสึกตอไปวางานอันแสนสบายในมหาวิทยาลยั เปนสิ่งที่ปญญาชนไดกระทําไปในนามของการตอสูเพื่อภราดรภาพของมนุษยชาติ ความสับสนระหวาง "การเมืองวัฒนธรรม" กับ "การเมอืงที่เปนจริง" ทําใหปญญาชนหลีกหนีไปจากคําถามที่วาตนเองกําลังใชทักษะทางภูมิปญญาไป เพื่อความพึงพอใจและ

Page 27: Sirote Postmodern

27

การเสวยสุขสวนตวั. [33] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . pp.242-3. [34] Rorty, Richard. Truth and Progress : Philosophical Papers . p.239. [35] Rorty, Richard. 1998. Achieving Our Country : Leftist Thought in 20th-Century America. Cambridge : Harvard University Press. p.41. [36] Rorty, Richard. Achieving Our Country : Leftist Thought in 20th-Century America. p.51. [37] Ryan, Alan. "The New New Left," London Review of Books. May 17, 1998. [38] Stossel, Scott. "A Conversation with Richard Rorty," The Atlantic , 23 April 1998. [39] Stossel, Scott. "A Conversation with Richard Rorty". [40] Rorty, Richard. 1997. Achieving Our Country : Leftists Thought in Twentieth Century. Cambridge : Harvard University Press. [41] Stossel, Scott. "A Conversation with Richard Rorty" [42] Rorty, Richard. 1996. "Remarks on Deconstruction and Pragmatism," P.17 in Deconstruction and Pragmatism, edited by Chantal Mouffe. London : Routledge. [43] Mouffe, Chantal Mouffe. 1996. "Deconstruction, Pragmatism and the Politics of Democracy," Pp.1-4. in Deconstruction and Pragmatism, edited by Chantal Mouffe. London : Routledge. [45] ไชยันต ไชยพร, ๒๕๔๓. "หลักการสทิธิมนุษยชนในฐานะวัฒนธรรม : Richard Rorty กับสิทธิมนุษยชนแนวโพสทโมเดิรนในโลกตะวนัตก : ความกาวหนาของจริยธรรมในพฒันาการของ Enlightenment," หนา ๕๖๐ ใน วิถีสังคมไท : สรรนิพนธทางวิชาการ เนื่องในวาระหนึ่งศตวรรษ ปรีดี พนมยงค บรรณาธิการโดย จรัญ โฆษณานนัท. กรุงเทพ : เรือนแกวการพิมพ. [46] Deconstruction, Pragmatism and the Politics of Democracy. p.5. [47] Dahl, Goran. 1999. Radical Conservatism and the Future of Politics. London, California : Sage Publications Ltd. p.147 [48] Laclau Ernesto, 1996."Deconstruction, Pragmatism, Hegemony," P.62 in Deconstruction and Pragmatism, edited by Chantal Mouffe. London : Routledge.. [49] Deconstruction, Pragmatism, Hegemony . p.67.