47
มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สานักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง

(Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

มาตรฐานการปฏิบัติงาน

(Standard Operating Procedure : SOP)

กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง

Page 2: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

ii

ค าน า กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง เป็นหน่วยงานที่ส าคัญยิ่งของ

ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง เพราะนอกจากจะเป็นตัวกลางในการน านโยบายจากกระทรวงสาธารณสุข มาแปลงเพ่ือน าไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานระดับพ้ืนที่แล้ว ยังเป็นหน่วยงานกลางในการน านโยบาย แนวทางของส านักงานงานสาธารณสุขจังหวัดเผยแพร่ เชื่อมโยง บูรณาการ กับส่วนราชการต่างๆ ในจังหวัดอีกด้วย ดังนั้น เพ่ือให้การด าเนินงานดังกล่าว บรรลุตามเป้าหมายและแนวทางของกลุ่มงานอันจะเป็นการตอบสนองต่อภารกิจหลักของกลุ่มงาน กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุขจึงได้จัดท าคู่มือนี้ขึ้น เพ่ือให้กลุ่มงานได้เตรียมความพร้อมในเรื่องต่างๆ และสามารถด าเนินการได้ครบถ้วน สอดคล้องกับแนวทางและเป้าประสงค์ ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก าหนดไว้ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ ในการด าเนินการตามภารกิจได้อย่างถูกต้อง เกิดประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง

Page 3: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

iii

สารบัญ

หน้า ค าน า ..................................................................................................................................................................... ii

สารบัญ ................................................................................................................................................................. iii

มาตรฐานการปฏิบัติงานการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ ............................................................................................... 1

มาตรฐานการปฏิบัติงานการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด .............................. 12

มาตรฐานการปฏิบัติงานการนิเทศงาน ................................................................................................................ 17

มาตรฐานการปฏิบัติงานกระบวนงานประเมินผล ................................................................................................ 21

มาตรฐานปฏิบัติงานกระบวนงานประสานการตรวจราชการ ............................................................................... 26

มาตรฐานการปฏิบัติงานงานระบาดวิทยา ........................................................................................................... 35

Page 4: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

1

มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

การจัดท าแผนยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์เป็นทิศทางของการด าเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ร่วมกันและสามารถคาด

ประมาณ/ประเมินความส าเร็จของเป้าหมายที่ก าหนดไว้ล่วงหน้าจากกิจกรรมที่องค์กรหรือหน่วยงานได้ก าหนดขึ้นตามยุทธศาสตร์ ก่อนการจัดสรรงบประมาณ

ถึงแม้กระบวนการและขั้นตอนในการจัดท ายุทธศาสตร์จะเหมือนกันๆ ในทุกหน่วยงาน แต่จากการที่แต่ละหน่วยงานมีโครงสร้าง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการบริหารงานที่แตกต่างกันท าให้ลักษณะของยุทธศาสตร์ มีความแตกต่างกัน โดยเฉพาะหน่วยงานด้านสุขภาพที่อยู่ในหน่วยงานด้านการพัฒนาสังคมและแก้ไขปัญหา ความยากจน ยุทธศาสตร์จะไม่เน้นไปที่การแข่งขันแต่จะเน้นไปที่การประสานให้เกิดความร่วมมือและยุทธศาสตร์ของแต่ละส่วนก็จะไม่แยกจากกันแต่จะเชื่อมโยงสัมพันธ์กันและท าให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน คือ การมีสุขภาพดีของประชาชน

1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพ่ือเป็นกรอบก าหนดทิศทางและเป้าหมายระยะยาวของหน่วยงาน 1.2 เพ่ือให้สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ขอบเขต เป็นการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในระดับจังหวัดระยะ 4 – 5 ปี โดยเน้นการบูรณการและมีส่วนร่วม

จากทุกภาคส่วน

3. ค านิยาม แผนยุทธศาสตร์ หมายถึง แผนระยะยาว ( 3 - 5 ปี ) ที่มุ่งแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีการก าหนด

เป้าหมายในการแก้ปัญหาไว้อย่างชัดเจน ภายใต้กระบวนการบูรณาการและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

วิสัยทัศน์ (Vision) คือ ภาพในอนาคตที่องค์กรต้องการเห็น ต้องการเป็น โดยสิ่งที่อยากเห็นอยากเป็นนั้นต้องเกิดประโยชน์ต่อประชาชน สังคม หรือประเทศชาติ

วิสัยทัศน์ จึงเป็นภาพความส าเร็จที่จะเกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผล ซึ่งหน่วยงานสามารถบรรลุได้ เมื่อมีการพัฒนาองค์กรและมีการด าเนินการเต็มศักยภาพ ในการพิจารณาเพ่ือก าหนดวิสัยทัศน์ขององค์กรนั้น ควรทราบว่าปัจจุบันองค์กรเรามีสถานภาพเป็นอย่างไร ลักษณะการด าเนินงานหรือขอบข่ายงานเป็นอย่างไร มีหลักส าคัญในการด าเนินงาน ลักษณะของระบบและกระบวนการบริหารจัดการ และภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ เมื่อเราทราบค าตอบตามแนวทางดังกล่าวแล้ว เราสามารถน ามากล่าวรวมเป็นวิสัยทัศน์ขององค์กร พันธกิจ (Mission) คือ ภารกิจหลักที่หน่วยงานจะต้องด าเนินการ เพ่ือบรรลุเป้าประสงค์และวิสัยทัศน์

ในการก าหนดพันธกิจนั้น องค์กรจะต้องทราบว่าหน้าที่หรือภารกิจหลักตามกฎหมายที่องค์กรต้องด าเนินการคืออะไร และจ าเป็นต้องทราบว่าเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นจากการด าเนินงานคืออะไร พันธกิจจึงเป็นสิ่งที่องค์กรต้องปฏิบัติ (ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย) เพ่ือให้บรรลุเป้าประสงค์และวิสัยทัศน์ที่ก าหนดไว้

Page 5: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

2

เป้าประสงค์ (Goal) คือ ขอบข่ายของผลสัมฤทธิ์หลักที่หน่วยงานต้องการให้เกิดขึ้นแก่ประชาชน สังคม หรือประเทศชาติในอนาคต

ในการก าหนดเป้าประสงค ์หน่วยงานจ าเป็นต้องทราบว่า กลุ่มลูกค้าหลักหรือกลุ่มผู้รับบริการของหน่วยงานนั้นคือใครและต้องการให้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Situation Analysis) คือ การประเมินสถานการณ์และแนวโน้มต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการด าเนินกิจกรรมเพ่ือพัฒนาสุขภาพมาคาดการณ์และจัดหมวดหมู่ให้เหมาะสมกับการก าหนดยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ โดยในการวิเคราะห์จะไม่จ ากัดอยู่ที่สถานการณ์ด้านโรคภัยไข้เจ็บและปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนเท่านั้น แต่จะต้องวิเคราะห์ สถานการณ์แวดล้อมด้านอ่ืน ๆที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ โดยมีรูปแบบของการวิเคราะห์ที่อาจใช้การวิเคราะห์นโยบาย ยุทธศาสตร์ชาติ SMART PEST SIPOC ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ฯลฯ

ตัวชี้วัดผลการด าเนินงานหลัก (Key Performance Indicator – KPIs) คือ สิ่งที่บ่งชี้ว่า การด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ก าหนด ซึ่งจะประกอบด้วยตัวชี้วัดและปริมาณความส าเร็จ ซึ่งการก าหนดเครื่องชี้วัดผลการด าเนินงานหลัก สิ่งที่จ าเป็นที่สุดคือข้อมูลผลการด าเนินการในปัจจุบัน และตัวชี้วัดผลการด าเนินงานของหน่วยงานหลักท่ีเหนือกว่า

กลยุทธ์ (Strategy) คือ แนวทางในการด าเนินการอย่างกว้างเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ซึ่งยุทธศาสตร์ที่ดีจะต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ (โอกาสและอุปสรรค) และศักยภาพของหน่วยงาน (จุดแข็ง จุดอ่อน)

4. ผู้รับผิดชอบ 4.1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด มีหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุดในองค์กรระดับจังหวัดใช้อ านาจในการ

ตัดสินใจและมีบทบาทเป็นผู้น าองค์กร 4.2 คณะกรรมการวางแผนและประเมินผล มีหน้าที่ประสานการด าเนินงานและให้ข้อมูลสนับสนุน

การจัดท าแผนยุทธศาสตร์ ตลอดจนเสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงแผนฯ แก่นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 4.3 คณะกรรมการยกร่างแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกกลุ่มงานใน สสจ./ผู้แทน รพช./

สสอ./รพ.สต./ภาคีเครือข่ายต่างๆ โดยมีหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข เป็นเลขานุการและหัวหน้างานแผนงานเป็นผู้ช่วยเลขานุการ

4.4 หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ มีหน้าที่รับผิดชอบเป็นเลขานุการของคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล และคณะท างานยกร่างแผนฯ ติดต่อประสานงานกับผู้บริหารทุกระดับในการเตรียมการและ การยกร่างแผนยุทธศาสตร์

4.5 หัวหน้างานแผนงาน เป็นผู้ช่วยเลขานุการของคณะกรรมการยกร่างแผนยุทธศาสตร์มีหน้าที่รวบรวมข้อมูลสถานการณ์และแนวโน้มของปัญหาตลอดจนปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลต่ อสถานะสุขภาพของประชาชน

Page 6: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

3

5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดท าแผนยุทธศาสตร์

สัญลักษณ์ เริ่มต้น/สิ้นสุด

ด าเนินการ

ตัดสินใจ/พิจารณา

ต่อเนื่อง

ทิศทางการไหล

ล าดับที่ ขั้นตอน ผู้รับผิดชอบงานแผน/

คณะท างาน คณะกรรมการวางแผน

และประเมินผล

รพท./รพช./สสอ./ กลุ่มงาน/ฝ่าย ใน

สสจ. 1. แต่งตั้งคณะท างานยกร่างแผน 2. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมเพ่ือการ

จัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ

3. ก าหนดวิสัยทัศน์/พันธกิจ/ เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดผลการ ด าเนินงานหลัก/ยุทธศาสตร์ และจัดท าแผนที่ยุทธศาสตร์

ไม่อนุมัติ/แก้ไขใหม่

4. น าเสนอแผนยุทธศาสตร์เพ่ือ ขออนุมัติ

5. ถ่ายทอดแผน/น าไปสู่การปฏิบัติ 6. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนงานวางแผนยุทธศาสตร์

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

1. แต่งตั้งคณะท างาน ยกร่างแผนฯ

แต่งตั้งคณะท างานยกร่างแผนยุทธ์ ศาสตร์ประกอบด้วยนายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัด (หรือผู้ได้รับ มอบหมาย) เป็นประธานคณะท างาน ประกอบด้วย ผู้แทนรพท./รพช/สสอ/รพ.สต./หัวหน้ากลุ่มงาน,ฝ่าย ใน สสจ./ผู้แทนองค์กรชุมชน/ภาคีเครือข่าย อาทิ อสม., ผู้สูงอายุ, เยาวชน ฯลฯ ร่วมเป็นคณะท างาน โดยมีหวัหน้ากลุ่มงานพัฒนา-ยุทธศาสตร์เป็นเลขานุการ

7 วัน 1. ผู้บริหารให้ความ ส าคัญและสนับสนุนการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง

2. ภาคีเครือข่ายที่มุ่งม่ันและใส่ใจการด าเนินงาน

1. การสรรหาคณะท างานที่สนใจและให้ความส าคัญกับการจัดท าแผนฯ

2. การติดต่อประสานและให้ข้อมูลกับคณะท างาน

2. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมเพ่ือการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ

การวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มเพ่ือการก าหนดยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เป็นการประเมินสถานการณ์และแนวโน้มต่างๆ ที่เก่ียวกับการด าเนินกิจกรรมเพ่ือ

15 วัน 1. ระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ

2. ความถูกต้องของการวิเคราะห์ข้อมูล

1. คุณภาพของ ข้อมูล 2. การวิเคราะห์ ข้อมูล

Page 7: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

4

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

พัฒนาสุขภาพมาคาดการณ์และจัดหมวดหมู่ให้เหมาะสมกับการก าหนดยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ โดยในการวิเคราะห์จะไม่จ ากัดอยู่ที่สถานการณ์ด้านโรคภัยไข้เจ็บและปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนเท่านั้นแต่จะต้องวิเคราะห์สถานการณ์แวดล้อมด้านอ่ืน ๆที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ

3. ก าหนดวิสัยทัศน์/ พันธกิจ/เป้าประสงค/์ตัวชี้วัด ผลงานหลัก และกลยุทธ/์แผนที่ยุทธศาสตร ์

คณะท างานประชุมร่วมกันเพ่ือก าหนดวิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดผลงานหลัก/กลยุทธ์และแผนที่ยุทธศาสตร์ โดยอาศัยข้อมูลจากการวิเคราะห์สถานภาพของหน่วยงาน (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค : SWOT) และน าเสนอคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลของจังหวัดเพ่ือขอค าแนะน าและขอความเห็นชอบ หากคณะกรรมการฯ เห็นชอบก็จะเผยแพร่ให้หน่วยงานในสังกัดทราบ

5 วัน ความมุ่งม่ัน/ใส่ ใจของคณะ ท างาน

ความสอดคล้อง ของวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ พันธกิจและ กลยุทธ์

4. น าเสนอแผนยุทธศาสตร์เพ่ือขออนุมัติ

คณะท างานร่วมกันจัดท ารูปเล่มแผนยุทธศาสตร์เป็นฉบับร่าง เพ่ือเสนอขออนุมัติต่อผู้บริหาร (นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด )และท่ีประชุมคณะกรรมการวางแผนประเมินผล

7 วัน ความมุ่งม่ัน/ใส่ ใจของคณะ ท างาน

การน าเสนอแผน ที่สามารถเชื่อม โยงให้เห็นภาพ ของการแก้ปัญหาที่ ชัดเจน สมเหตุสมผล

5. ถ่ายทอดแผน/น าไปสู่การปฏิบัติ

หลังจากได้รับการอนุมัติแล้ว คณะท างาน โดยฝ่ายเลขานุการจัด ประชุมเพ่ือชี้แจงแผนยุทธศาสตร์และแนวทางการน าไปสู่การปฏิบัติโดยแจ้งหน่วยงานในสังกัดและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทราบ

1 วัน การให้ความส าคัญของผู้บริหารทุกระดับ ในการร่วมรับรู้ และขับเคลื่อนแผน

ความชัดเจนและ การน าไปปฏิบัติ ได้ของแผน ยุทธศาสตร์

Page 8: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

5

7. ระบบติดตามการด าเนินงานตามแผน 7.1 ติดตามจากการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีของกลุ่มงาน/ฝ่ายใน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอและโรงพยาบาลทุกแห่ง 7.2 ติดตามโดยการนิเทศงานผสมผสานคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอ าเภอ (คปสอ.) 2 ครั้ง/ปี

8. แบบฟอร์มท่ีใช้ 8.1 แบบฟอร์มการพิจารณาปัจจัยภายในหน่วยงาน 7S Model 8.2 แบบฟอร์มการพิจารณาปัจจัยภายนอกหน่วยงาน PEST Analysis 8.3 แบบฟอร์มตารางก าหนดกลยุทธ์ (SWOT หรือ TOWS Matrix)

9. เอกสารอ้างอิง (Reference Document) 9.1 การจัดแผนยุทธศาสตร์ (ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.สธ.)

10. แบบฟอร์มที่ใช้ (Form): 10.1 แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดท าแผน

11. เอกสารบันทึก (Record): 11.1 แบบประเมินผลแผนยุทธศาสตร์

Page 9: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

6

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเพื่อการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ

การวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มเพ่ือการก าหนดยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เป็นการประเมินสถานการณ์และแนวโน้มต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการด าเนินกิจกรรมเพ่ือพัฒนาสุขภาพมาคาดการณ์และ จัดหมวดหมู่ให้เหมาะสมกับการก าหนดยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ โดยในการวิเคราะห์จะไม่จ ากัดอยู่ที่สถานการณ์ด้านโรคภัยไข้เจ็บและปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนเท่านั้น แต่จะต้องวิเคราะห์ สถานการณ์แวดล้อมด้านอ่ืน ๆที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ

องค์ประกอบในการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มด้านสุขภาพ 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก (External Analysis) โดยที่สภาพแวดล้อมภายนอก เป็น

แรงผลักดันจากภายนอกองค์กรที่มีอิทธิพลต่อความส าเร็จในการด าเนินการขององค์กร ซึ่ง โดยทั่วไปสามารถจัดกลุ่มสภาพแวดล้อมภายนอกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ ่ได้แก่

1.1. สภาพแวดล้อมภายนอกทั่วไป (General Environment) ได้แก่ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในระดับโลก กฎหมายและการเมือง สังคมและวัฒนธรรม สภาวะด้านเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ซึ่งในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์แวดล้อมภายนอกทั่วไปนั้น ในการวางแผนยุทธศาสตร์ระดับพ้ืนที่มีความส าคัญไม่มากเท่ากับในระดับประเทศ การเตรียมข้อมูล เพ่ือให้ทราบสถานการณ์และแนวโน้มเท่านั้น

1.2. สภาพแวดล้อมภายนอกเฉพาะ (Task Environment) ได้แก่ แนวทาง/นโยบายระดับเหนือกว่า แนวทาง/นโยบายระดับหน่วยงาน แนวทาง/นโยบายของหน่วยงานอ่ืนที่ เกี่ยวข้อง และปัญหาด้านสุขภาพ ความคาดหวังและความต้องการของประชาชน ซึ่งทั้งหมดเป็น ปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบโดยตรงและมีความใกล้ชิดกับการด าเนินภารกิจขององค์กร ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเพ่ือการก าหนดยุทธศาสตร์ถือว่ามีผลต่อการด าเนินยุทธศาสตร์ด้าน สุขภาพอย่างมาก โดยมีรายละเอียดดังนี้

- แนวทาง/นโยบายระดับเหนือกว่า ในส่วนของจังหวัด ได้แก่ เป้าหมายและ แนวทางของกระทรวงและระดับกรม

- แนวทาง/นโยบายระดับหน่วยงาน ได้แก่ แผนพัฒนาระยะยาวของหน่วยงาน แนวทาง/นโยบายของผู้บริหารระดับหน่ายงาน เป็นการวิเคราะห์นโยบาย แนวความคิดและความ ต้องการของผู้บริหารระดับหน่วยงานเพ่ือจะท าให้การก าหนดยุทธศาสตร์สอดคล้องกับนโยบายของ ผู้บริหารเนื่องจากผู้บริหารจะเป็นผู้ให้ความเห็นชอบและจัดสรรทรัพยากรเพื่อการด าเนินงานตามแผน

- แนวทาง/นโยบายของหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ หน่วยงานของกระทรวงที่ เกี่ยวข้องในการพัฒนาสุขภาพ เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนา สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เป็นต้น

- ความคาดหวังและความต้องการของประชาชน เป็นประเด็นที่ส าคัญและต้องให้ความส าคัญอย่างยิ่ง และต้องวิเคราะห์อย่างละเอียด เนื่องจากเป้าหมายในการพัฒนาสุขภาพอยู่ที่ การมีสุขภาพดีของประชาชน ข้อมูลเหล่านี้อาจได้มาจาก

1) โครงสร้างของประชากรเนื่องจากเพศและวัยของประชากรที่แตกต่างกัน มีความต้องการในการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมือนกัน การทราบข้อมูลแนวโน้มโครงสร้างของประชากรจะท าให้มีการเตรียมการเพ่ือการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

2) การกระจายของประชากร ในเขตเมืองและเขตชนบท รวมถึงแนวโน้มการเคลื่อนย้ายประชากร เนื่องจากการดูแลประชากรในแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกัน

Page 10: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

7

3) สภาวะสุขภาพที่เป็นตัวชี้วัดด้านประชากรที่ส าคัญๆ อันได้แก่ อายุคาดเฉลี่ย เมื่อแรกเกิด อัตราการเพ่ิมประชากร อัตราการเจริญพันธุ์ อัตราเกิด อัตราตาย เป็นต้น

4) ปัญหาด้านสุขภาพของประชากร การวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพโดย รวมตัวชี้วัดที่ส าคัญ ได้แก่ อัตราป่วยและอัตราตายของโรคติดต่อและไม่ติดต่อ เป็นต้น

5) พฤติกรรมสุขภาพ เป็นการวิเคราะห์พฤติกรรมของประชากรในการดูแล สุขภาพอันได้แก่ ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม รวมไปถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงในการ เกิดปัญหาด้านสุขภาพ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกก าลังกาย เป็นต้น การก าหนดปัจจัยภายนอกอีกวิธีหนึ่ง คือ การพิจารณาตามหลัก PEST Analysis โดย P คือ Politics (การเมือง) E คือ Economic (เศรษฐกิจ) S คือ Social (สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม) และ T คือ Technology (เทคโนโลยี)

แบบฟอร์มการพิจารณาปัจจัยภายนอกหน่วยงาน ปัจจัยภายในหน่วยงาน ปัจจัยภายในหน่วยงาน จุดแข็ง จุดอ่อน

(1) การเมือง/รัฐบาล (2) ภาวะเศรษฐกิจ (3) สภาพสังคม (4) เทคโนโลยี (5) อ่ืนๆ .....................................................

2. การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายใน (Internal Analysis) เป็นการท าความเข้าใจ สภาพแวดล้อมภายในองค์กร โดยการประเมินจุดอ่อนและจุดแข็งภายในองค์กร เพ่ือให้ผู้ก าหนดยุทธศาสตร์ทราบศักยภาพของตนเองในการด าเนินการเพ่ือการบรรลุเป้าหมายว่าควรจะด าเนินการ ด้วยวิธีใด

โดยที่สภาพแวดล้อมภายในเป็นสิ่งที่ผู้ก าหนดยุทธศาสตร์สามารถจะควบคุมและเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่าสิ่งแวดล้อมภายนอก ดังนั้น ผู้ก าหนดยุทธศาสตร์จึงมีแนวโน้มที่จะก าหนดยุทธศาสตร์ที่ใช้จุดแข็งของตนเองเป็นยุทธศาสตร์ในการด าเนินการ ในขณะเดียวกันการวิเคราะห์จะท าให้มีการก าหนดยุทธศาสตร์ที่จะปรับปรุงหรือหลีกเลี่ยงการใช้จุดอ่อนของตัวเอง

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในด้วยวิธีนี้ จะจัดกิจกรรมเพ่ือการบรรลุเป้าหมายออกเป็น 2 กลุ่มด้วยกัน ได้แก่ 2.1. กิจกรรมหลัก ได้แก่กิจกรรมในการด าเนินการเพ่ือให้ได้มาซึ่งเป้าหมายที่ก าหนดไว้ 2.2. ปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ปัจจัยในการด าเนินการเพ่ือสนับสนุนกิจกรรมหลัก

Page 11: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

8

ในการบรรลุเป้าหมายแต่ละเป้าหมายจะต้องเกิดจากการด าเนินกิจกรรมหลักภายใต้การสนับสนุนจากปัจจัยสนับสนุนที่เอื้อให้กิจกรรมหลักประสบความส าเร็จ ดังนั้นความล้มเหลวของการด าเนิน กิจกรรมหลักจะต้องมีสาเหตุมาจากปัจจัยสนับสนุนปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งหรือหลายปัจจัย ดังนั้น ในการจัดเตรียมข้อมูลเพ่ือการประเมินจุดแข็ง และจุดอ่อนจะต้องเตรียมข้อมูลให้สามารถวิเคราะห์ได้ถึงความส าเร็จและความล้มเหลวของกิจกรรมหลักเพ่ือการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงานว่าเกิดจากการไม่เกื้อหนุนตามปัจจัยสนับสนุนใด เพ่ือจะได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ถูกต้อง

ดังนั้น ในการที่จะจัดเตรียมข้อมูลส าหรับการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน จะต้องน าเอาเป้าหมายหลักมาเป็นตัวตั้ง ดังนั้นกิจกรรมในการด าเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายหลักจะเป็นกิจกรรมหลักส าหรับปัจจัยสนับสนุนจะเป็นเหตุผลให้การด าเนินกิจกรรมหลักได้ดีหรือไม่ดี หมายเหตุ ประสิทธิภาพของการประเมินศักยภาพของหน่วยงานจะข้ึนอยู่กับ

1. ความสามารถในการก าหนดกิจกรรมหลัก/รอง เพ่ือการบรรลุเป้าหมายได้อย่างครบถ้วน 2. การยอมรับในศักยภาพของตนเองในการด าเนินกิจกรรมเพ่ือการบรรลุเป้าหมายในแต่ละเป้าหมาย

ส าหรับแนวทางวิเคราะห์ปัจจัยภายในหน่วยงาน อีกวิธีหนึ่ง คือ การพิจารณาจากตัวแบบ 7S ของ R.Waterman ดังนี้คือ

(1.1) โครงสร้างองค์กร (Structure) (1.2) ระบบการปฏิบัติงาน (System) (1.3) จ านวนบุคลากร (Staff) (1.4) ความสามารถของบุคลากร (Skill) (1.5) ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์องค์กร (Strategy) (1.6) รูปแบบการบริหาร (Style) (1.7) วิสัยทัศน์ / ค่านิยมร่วมในการปฏิบัติงาน (Share values)

แบบฟอร์มการพิจารณาปัจจัยภายในหน่วยงาน

ปัจจัยภายในหน่วยงาน จุดแข็ง จุดอ่อน (1) โครงสร้างองค์กร (Structure) (2) ระบบการปฏิบัติงาน (System) (3) จ านวนบุคลากร (Staff) (4) ความสามารถของบุคลากร (Skill) (5) ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์องค์กร (Strategy) (6) รูปแบบการบริหาร (Style) (7) วิสัยทัศน์ / ค่านิยมร่วมในการปฏิบัติงาน (Share values) (8) อ่ืนๆ…………………..

กระบวนการในการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ กระบวนการในการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพไม่ว่าจะเป็นในภาคธุรกิจหรือในภาครัฐ

จะประกอบด้วย 5 ขั้นตอนที่เหมือนกันได้แก่ - การก าหนดวิสัยทัศน์ - การก าหนดพันธกิจ

Page 12: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

9

- การก าหนดเป้าประสงค์ - การก าหนดตัวชี้วัดผลการด าเนินงานหลัก - การก าหนดกลยุทธ์

1. การก าหนดวิสัยทัศน์ เป็นการก าหนดภาพในอนาคตที่ต้องการจะเห็นจากการด าเนินภารกิจของหน่วยงาน

โดยหน่วยงานจะต้องทราบสถานการณ์และแนวโน้มของการด าเนินภารกิจจึงจะก าหนดวิสัยทัศน์ได้อย่างเหมาะสม เพ่ือป้องกันการสับสนเนื่องจากมีวิสัยทัศน์ของการด าเนินการในหลายระดับอาจเรียก วิสัยทัศน์ ว่าเป็น เป้าหมายหลักในการด าเนินการก็ได้

2. การก าหนดพันธกิจ เป็นการก าหนดสิ่งที่ต้องด าเนินการร่วมกันเพ่ือการบรรลุวิสัยทัศน์ตามภารกิจหน่วยงานที่มีอยู่

3. การก าหนดเป้าประสงค ์(Goal) เป็นการก าหนดเป้าประสงค์ของการด าเนินพันธกิจว่าในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ ของการด าเนินพันธกิจ หน่วยงานต้องการจะบรรลุเป้าหมายใด

4. การก าหนดตัวชี้วัดผลการด าเนินงานหลัก (Key Performance Indicator – KPIs) เป็นการก าหนดสิ่งที่บ่งชี้ว่า การด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ก าหนด ซ่ึงจะประกอบด้วยตัวชี้วัดและปริมาณความส าเร็จ ซึ่งการก าหนดเครื่องชี้วัดผลการด าเนินงานหลัก สิ่งที่จ าเป็นที่สุดคือข้อมูลผลการด าเนินการในปัจจุบัน และตัวชี้วัดผลการด าเนินงานของหน่วยงานหลักท่ีเหนือกว่า

5. การก าหนดกลยุทธ์ เป็นการก าหนดแนวทางในการด าเนินการอย่างกว้างเพ่ือการบรรลุเป้าหมาย ซึ่งยุทธศาสตร์ที่ดีจะต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ (โอกาสและอุปสรรค) และศักยภาพของหน่วยงาน (จุดแข็ง จุดอ่อน)

ขั้นตอนที่ส าคัญในการก าหนดกลยุทธ์ประกอบด้วย 5.1. การวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความส าเร็จในการบรรลุเป้าหมาย (Key Success Factors) 5.2. การประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ที่มีต่อปัจจัยแห่งความส าเร็จนั้นๆ 5.3. การก าหนดทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์

- ยุทธศาสตร์เชิงรุก (SO Strategy) เป็นยุทธศาสตร์ที่ใช้จุดแข็งมาด าเนินการเมื่อโอกาสเอ้ืออ านวยให้

- ยุทธศาสตร์เชิงพัฒนา (WO Strategy) เป็นยุทธศาสตร์ที่แกไ้ขจุดอ่อนให้เป็นจุดแข็งเพ่ือด าเนินการยุทธศาสตร์เชิงรุก

- ยุทธศาสตร์เชิงรับ (ST Strategy) เป็นยุทธศาสตร์ใช้จุดแข็งท่ีหน่วยงานมีอยู่มาแก้ไขปัญหาอุปสรรคให้เป็นโอกาส

- ยุทธศาสตร์พลิกแพลง (WT Strategy) เป็นยุทธศาสตร์ที่หลีกเลี่ยงการใช้จุดอ่อนมาเผชิญกับอุปสรรค

Page 13: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

10

5.4. การตัดสินใจต่อทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ การตัดสินก าหนดยุทธศาสตร์เป็นการน าทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์การพิจารณาควบคู่ไปกับค่านิยมของผู้บริหารแล้วตัดสินใจก าหนดเป็นยุทธศาสตร์ของหน่วยของหน่วยงาน

5.5. การจัดกลุ่มยุทธศาสตร์และการท า Strategic Mapping เนื่องจากในการจัดท ายุทธศาสตร์ อาจพบว่าบางครั้งมีการทับซ้อนของยุทธศาสตร์ที่ตอบสนองต่อเป้าหมายอยู่หลายเป้าหมายการจัดท า Strategic Mapping จะท าให้เห็นภาพชัดเจนว่า กลยุทธ์ใดตอบสนองต่อการด าเนินการในเป้าหมายใด เพ่ือให้สอดคล้องกับการจัดท ายุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ตอบโจทย์การถ่ายทอดตัวชี้วัดใน PMQA ด้วย โดยอาจด าเนินการตามขั้นตอน คือ

- แต่งตั้ง คณะท างาน คัดเลือกและก าหนดตัวชี้วัดส าคัญของหน่วยงาน - วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระดับตัวชี้วัดในมุมมอง ๔ ด้านของ กพร. (ประสิทธิผล/

คุณภาพ/ประสิทธิภาพ และพัฒนาองค์กร) - น าเสนอผู้บริหาร (นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด) พิจารณา - น าเสนอคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลของจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบ - น าตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่ได้รับความเห็นชอบแจ้งหน่วยงานเกี่ยวข้อง - หน่วยงานในสังกัดตอบรับทราบ KPI - ติดตามการด าเนินงาน 3/6/9/12 เดือน

การก าหนดกลยุทธ์อีกวิธีหนึ่ง คือ การใช้ตาราง SWOT หรือ TOWS Matrix โดยมีขั้นตอนและวิธีการดังตารางต่อไปนี้

โดยพิจารณาลักษณะของกลยุทธ์ได้ 4 ลักษณะได้ดังรายละเอียดต่อไปนี้

(1) การก าหนดกลยุทธ์จากปัจจัย จุดอ่อน/โอกาส เป็นสถานการณ์ที่หน่วยงานมีปัจจัยภายในไม่ดีแต่มีปัจจัยภายนอกดี หรือภายในด้อยแต่ภายนอกเอ้ือ

ในกรณีนี้ กลยุทธ์ที่จะก าหนดขึ้น เรียกว่า “กลยุทธ์พลิกฟ้ืน (Turn Around Strategies)” ซึ่งมีกรอบแนวทางดังนี ้- พัฒนา - สร้างเครือข่าย - ร่วมทุน - เร่งรัด - หาแนวร่วม - ฯลฯ

Page 14: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

11

(2) การก าหนดกลยุทธ์จากปัจจัย จุดอ่อน /อุปสรรค เป็นสถานการณ์ที่หน่วยงานมีปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในไม่ดี หรือภายนอกฉุดและภายในด้อย ซ่ึง

เปรียบเสมือนหน่วยงานอยู่ในสถานการณ์สุนัขจนตรอก กลยุทธ์ที่ก าหนดเป็น “กลยุทธ์ ตัดทอน (Retrenchment Strategies)” ซึ่งมีแนวทางดังนี้

- ทบทวน - ลดกิจกรรม - ชะลอการด าเนินงาน - ถ่ายโอนภารกิจ - ปรับเปลี่ยนกิจกรรม - ฯลฯ

(3) การก าหนดกลยุทธ์จากปัจจัย จุดแข็ง/ โอกาส เป็นสภาวการณ์ที่หน่วยงานมีปัจจัยภายนอกและภายในดี หรือ ปัจจัยภายนอกและภายในเป็นเชิงบวก

ทั้งหมด หรือภายนอกเอ้ือและภายในเด่น กลยุทธ์ที่จะก าหนดขึ้นจะเป็น “กลยุทธ์เชิงรุก (Aggressive trategies)” ซึ่งโดยทั่วไปกลยุทธ์ที่ก าหนดจะเป็น

- การขยายงาน - การส่งเสริมสนับสนุน - การเพ่ิมเครือข่าย - การเพ่ิมเป้าหมาย - การกระจายงาน - ฯลฯ

(4) การก าหนดกลยุทธ์จากปัจจัย จุดแข็ง/อุปสรรค เป็นสถานการณ์ท่ีหน่วยงานมีปัจจัยภายในดี แต่มีปัจจัยภายนอกไม่เอ้ืออ านวยหรือปัจจัยภายในเป็นเชิงบวก

แต่มีปัจจัยภายนอกเป็นเชิงลบ ในกรณีนี้กลยุทธ์ที่จะก าหนดขึ้น เรียกว่า “กลยุทธ์การรักษาเสถียรภาพ (Stability Strategies)” คือ ใช้ประโยชน์จากจุดแข็งของหน่วยงานให้เป็นประโยชน์ ซึ่งการก าหนดกลยุทธ์ สามารถก าหนดแนวทางได้ดังนี้

- ขยายงานที่เป็นจุดแข็ง - ควบคุม - คุ้มครอง - ป้องกัน - ฯลฯ

ทั้งนี้ จะก าหนดกลยุทธ์ในเรื่องใด ด้านใด จะขึ้นอยู่กับน้ าหนักความส าคัญของจุดแข็งและอุปสรรคของหน่วยงาน หากมีการก าหนดกลยุทธ์ได้มากมายหลายกลยุทธ์ จ าเป็นต้องมีการคัดเลือกด้วยวิธีการจัดล าดับความส าคัญ

เพ่ือให้ได้กลยุทธ์ที่มีความส าคัญและส่งผลต่อความส าเร็จขององค์กรจริงๆ โดยมีวิธีคัดเลือกดังนี้ คือ

กลยุทธ์ทางเลือก ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความยอมรับ

รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1

1. 2. 3.

ทั้งนี้ มีวิธีการตรวจสอบกลยุทธ์ว่ามีความครอบคลุมมิติใดบ้างนั้น สามารถใช้ Balance Scorecard ในการตรวจสอบ หากขาดตกบกพร่องในมิติใดก็สามารถย้อนกลับไปพิจารณาตาราง SWOT หรือ TOWS Matrix เพ่ือก าหนดกลยุทธ์เพิ่มเติมได้

Page 15: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

12

มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

เรื่อง การจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

แผนปฏิบัติการประจ าปี เป็นเครื่องมือที่ส าคัญยิ่งอย่างหนึ่งในปัจจุบันที่เป็นการน านโยบายไปปฏิบัติในระดับจังหวัด การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นตลอดจนเป็นการน าแผนยุทธศาสตร์ซึ่งได้จัดท าไว้แล้วไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้โดยแผนปฏิบัติการจะเป็นแผนระยะ ๑ ปี

๑. วัตถุประสงค์ ๑.๑. เพ่ือเป็นกรอบก าหนดทิศทางในการด าเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาในพ้ืนที่ ๑.๒. เพ่ือให้สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๒. ขอบเขต เป็นการจัดท าแผนปฏิบัติการด้านสาธารณสุขในระดับจังหวัดระยะ ๑ ปี โดยเน้นการบูรณการและมีส่วน

ร่วมจากทุกภาคส่วน

๓. ค านิยาม แผนปฏิบัติการประจ าปี หมายถึง แผนระยะ ๑ ปี ที่มุ่งแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีการก าหนดเป้าหมาย

ในการแก้ปัญหาไว้อย่างชัดเจน ภายใต้กระบวนการบูรณาการและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

๔. ผู้รับผิดชอบ ๔.๑ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด มีหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุดในองค์กรระดับจังหวัดใช้อ านาจในการ

ตัดสินใจและมีบทบาทเป็นผู้น าองค์กร ๔.๒ คณะกรรมการวางแผนและประเมินผล มีหน้าที่ประสานการด าเนินงานและให้ข้อมูลสนับสนุนการ

จัดท าแผนยุทธศาสตร์ ตลอดจนเสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงแผนฯ แก่นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ๔.๓ คณะกรรมการยกร่างแผนปฏิบัติการ ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกกลุ่มงานใน สสจ./ผู้แทน รพช./

สสอ./รพ.สต./ภาคีเครือข่ายต่างๆ โดยมีหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข เป็นเลขานุการและหัวหน้างานแผนงานเป็นผู้ช่วยเลขานุการ

๔.๔ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ ฯ มีหน้าที่รับผิดชอบเป็นเลขานุการของคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล และคณะท างานยกร่างแผนฯ ติดต่อประสานงานกับผู้บริหารทุกระดับในการเตรียมการและการยกร่างแผนปฏิบัติการประจ าปี

๔.๕ หัวหน้างานแผนงาน เป็นผู้ช่วยเลขานุการของคณะกรรมการยกร่างแผนปฏิบัติการมีหน้าที่รวบรวมข้อมูลสถานการณ์และแนวโน้มของปัญหาตลอดจนปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลต่อสถานะสุขภาพของประชาชน

Page 16: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

13

๕. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี

๖. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนงานวางแผนยุทธศาสตร์

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

1. แต่งตั้งคณะท างาน ยกร่างแผนฯ

แต่งตั้งคณะท างานยกร่างแผนปฏิบัติการ ประกอบด้วยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด (หรือผู้ได้รับมอบหมาย) เป็นประธานคณะท างานประกอบด้วย ผู้แทน รพท./รพช/ สสอ/รพ.สต./หัวหน้ากลุ่มงาน, ฝ่าย ใน สสจ./ ร่วมเป็นคณะท างาน

7 วัน 1. ผู้บริหารให้ ความส าคัญและ สนับสนุนการ ปฏิบัติงานอย่าง ต่อเนื่อง

2. ภาคีเครือข่ายที่ มุ่งม่ันและใส่ใจการด าเนินงาน

1. การสรรหา คณะท างานที่ สนใจและให้ ความส าคัญกับ การจัดท าแผนฯ

2. การติดต่อประสานและให้ข้อมูลกับคณะท างาน

Page 17: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

14

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

โดยมีหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนา-ยุทธศาสตร์เป็นเลขานุการและหัวหน้างานแผนงานเป็นผู้ช่วยเลขานุการ

2. วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน สถานการณ์และแนวโน้มด้านสุขภาพและจัดล าดับความส าคัญของปัญหา

วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานสถานการณ์และแนวโน้มด้านสุขภาพ ตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ ประกอบด้วย สถานะสุขภาพ/สถานการณ์ด้านโรคและภัยสุขภาพ/ นโยบายของรฐับาล, กระทรวง สธ. ฯลฯคณะท างานจัดประชุมเพ่ือจัดล าดับความส าคัญของปัญหาโดยขอเชิญผู้เข้าร่วม ประชุมประกอบด้วยผู้แทน รพท./รพช/สสอ/ รพ.สต./หัวหน้ากลุ่มงาน, ฝ่าย ใน สสจ./ภาคี เครือข่าย/ผู้แทน อสม./องค์กรชุมชนในพ้ืนที่ และแจ้งผลการจัดล าดับความส าคัญของปัญหาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและใช้เป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของพ้ืนที่ในปีงบประมาณนั้นๆ อาจน าเสนอปัญหา 10 อันดับแรก

15 วัน 1. ระบบข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพ

2. ความถูกต้อง ของการวิเคราะห์ ข้อมูล

1. คุณภาพของ ข้อมูล

2. การวิ เคราะห์ ข้อมูล

3. กลุ่มงาน/ฝ่ายในส านักงาน สาธารณสุข ยกร่างแผนในส่วนที่เกี่ยวข้อง

คณะท างานแจ้งให้กลุ่มงาน/ฝ่ายในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดน านโยบายจากส่วนกลาง แผน-ยุทธศาสตร์จังหวัด และปัญหา สาธารณสุขในพืน้ที่ไปด าเนินการยกร่างแผนตามภารกิจที่รับผิดชอบ ให้ครอบคลุมโดยก าหนดตัวชี้วัดที่ส าคัญ ระยะเวลาและงบประมาณที่ใช้

7 วัน ความมุ่งม่ันตั้งใจ ของแต่ละกลุ่มงาน (แบบฟอร์มท าแผน)

ต้องด าเนินการภายในระยะเวลาที่ก าหนด

4. คณะท างานรวบรวบร่างแผนของ แต่ละกลุ่มงาน /ฝ่ายพร้อมตรวจสอบความถูกต้อง/ครบถ้วน

คณะท างานตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ของแผนงาน/โครงการ ความเชื่อมโยงกับแผนกลยุทธ์ สภาพปัญหาของพ้ืนที่ งบประมาณ ระยะเวลาที่ด าเนินการและตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์

7 วัน ความรู้ ประสบการณ์ของคณะท างาน

ต้องด าเนินการภายในระยะเวลาที่ก าหนด

Page 18: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

15

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

5. คณะท างานจัดท าร่างแผนปฏิบัติการประจ าปี ฉบับร่าง และ ขออนุมัติแผนฯ

คณะท างานจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ฉบับร่าง และน าเสนอนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพ่ืออนุมัติแผน หากมีข้อเสนอแนะก็ ให้ด าเนินการปรับแก้ให้เรียบร้อย

7 วัน ความรู้ ประสบการณ์ของคณะท างาน

ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า รภายในระยะเวลาที่ก าหนด

6. แจ้งการอนุมัติให้คณะท างานทราบพร้อมจัดท ารูปเล่มฉบับสมบูรณ์

คณะท างานจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี ฉบับสมบูรณ์และน าเสนอนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพ่ืออนุมัติแผน

7 วัน ความรู้ ประสบการณ์ของคณะท างาน

ต้ อ ง ด า เ นิ น ก า รภายในระยะเวลาที่ก าหนด

7. แจ้งแผนให้คณะกรรมการวางแผนและประเมินผล/กลุ่มงาน, ฝ่ายใน สสจ. ทราบและน าไปปฏิบัติ

คณะท างานโดยฝ่ายเลขานุการน าเสนอแผนที่ ผ่านการอนุมัติแล้วในที่ประชุมคณะกรรมการ วางแผนและประเมินผลจังหวัด โดยแจกแผนปฏิบัติการฉบับสมบูรณ์ให้คณะกรรมการฯ ทราบและน าไปปฏิบัติ

1 วัน การให้ความส าคัญของผู้บริหารทุกระดับในการร่วมรับรู้และ ขับเคลื่อนแผน

ความชัดเจนและการน าไปปฏิบัติได้ของแผนยุทธศาสตร์

7. ระบบติดตามการด าเนินงานตามแผน 7.1 ติดตามจากการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีของกลุ่มงาน/ฝ่ายใน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอและโรงพยาบาลทุกแห่ง ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการของจังหวัด 7.2 ติดตามโดยการนิเทศงานผสมผสานคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอ าเภอ (คปสอ.) ๒ ครั้ง/ป ี

8. แบบฟอร์มท่ีใช้ 8.1 แบบฟอร์มการจัดล าดับและความส าคัญของปัญหา 8.2 แบบฟอร์มการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี

9. เอกสารอ้างอิง (Reference Document) 9.1 แนวทางการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี (ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.สธ. )

10. แบบฟอร์มที่ใช้ (Form): 10.1 แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดท าแผน

11. เอกสารบันทึก (Record): 11.1 แบบประเมินผลแผนปฏิบัติการประจ าปี

Page 19: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

16

หลกัการเขียนโครงการให้มีคุณภาพ นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ผู้อ านวยการส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ ได้ให้ข้อแนะน าในการเขียนโครงการ

ว่ามีหลักการเช่นเดียวกับการเขียนแผนยุทธศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย 1. หลักการและเหตุผล (สภาพปัญหา) (Where are we now ?) ประกอบด้วย หลักการ ให้บอกว่า โครงการจะใช้หลักอะไรในการแก้ปัญหา เช่น โรคเบาหวาน เป็นแล้วอาจไม่รู้ตัวว่า

เป็นนานๆ อาจท าให้เกิด Complication ตามมา หลักการที่ใช้คือ ใช้หลักการค้นหาผู้ป่วยโดยการตรวจคัดกรอง เหตุผล คือบอกว่าท าไมต้องท าโครงการนี้ ซึ่งอาจเป็นเหตุผลจากเรื่องนโยบายก็ได้ 2. มี Goal, Objective, Target (Where will we want to be ?) Goal ใช้ในโครงการใหญ่ ในกรณีการเขียนวัตถุประสงค์ (Target) ถ้าเขียนวัตถุประสงค์เป็นรูปธรรม ชัดเจน

วัดได้ ไม่ต้องมี Target ก็ได้ ในบางกรณีอาจต้องพิจารณา Target อ่ืนด้วย อาทิ Population Target หรือเป้าหมายของโครงการประกอบด้วย

ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ เพ่ือให้หน่วยงานมีความสามัคคีมากข้ึน เป้าหมาย ใน 1 ปี ข้างหน้า บุคลากรในหน่วยงานต้องร่วมท าสาธารณประโยชน์.....ครั้ง 3. กลยุทธ์ กลวิธี กิจกรรม (How do we get there ?) ควรแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ

3.1 กลยุทธ์ กลวิธี / มาตรการ คือส่วนที่แสดงให้เห็นว่า จะต้องท าอะไรบ้างเพ่ือให้ได้ผลตามเป้าหมายที่วางไว้

3.2 กิจกรรม คือส่วนที่แสดงให้เห็นว่า จะต้องท าอย่างไร 4. การประเมินผล (How do we know we get there ? ) ต้องบอกว่าจะติดตามอย่างไร (Monitoring

and Evaluation) 4.1 Monitoring จะพิจารณาว่าโครงการมีความคืบหน้าเท่าไร ซึ่งดูจาก

- รายงานที่ส่งเข้ามาตามวาระที่ก าหนดไว้แน่นอน (Regular Report) - การจัดประชุมติดตาม (Meeting Report) - การออกไปติดตามในพ้ืนที่ด าเนินงานโครงการ

4.2 Evaluation ต้องแสดงให้เห็นถึง - ตัวชี้วัด (Indicator ) คือ อะไร การจัดท าตัวชี้วัดโยทั่วไปไม่ต้องคิดข้ึนมาใหม่อีกให้พิจารณาจากวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

- ที่มาของข้อมูล (Source ) มาจากไหน เช่น วัดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก เอาข้อมูลจาก รง.506

- ช่วงเวลาที่จะวัด (Timing) จะวัดเมื่อไร เช่น จะประเมินผลหลังสิ้นสุดโครงการ 5. ผลทีค่าดว่าจะได้รับ (Expected Outcome) คือสิ่งที่เกิดขึ้นเหนือจาก Target ที่ตั้งไว้ เช่น การให้

ความรู้เรื่องการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ผลที่คาดว่าจะได้รับคือ การแพร่เชื้อทางเพศสัมพันธ์ลดลง

Page 20: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

17

มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

เรื่อง การนิเทศงาน (Supervision) ของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

1. วัตถุประสงค์ เพ่ือให้กระบวนงานนิเทศ ก ากับติดตามงานของส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นไป ในทางเดียวกัน

2. ขอบเขต ครอบคลุมการด าเนินงาน นิเทศ ก ากับ ติดตาม กระบวนการด าเนินงานหรือเนื้องานส าคัญ เน้นการให้

ค าแนะน าแนวทางการด าเนินงานแต่ละกระบวนงานของหน่วยงานสาธารณสุขระดับอ าเภอ ต าบล ตั้งแต่การเตรียมผู้นิเทศ การจัดท ากรอบประเด็นการนิเทศ วิธีการนิเทศ ตามภารกิจของส านักงานสาธารณสุข จังหวัด ประกอบด้วย

1. การนิเทศระดับจังหวัดนิเทศ คปสอ. 2. การนิเทศระดับอ าเภอ คปสอ. นิเทศรพ.สต.

3. ค านิยาม การนิเทศงานหมายถึงการติดตามผลงาน ชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติ เสนอแนะ สังเกตการณ์ กระตุ้น

และส่งเสริมให้ผู้รับการนิเทศมีความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ เพ่ือให้มีการปรับปรุงการท างาน

4. ผู้รับผิดชอบ 4.1 หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ มีหน้าที่ประสานให้เกิดการนิเทศงานในจังหวัด 4.2 หัวหน้ากลุ่มงาน มีหน้าที่รับผิดชอบนิเทศงานในขอบเขตงานตามภาระงาน 4.3 ผู้รับผิดชอบการนิเทศและประเมินผล มีหน้าที่ประสานให้เกิดการนิเทศงานในจังหวัด 4.4 นักวิชาการในงานและกลุ่มงาน มีหน้าที่นิเทศงานในงานที่รับผิดชอบ

Page 21: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

18

5. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน (Work Flow)

Page 22: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

19

6. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติ กระบวนงาน นิเทศงานสาธารณสุข

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

1. แต่งตั้ง คณะท างาน นิเทศงาน

แต่งตั้งคณะท างาน นิเทศงาน ระดับจังหวัด/อ าเภอ ประกอบด้วย นายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัด (หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย) เป็น ประธานคณะท างาน ประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่ม งานหรือผู้แทน/หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์เป็นเลขานุการ หัวหน้างานนิเทศ ประเมินผลเป็นผู้ช่วยเลขานุการ

7 วัน - ผู้บริหารให้ความส าคัญ และสนับสนุนการ ด าเนินงาน

- กลุ่มงานมีความมุ่งม่ัน และมีผู้แทนที่มี ประสิทธิภาพ

นโยบาย

2. ศึกษาข้อมูลผล การด าเนินงานในปีที่ผ่านมาและแนวทางการนิเทศ ติดตามระดับกระทรวง เขตจังหวัด

วิเคราะห์ผลด าเนินงาน ในปีที่ผ่านมา ปัญหาการปฏิบัติงาน ทัง้ด้านบริหารจัดการและ วิชาการ รวมทั้งศึกษาแนว ทางการนิเทศติดตามงานตาม นโยบายรัฐบาล/กระทรวง/ เขต/จังหวัด

15 วัน - ความครบถ้วน ถูกต้อง ของการวิเคราะห์ข้อมูล ผลงาน และปัญหาการ ด าเนินงาน

- คุณภาพข้อมูล - ผลการประเมิน

3. ก าหนดขอบเขต ประเด็น และ ปฏิทินการนิเทศ

- ก าหนดวัตถุประสงค์ของการ นิเทศ

- ก าหนดประเด็นการนิเทศ �งานตามนโนบาย �งานตามประเด็นยุทธศาสตร์ �งานแก้ไขปัญหาพ้ืนที่ - ก าหนดปฏิทินการนิเทศ จงัหวดั

นิเทศอ าเภอ 2 ครั้ง/ แห่ง/ป ี ก่อนการรับตรวจราชการ และนิเทศงานระดับเขต อ าเภอนิเทศต าบล 2 ครั้ง/แห่ง/ป ี

15 วัน - ความชัดเจนของ ประเด็นการติดตาม นิเทศงานแต่ละระดับ

4. น าเสนอกรอบ/ รูปแบบการนิเทศ

- ก าหนดกรอบนิเทศเพ่ือติดตามความก้าวหน้าของงานตามประเด็นในข้อ 3

ช่วงเวลาเดียวกันกับข้อ 3

รายละเอียดการนิเทศ, เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความก้าวหน้า/ ผลการด าเนินงานที่ชัดเจน

Page 23: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

20

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

5. ประชุมชี้แจง ผู้นิเทศงานเพ่ือให้ การนิเทศงาน เป็นไปในแนวทาง เดียวกัน

- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ น าเสนอรายละเอียด วัตถุประสงค์ ประเด็นส าคัญ ของการนิเทศ รูปแบบและ แบบรายงานผลการนิเทศงาน

1 วัน ผู้นิเทศทุกคนศึกษา รายละเอียดล่วงหน้า เตรียมข้อมูลเพ่ือพัฒนา เรียนรู้ในกลุ่มผู้นิเทศ

ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ข อ ง ผู้นิเทศงาน

6. ด าเนินการนิเทศ ตามปฏิทินและ ขอบเขตท่ีก าหนด

- ผู้นิเทศงานด าเนินการนิเทศ ติดตามความก้าวหน้าตาม ก าหนด

- จัดท าเอกสารสรุปผลของ ผู้ นิเทศเพ่ือเป็นคู่มือการปรับปรุงแก้ไข

1 วัน/รอบ

ผู้นิเทศมีความมุ่งมั่นใน การติดตาม/แนะน าและสอนงานแก่ผู้รับการนิเทศ

7. สรุปผลการนิเทศ น าเสนอภาพรวมของจังหวัดเพ่ือการพัฒนางาน สาธารณสุขของ จังหวัด

- จัดประชุมสรุปผลภายใน 2 สัปดาห์ หลังการนิเทศแต่ละ รอบ

1 วัน/รอบ

การมสี่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการนิเทศ เพ่ือการ พัฒนางาน

Page 24: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

21

มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

เรื่อง กระบวนงานประเมินผล ของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

1. ความน า (หลักการและเหตุผล) ตามอ านาจหน้าที่ของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม

2545 ข้อ 3 ก าหนดให้ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด มีหน้าที่ในการก ากับ ดูแล ประเมินผล และสนับสนุนการปฏิบัติงานสาธารณสุข ในพ้ืนที่จังหวัด เพ่ือประเมินผลงานและผลลัพธ์ การพัฒนาสุขภาพประชาชนในจังหวัด รวมทั้งตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ก าหนดให้หน่วยงานราชการต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจ าปี รวมทั้งให้ความส าคัญกับระบบติดตามผลและแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ซึ่งภารกิจการประเมินผลเป็นภารกิจหลักของกลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์ ซึ่งต้องก าหนดแนวทางการด าเนินงานประเมินผลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

2. วัตถุประสงค์ เพ่ือเป็นแนวทางในการด าเนินงาน ประเมินผลงานด้านสาธารณสุข ของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้

เป็นไปอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ และด าเนินการในทิศทางเดียวกัน

3. ขอบเขต ครอบคลุมการประเมินผลการด าเนินงานสาธารณสุขทุกระดับ ตั้งแต่ระดับจังหวัด อ าเภอ ต าบล ประเมิน

เกี่ยวกับสถานสุขภาพ แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติงานประจ าปี การด าเนินงานตามนโยบายเร่งรัด รวมทั้งการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ทั้งนี้ ตั้งแต่การจัดตั้งคณะท างาน การจัดท ากรอบและประเด็น วิธีการก ากับ ติดตาม และประเมินผลตามภารกิจของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

4. ค านิยาม การประเมินผล : หมายถึง กระบวนการด าเนินงานด้านการควบคุม ก ากับ เพ่ือติดตามความก้าวหน้าของ

งานด้านภารกิจ รวมทั้งประเมินกระบวนการ และผลลัพธ์ด าเนินงานด้านสาธารณสุขส าเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม ่ซึ่งประเมินผลเกี่ยวกับ

4.1 ประเมินสถานะสุขภาพ 4.2 ประเมินผลตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัด 4.3 ประเมินผลตามแผนปฏิบัติงานประจ าปี/โครงการ 4.4 ประเมินผลการปฏิบัติงานตามค ารับรองการปฏิบัติราชการ 4.5 ประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายเร่งรัด

5. ผู้รับผิดชอบ 5.1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด : มีหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุดในองค์กรระดับจังหวัด ใช้อ านาจใน

การตัดสินใจ และมีบทบาทเป็นผู้น าองค์กร 5.2 หัวหน้ากลุ่มงาน : มีหน้าที่รับผิดชอบตามภารกิจของแต่ละกลุ่มงาน

Page 25: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

22

5.3 ผู้รับผิดชอบงานประเมินผล : มีหน้าที่เป็นผู้บริหารจัดการให้เกิดกระบวนงาน นิเทศ ติดตาม และ ประเมินผล ทุกระดับ

5.4 คณะท างานประเมินผล : มีหน้าที่เป็นคณะท างาน นิเทศ ติดตาม ประเมินผลของหน่วยงานที่เป็น ผู้แทน จากกลุ่มงานต่าง ๆ และหน่วยงานระดับอ าเภอ

5.5 ผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : มีหน้าที่ประเมินผล แผนงานที่รับผิดชอบ

๖. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Work Flow)

Page 26: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

23

๗. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานประเมินผล

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

1. จัดตั้งคณะท างานประเมินผล

จัดตั้งคณะท างานนิเทศติดตามและประเมินผลโดยมีนักวิชาการของกลุ่มงาน และตัวแทน คปสอ.ร่วมเป็นคณะท างาน

5 วัน 1. ผู้บริหารเป็นประธานคณะท างาน

2. ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นคณะท างาน

2. ทบทวนวรรณกรรมข้อมูลและแนวทางการนิเทศติดตามและประเมินผล

1. คณะท างนศึกษาและรวบรวมปัญหาอุปสรรคในการนิเทศติดตามและประเมินผลในปีที่ผ่านมา

2. ศึกษากรอบแนวทางการประเมินผล - ประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ - ประเมินผลแผนปฏิบัติงาน

ประจ าปี - ประเมินผลการปฏิบัติ

ราชการประจ าปี - ประเมินผลตามนโยบาย

เร่งรัดประจ าปี - ประเมินตามแผนการตรวจ

ราชการ (ส านักนายกรัฐมนตรี, มหาดไทย, ส านักตรวจกระทรวงสาธารณสุข

- ก าหนดแนวทาง/กรอบการตรวจราชการภายใน จังหวัด -> อ าเภอ -> ต าบล)

10 วัน - มีข้อมูลการนิเทศและการประเมินผลในปีที่ผ่านมาอย่างเป็นระบบ

- มีแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการประจ าปีที่ก าหนดขั้นตอนการด าเนินงานและผลส าเร็จของงาน

แนวทางและวัตถุประสงค์ของการนิเทศติดตามและประเมินผลที่ชัดเจน

3. ก าหนดรูปแบบค านิยาม ขอบเขตการประเมินผล

คณะท างานด าเนินการ 1. ระดมสมองก าหนดรูปแบบ

การประเมินผล - ประเมินผลตามระยะเวลา

ก่อน,ระหว่าง และหลังด าเนินงาน

- ประเมินตามกระบวนการปัจจัยน าเข้า กระบวนงานผลลัพธ์

10 วัน ตัวชี้วัดที่สามารถวัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัด สามารถจัดเก็บข้อมูลได้

1. มีแผนนิเทศติดตามและประเมินผล

2. มีการจัดท าTemplate ตัวชี้วัด

Page 27: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

24

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

- ประเมินการบริการจัดการ - ประเมินตาม CIPPModel

2. ก าหนดตัวชี้วัดเพ่ือการประเมินผลงานในภาพกว้างทุกระดับโดยใช้แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์รวมทั้งตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ส่วนกลางเป็นเจ้าภาพ ตัวชี้วัดของการตรวจราชการและในค ารับรองการปฏิบัติราชการ

3. ก าหนดระยะเวลาการด าเนินงานเพื่อติดตามความก้าวหน้าการด าเนินงาน

4. วางแผนการประเมินผลภาพรวมและวางแผนประเมินผลโครงการ

คณะท างาน - ด าเนินการวางแผนติดตาม

และประเมินผลผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการ

- วางแผนติดตามและประเมินผลแผนงาน/โครงการ

3 วัน คณะท างานและ ผู้รับผิดชอบแผนงาน/ โครงการต้องมีองค์ ความรู้เพ่ือการวางแผนนิเทศ ติดตามและประเมินผล

ทุกโครงการ ต้องมีการ วางแผน ประเมินผล นิเทศกิจกรรม

5. พิจารณาจัดท าเครื่องมือประเมินผล

ผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการจัดท าเครื่องมือ

7 วัน ผู้รับผิดชอบแผนงาน/ โครงการต้องมีองค์ความรู้ในเรื่องการจัดท าเครื่องมือ

ผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการจัดท าเครื่องมือครอบคลุมแนวทางและวัตถุประสงค์ของการนิเทศติดตามประเมินผล

6. พิจารณาเครื่องมือให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

คณะท างานพิจารณา/ให้ข้อเสนอแนะการใช้เครื่องมือผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการน าเสนอการแก้ไขเครื่องมือ (กรณีไม่ผ่าน)

2 วัน การมีส่วนร่วมแผนการให้ความร่วมมือของคณะท างาน/ผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการ

7. ด าเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและน าไปวิเคราะห์

ผู้รับผิดชอบโครงการ - ใช้เครื่องมือด าเนินการจัดเก็บ

รวบรวมข้อมูลตามกลุ่มเป้าหมายที่ก าหนดไว้ในการวางแผนประเมินผล

8 – 9 เดือน

(หรือเป็นไตรมาส)

- การจัดสรรเวลาให้เหมาะสมกับการจัดเก็บ

- มีองค์ความรู้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล

Page 28: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

25

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

- รวบรวมข้อมูล น าไปวิเคราะห์คณะท างาน

- น าข้อมูลภาพรวมมาเปรียบเทียบกับตัวขี้วัดหรือเป้าหมายในแผนยุทธศาสตร์

8. สรุปผลการประเมินน าเสนอผู้บริหาร/จัดท ารายงาน/เผยแพร่

- คณะท างานพิจารณาผลการประเมินว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ระบุปัจจัยแห่งความส าเร็จหรือล้มเหลว

- กรณีผลการประเมินไม่ชัดเจน ไม่น่าเชื่อถือ หรือไม่ตอบวัตถุประสงค์ควรยกเลิกโครงการนั้น

- คณะท างานจัดเวทีน าเสนอ/เผยแพร่ผลการประเมินเป็นเอกสาร เว็ปไซต์ฯลฯ

10 วัน - การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องและทุกฝ่ายมีความเป็นกลาง

9. ตัดสินใจทางเลือกท่ีเหมาะสมในการบริหารจัดการและก าหนดเป็นนโยบาย

นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพิจารณาผลการประเมินผลน าไปตัดสินใจทางเลือกท่ีเหมาะสมในการบริหารจัดการและก าหนดเป็นนโยบายของจังหวัด

Page 29: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

26

มาตรฐานปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedures : SOP) เรื่อง กระบวนงานประสานการตรวจราชการ

ตามนัยแห่งระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 ข้อ 8 การตรวจราชการตามระเบียบนี้ ให้ด าเนินการตามแผนการตรวจราชการประจ าปีตามรอบปีงบประมาณ กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ก าหนดแนวทางการตรวจราชการระดับกระทรวงให้สอดคล้องกับแผนการตรวจราชการระดับประเทศ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งก าหนดมาตรฐาน และเครื่องมือในการตรวจติดตามเพ่ือให้เป็นทิศทางในการติดตาม ก ากับ และประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานส่วนภูมิภาคในการน านโยบายที่เป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขด้านสุขภาพไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยก าหนดให้ภารกิจประสานการตรวจราชการ เป็นบทบาทภารกิจของกลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อเป็นแนวทางในการด าเนินงานประสานการตรวจราชการของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด 1.2 เพ่ือเป็นแนวทางให้ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดพัฒนาระบบการตรวจราชการ นิเทศงาน ให้

สอดคล้องกับระบบการตรวจราชการของประเทศและกระทรวงสาธารณสุข โดยประสานกันในทุกระดับคือ ระดับกระทรวง กรมและจังหวัด

1.3 เพ่ือวัดผลการปฏิบัติงานและผลสัมฤทธิ์ ของการปฏิบัติตามนโยบายที่ส าคัญ และการแก้ไขปัญหา สาธารณสุขในแต่ละพ้ืนที่

2. ขอบเขต การประสานการตรวจราชการ ครอบคลุมการตรวจราชการ ดังนี้ 1) การตรวจราชการของส านักนายกรัฐมนตรี 2) การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย 3) การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข จ าแนกเป็น 4 ประเภท

3.1) การตรวจราชการกรณีปกติ 3.2) การตรวจราชการแบบบูรณาการ 3.3) การตรวจราชการกรณีพิเศษ 3.4) การตรวจราชการกรณีเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์

๓. ค านิยาม การตรวจราชการของส านักนายกรัฐมนตรี หมายถึง : การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย หมายถึง : การตรวจราชการกรณีปกติ หมายถึง การตรวจติดตามงานที่เป็นนโยบายรัฐบาลด้านสุขภาพตามยุทธศาสตร์

กระทรวงสาธารณสุขซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนงาน/โครงการส าคัญที่จัดท าค ารับรองการปฏิบัติราชการ รวมทั้งการตรวจราชการเชิงลึกในเรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพ้ืนที่เฉพาะเขตตรวจราชการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการด าเนินงานของหน่วยงานในพื้นท่ีหรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ปีละ 2 ครั้ง

Page 30: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

27

การตรวจราชการแบบบูรณาการ หมายถึง การตรวจราชการตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย

การตรวจราชการแบบบูรณาการ เป็นกระบวนการติดตามและประเมินผลเพื่อผลักดันให้เกิดการผนึกก าลัง ทั้งในด้านประสิทธิผล ประสิทธิภาพ คุณภาพการบริการและขีดสมรรถนะระหว่างส่วนราชการไปสู่การบรรลุผลส าเร็จตามประเด็นนโยบาย ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ในทุกพ้ืนที่ที่เก่ียวข้องและตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

การตรวจราชการกรณีพิเศษ หมายถึง การตรวจราชการนอกเหนือจากการตรวจราชการกรณีปกติ ที่ไม่ได้ก าหนดไว้ในแผนการตรวจราชการ

การตรวจราชการกรณีเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ หมายถึง การตรวจราชการเพ่ือแสวงหาข้อเท็จจริงให้เจ้าหน้าที่หรือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติของผู้มีอ านาจหรือจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ และแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนของประชาชน อันเกิดจากการด าเนินการของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ

4. ผู้รับผิดชอบ 4.1 นายแพทย์สาธารณสุข มีหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุดในองค์กรระดับจังหวัด ใช้อ านาจในการตัดสินใจ

และมีบทบาทเป็นผู้น าองค์กร 4.2 หัวหน้ากลุ่มงาน มีหน้าที่รับผิดชอบตามภารกิจของกลุ่มงาน 4.3 ผู้รับผิดชอบประสานการตรวจราชการ มีหน้าที่บริหารจัดการและเป็นผู้ประสานการตรวจราชการ

Page 31: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

28

5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนงานประสานการตรวจราชการ 5.1 ประสานการตรวจราชการของส านักนายกรัฐมนตรี/ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย

Page 32: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

29

5.2 ประสานการตรวจราชการและนิเทศงานของกระทรวงสาธารณสุข

Page 33: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

30

6. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนงานประสานการตรวจราชการ 6.1 ประสานการตรวจราชการของส านักนายกรฐัมนตรี/ผูต้รวจราชการกระทรวงมหาดไทย

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

1. จัดตั้งคณะท างานประสานการตรวจราชการ

จัดตั้งคณะท างานประสานการตรวจราชการโดยมีนักวิชาการของกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะท างาน

3 วัน 1. ผู้บริหารเป็นประธานคณะท างาน

2. ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นคณะท างาน

2. ศึกษากรอบ แนวทางการตรวจราชการของส านักนายกรัฐมนตร/ีผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย

หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์และผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการด าเนินการศึกษากรอบแนวทางการตรวจราชการ

3 วัน

3. ตรวจสอบความสอดคล้องของแผนงานภารกิจที่ส าคัญของการตรวจราชการ

หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์และผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการตรวจสอบความสอดคล้องของแผนงาน ภารกิจที่ส าคัญของการตรวจราชการกับแผนยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติการประจ าปีของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

2 วัน มีแผนยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติการประจ าปีที่ท าอย่างเป็นระบบ

4. ประสานการจองที่พัก อาหาร ห้องประชุม ยานพาหนะ และการเตรียมงบประมาณ

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการด าเนินการ

5 วัน

5. ประสานกลุ่มงาน/หน่วยงาน/องค์กรทีเ่กี่ยวข้องถึงแนวทางการตรวจ-ราชการและการเตรียมข้อมูลรับการตรวจราชการ

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการ ประสานการเตรียมข้อมูล ด าเนนิการรวบรวมข้อมูล/เอกสารรับการตรวจราชการ

2 วัน กลุ่มงาน/หน่วยงาน/ องค์กรที่เก่ียวข้อง สามารถวิเคราะห์ กระบวนการ ด าเนินงานที่ส าคัญที่ ส่งผลกระทบต่อ ผลสัมฤทธิ์

แผนงาน/โครงการที่เป็นภารกิจที่ส าคัญ ของการตรวจราชการต้องมีกระบวนการ ด าเนินงานและมี การประเมินผลสัมฤทธิ์

Page 34: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

31

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

6. ด าเนินการรวบรวมข้อมูลจัดท าเป็นรูปเล่มเอกสาร/การน าเสนอเสนอให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพิจารณา จากนั้นส่งเอกสารไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการและคณะท างานประสานการตรวจราชการด าเนินการรวบรวมข้อมูลจัดท ารูปเล่มเอกสาร/น าเสนอ

5 วัน คณะท างานและ ผู้รับผิดชอบสามารถ จัดท าเอกสาร/การ น าเสนอระบวนการ ด าเนินงานที่แสดงถึงกระบวนงานที่ส าคัญที่ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์

7. แจ้งผู้บริหาร/ประสานกลุ่มงาน/หน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้องรับการตรวจราชการ

ผู้รับผิดชอบงานประสาน การตรวจราชการด าเนินการ

2 วัน

8. ประสานผู้เกี่ยวข้องในการด าเนินการปรับปรุงแก้ไขและการรายงานผลการด าเนินงาน ตามข้อสั่งการของผู้ตรวจราชการไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการ แจ้งข้อสั่งการละการรายงานผล

2 วัน ผู้เกี่ยวข้องปรับปรุง งานตามข้อสั่งการ

9. น าเสนอสรุปผลการตรวจราชการในการประชุม กวป.หรือ คปสจ.

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการ ประสานการน าวาระเข้าที่ประชุม

1 วัน

Page 35: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

32

6.2 ประสานการตรวจราชการและนิเทศงานของกระทรวงสาธารณสุข

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

1. เข้ารับฟังการประชุมชี้แจงจากส านักตรวจราชการ

หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์และผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการเข้ารับฟังการชี้แจงจากส านักตรวจราชการ เพ่ือรับทราบภารกิจ ประเด็นหลักส าคัญ แนว ทางการจัดเตรียมข้อมูลและประสานการ ด าเนินงานอ่ืน ๆ

2 วัน ความสมบูรณ์ของ เอกสาร แผนการ ตรวจราชการและ นิเทศงาน

2. ศึกษากรอบแนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน ประสาน/แจ้งผู้เกี่ยวข้อง

หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์และผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการ 1. ศึกษากรอบแนวทาง/เอกสาร

การตรวจราชการ 2. ก าหนดผู้รับผิดชอบหัวข้อการ

ตรวจราชการในระดับจังหวัดพร้อมท าค าสั่งแต่งตั้ง

3. ประชุมชี้แจงหัวหน้ากลุ่มงาน/บุคลากร ผู้รับผิดชอบหัวข้อการตรวจราชการ รายละเอียดตามเอกสารคู่มือการตรวจราชการและนิเทศงาน รวมทั้งการออกแบบเอกสารและการน าเสนอ

4. ประชุมชี้แจงแนวทางการตรวจราชการ และนิเทศงาน การเตรียมการรับการตรวจราชการและผลการด าเนินงานแก่ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัดและอ าเภอ

14 วัน ความสมบูรณ์ของ เอกสาร แผนการ ตรวจราชการและ นิเทศงาน ระดับ จังหวัด

แนวทางและ วัตถุประสงค์ของ แผนการตรวจ ราชการและนิเทศ งานที่ชัดเจน

3. ประสานส านักงานจังหวัด/หนว่ยงาน/กลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงพ้ืนที่เตรียมรับการตรวจราชการและนิเทศงาน

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการประสานแจ้งก าหนดการตรวจราชการและการเตรียมพร้อมรับการตรวจ อาทิ ข้อมูลเอกสารและพ้ืนที่การตรวจเยี่ยม

2 วัน ความร่วมมือและการประสานงานที่ดีของเครือข่ายบริการ สุขภาพและหน่วยงานอื่นๆ ทีเ่กี่ยวข้อง อาท ิอปท./ภาคประชาชน

การน าเสนอข้อมูล และประเด็นการ ตรวจงานในพื้นที่ ที่ตอบสนองต่อ วัตถปุระสงค์ของ การตรวจราชการ

Page 36: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

33

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

4. ประสานการจองที่พัก อาหาร ห้องประชุม ยานพาหนะและการเตรียมประมาณ

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการด าเนินการ

5 วัน

5. ด าเนินการรวบรวมข้อมูลจัดท าเป็นรูปเล่มเอกสาร/การน าเสนอ เสนอให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพิจารณา จากนั้นส่งเอกสารให้ส านักตรวจราชการก่อนการตรวจราชการอย่างน้อย 3 วัน

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการ และด าเนินการรวบรวมข้อมูล/เอกสารจากผู้เกี่ยวข้อง จัดท ารูปเล่มเอกสาร/น าเสนอ เสนอนายแพทย์-สาธารณสุขจังหวัดพิจารณา

10 วัน ความร่วมมือและการประสานงานที่ดีของผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงานและบุคคลากรที่เกี่ยวข้อง

การน าเสนอข้อมูลและประเด็นการ ตรวจราชการที่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของ การตรวจราชการ

6. แจ้งผู้บริหาร/ประสานกลุ่มงาน/หน่วยงาน/องค์กรที่เก่ียวข้องรับ การตรวจราชการ

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการด าเนินการแจ้งผู้บริหารระดับจังหวัด อ าเภอและผู้เกี่ยวข้อง

2 วัน

7. สรุปผลการตรวจราชการ ข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไข และการเบิกจ่ายงบประมาณให้แล้วเสร็จภายใน 5 วัน หลังการตรวจราชการ

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการด าเนินการ

5 วัน การวิเคราะห์ ข้อเสนอแนะและการปรับปรุงแก้ไขที่ชัดเจน สามารถน าสู่การปฏิบัติได้

8. น าเสนอผลการตรวจราชการในการประชุม กวป./คปสจ.

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการประสานการน าวาระเข้าที่ประชุม

1 วัน

Page 37: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

34

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

9. ประสานผู้เกี่ยวข้องด าเนินการปรับปรุงแก้ไข และการรายงานผลการด าเนินงานตามข้อสั่งการของผู้ตรวจ-ราชการ

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการด าเนินการ

2 วัน

10. รายงานผลการด าเนินงานตามข้อสั่งการของผู้ตรวจราชการ

ผู้รับผิดชอบงานประสานการตรวจราชการ จัดท ารายงานผลการด าเนินงานตามข้อสั่งการโดยประสาน รวบรวมข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้อง 2 ครั้ง/ ปี

5 วัน การรายงานผลที่ ครอบคลุมข้อสั่งการ และแสดงผลสัมฤทธิ์/ ผลผลิตที่เพ่ิมขึ้นภายหลังการปรับปรุง และพัฒนา

8. ระบบติดตามประเมินผล 8.1 จากเอกสารสรุปผลการตรวจราชการ รอบครึ่งปี และประจ าปีงบประมาณ 8.2 จากเอกสารข้อสั่งการของผู้ตรวจราชการ

9. แบบฟอร์มท่ีใช้ 9.1 แบบฟอร์มการตรวจราชการ (แบบ ตก1, ตก.2) 9.2 สมุดตรวจราชการ

10. เอกสารอ้างอิง (Reference Document) แผนการตรวจราชการประจ าปีของส านักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงสาธารณสุข

Page 38: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

35

มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP)

งานระบาดวิทยา (Epidemiology) ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด

1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพ่ือเป็นแนวทางในการด าเนินงานระบาดวิทยาของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด 1.2 เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการงานระบาดวิทยาและการป้องกันควบคุมโรคให้บรรลุตามเป้าหมาย

2. ขอบเขต ครอบคลุมการด าเนินงานทางระบาดวิทยา 3 กระบวนการหลัก ดังนี้

2.1 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Epidemiological Surveillance) 2.2 การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological Investigation) 2.3 การศึกษาทางระบาดวิทยา (Epidemiological Study)

3. ค านิยาม 3.1 ระบาดวิทยา หมายถึง การศึกษาลักษณะการเกิด การกระจายของโรคภัยไข้เจ็บในกลุ่มชนตลอดจนสาเหตุและปัจจัยหรือตัวก าหนดที่ท าให้เกิดและแพร่กระจายของโรคนั้น 3.2 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา หมายถึง การติดตามสังเกตพินิจพิจารณาลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของโรค และเหตุการณ์หรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการที่เป็นระบบและมีขั้นตอน ประกอบด้วย การรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ แปลผล และกระจายข้อมูลข่าวสารสู่ผู้ใช้ประโยชน์ เพ่ือการวางแผนก าหนดนโยบายการปฏิบัติงานและการประเมินมาตรการควบคุมป้องกันโรคอย่างมีประสิทธิภาพ 3.3 การสอบสวนทางระบาดวิทยา หมายถึง การด าเนินงานหรือกิจกรรมต่างๆ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเกิดโรค ภัย ไข้ เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกติที่เป็นปัญหาสาธารณสุข ด้วยวิธีการรวบรวมข้อมูลรายละเอียดในทางระบาดวิทยา สิ่งแวดล้อม และการชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ เพ่ือให้ได้ความรู้ที่สามารถอธิบายถึงสาเหตุของการเกิดโรค ภัย ไข้ เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกตินั้นได้ โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์และสถิติ ที่มีเหตุผลเชื่อถือและพิสูจน์ได้ 3.4 การศึกษาทางระบาดวิทยา หมายถึง การด าเนินการจัดให้มีการศึกษาหาสาเหตุ หรือปัจจัยการเกิดการเจ็บป่วย โดยใช้เทคนิคทางระบาดวิทยา ใช้ในกรณีท่ีมีการด าเนินการสอบสวนทางระบาดวิทยาแล้วไม่สามารถระบุสาเหตุหรือปัจจัยได้อย่างชัดแจ้ง เพื่อน าไปใช้ในการวางแผนแก้ไขในแนวกว้างต่อไป

4. ผู้รับผิดชอบ 4.1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด มีหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุดในองค์กรระดับจังหวัดใช้อ านาจในการตัดสินใจและมีบทบาทเป็นผู้น าองค์กร 4.2 หัวหน้ากลุ่มงาน มีหน้าที่รับผิดชอบตามภารกิจของกลุ่มงาน

Page 39: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

36

4.3 ผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยา มีหน้าที่เป็นผู้ประสาน/ด าเนินการ สนับสนุนและรับผิดชอบการด าเนินงานทางระบาดวิทยา 3 กระบวนงานหลัก ดังนี้ การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การสอบสวนทางระบาดวิทยา และการศึกษาทางระบาดวิทยา

5. ขั้นตอนการปฏิบัติงานระบาดวิทยา

Page 40: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

37

5.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

Page 41: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

38

5.2 ขั้นตอนการปฏิบัติงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา

Page 42: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

39

5.3 ขั้นตอนการปฏิบัติงานศึกษาทางระบาดวิทยา

Page 43: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

40

6. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระบาดวิทยา

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

1. จัดตั้ง/ทบทวนคณะท างาน

- จัดตั้ง/ทบทวนคณะกรรมการและคณะท างานระบาดวิทยา

- ประชุมคณะท างาน

- 1 ครั้ง/ป ี

- 1 ครั้ง/เดือน

- องค์ประกอบครอบคลุมภาคีเครือข่าย

- ศักยภาพของคณะท างาน

ความสม่ าเสมอและต่อเนื่องของคณะท างาน

2. ทบทวนองค์ความรู้ ทฤษฎี และข้อมูลต่างๆ รวมทั้งธรรมชาติของการเกิดโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

คณะท างานศึกษาและทบทวนองค์ความรู้ ทฤษฎี และข้อมูลต่างๆ รวมทั้งธรรมชาติของการเกิดโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

ทันสถานการณ ์

การจัดการองค์ความรู้ (KM)

การเผยแพร่ความรู้

3. ก าหนดรูปแบบนิยาม ขอบเขต และแนวทางการด าเนินงาน

จัดท าระบบงานและคู่มือการปฏิบัติงานแก่ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ

กระบวนการจัดท าโดโดยความเห็นชอบและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย

การถ่ายทอดและน าสู่การปฏิบัติ

4. ประสานงานด าเนินการ และสนับสนุนการด าเนินงาน 1) การเฝ้าระวังโรค 2) การสอบสวนโรค 3) การศึกษาทาง

ระบาดวิทยา

ประสานงาน ด าเนินการ และสนับสนุนการด าเนินงานระบาดวิทยาตามขั้นตอนต่างๆ

ทันสถานการณ์

ประสิทธิภาพของ SRRT และคณะท างาน

การสื่อสารและควบคุมก ากับ

5. การพัฒนาระบบและเครือข่ายงานระบาดวิทยา

- ประเมินและพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง (Assessment)

- การพัฒนาศักยภาพบุคลากร/ทีมงาน

- การสนับสนุนทรัพยากร

นโยบาย/กลไกการบริหารจัดการ

การประเมินผลและการบริหารผลการปฏิบัติราชการ

6. การก ากับ ติดตามประเมินและสรุปผล

- การรายงานสถานการณ์ทางระบาดวิทยา

- การวิเคราะห์/สังเคราะห์ผลการด าเนินงาน

- การแก้ไขปัญหา/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

1 ครั้ง/เดือน

นโยบาย/กลไก การบริหารจัดการ

การประเมินผลและการบริหารผลการปฏิบัติราชการ

Page 44: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

41

ขั้นตอน รายละเอียด ระยะเวลา ปัจจัย

ความส าเร็จ จุดควบคุมความเสี่ยง

7. จัดท ารายงานประจ าปี และเผยแพร่ผลงาน

- สรุปรายงานทางระบาดวิทยา - การวิเคราะห์สภาพปัญหาปัจจยั

แห่งความส าเร็จ/ไม่ส าเร็จ - ข้อเสนอแนะ - การเผยแพร่รายงานประจ าปี

1 ครั้ง/ปี (แล้วเสร็จภายใน 3 เดือน หลัง

สิ้นปี)

- คุณภาพของรายงาน

- การใช้ประโยชน์

ความทันเวลา (ระยะเวลาในการแล้วเสร็จ)

7. มาตรฐานและตัวชี้วัดงานระบาดวิทยาส าหรับรายงานแต่ละระดับ การด าเนินงานระบาดวิทยามีกิจกรรมที่ส าคัญคือ การเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์และปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบของการเกิดโรค การสอบสวนโรค และการศึกษาทางระบาดวิทยา เพ่ือน าองค์ความรู้และข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาไปใช้ในการก าหนดนโยบายและควบคุมป้องกันโรค มาตรฐานงานระบาดวิทยาจึงประกอบด้วยตัวชี้วัดที่ประเมินประสิทธิภาพงานระบาดวิทยาทั้ง 3 กิจกรรมดังกล่าว เนื่องจากลักษณะงานระบาดวิทยาของหน่วยงานแต่ละระดับมีความแตกต่างกันและด าเนินงานร่วมกันเป็นเครือข่าย ดังนั้น การประเมินมาตรฐานงานระบาดวิทยาจึงก าหนดให้ประเมินตามตัวชี้วัดผลการด าเนินงานหลักทางระบาดวิทยาที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่การด าเนินงานทางระบาดวิทยาของหน่วยงานแต่ละระดับ ดังนี้

ตัวช้ีวัด สอ./ รพ.สต.

รพ. สสอ. สสจ.

1. มาตรฐานการเฝ้าระวังโรค 1.1 มีความครอบคลุมของหน่วยงานที่ส่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง - - ป ป 1.2 มีความครบถ้วนของผู้ป่วยที่รายงานด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ป ป - - 1.3 มีความทันเวลาของการรายงานโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ป ป ป ป 1.4 มีการจัดท าสถานการณ์โรคที่ส าคัญและเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง ป ป ป ป 1.5 มีการให้ข้อเสนอแนะเพ่ือเตือนภัยจากการตรวจสอบสถานการณ์โรค - - ป ป

2. มาตรฐานการสอบสวนโรค 2.1 มีความครบถ้วนของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ป ป ป ป 2.2 มีความทันเวลาของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ป ป ป ป 2.3 มีความทันเวลาของการได้รับแจ้งข่าวการระบาด - - ป ป 2.4 มีความครบถ้วนของการสอบสวนทางระบาด - ป ป ป 2.5 มีการสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ - ป ป ป 2.6 มีการให้ข้อเสนอแนะจากรายงานสอบสวนการระบาด - - - - 2.7 มีการสังเคราะห์องค์ความรู้จากสรุปรายงานการสอบสวนโรค - - - ป

3. มาตรฐานการพัฒนาเครือข่าย 3.1 หน่วยงานในเครือข่ายที่ยังไม่เคยรับการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน - ป ป ป 3.2 หน่วยงานในเครือข่ายที่ไม่ผ่านเกณฑ์และสามารถพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ได้ - ป ป ป 3.3 หน่วยงานในเครือข่ายที่เคยผ่านเกณฑ์แล้วยังรักษามาตรฐานไว้ได้ - ป ป ป

หมายเหตุ: ป หมายถึง ต้องประเมิน - หมายถึง ไม่ต้องประเมิน

Page 45: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

42

การก าหนดตัวชี้วัดและวิธิคิดคะแนนเพื่อประเมินมาตรฐาน ตัวช้ีวัด วิธีคิดคะแนน

1. มาตรฐานการเฝ้าระวังโรค 1.1 มีความครอบคลุมของหน่วยงาน

ที่ส่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง

3 มีความครอบคลุมของหน่วยงานที่รายงานโรค > ร้อยละ 80 2 มีความครอบคลุมของหน่วยงานที่รายงานโรค ร้อยละ 60 - 79 1 มีความครอบคลุมของหน่วยงานที่รายงานโรค ร้อยละ 40 - 59 0 มีความครอบคลุมของหน่วยงานที่รายงานโรค < ร้อยละ 40

1.2 มีความครบถ้วนของผู้ป่วยที่รายงานด้วยโรคติดต่อที่ต้อง เฝ้าระวัง

3 จ านวนผู้ป่วยที่รายงานมีความครบถ้วน > ร้อยละ 80 2 จ านวนผู้ป่วยที่รายงานมีความครบถ้วน ร้อยละ 60 - 79 1 จ านวนผู้ป่วยที่รายงานมีความครบถ้วน ร้อยละ 40 - 59 0 จ านวนผู้ป่วยที่รายงานมีความครบถ้วน < ร้อยละ 40

1.3 มีความทันเวลาของการรายงานโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง

3 มีบัตรรายงาน/ record ส่งทันเวลา > ร้อยละ 80 2 มีบัตรรายงาน/ record ส่งทันเวลา ร้อยละ 60 - 79 1 มีบัตรรายงาน/ record ส่งทันเวลา ร้อยละ 40 - 59 0 มีบัตรรายงาน/ record ส่งทันเวลา < ร้อยละ 40

1.4 มีการจัดท าสถานการณ์โรคท่ีส าคัญและเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง

3 มีการจัดท าสถานการณ์โรคและเผยแพร่ 49 – 52 สัปดาห์ หรือ 11 – 12เดือน 2 มีการจัดท าสถานการณ์โรคและเผยแพร่ 25 – 48 สัปดาห์ หรือ 6 – 10 เดือน 1 มีการจัดท าสถานการณ์โรคและเผยแพร่ 1 – 24 สัปดาห์ หรือ 1 – 5 เดือน 0 ไมม่ีการจัดท าสถานการณ์โรคและเผยแพร ่

1.5 มีการให้ข้อเสนอแนะเพ่ือเตือนภัยจากการตรวจสอบสถานการณ์โรค

มีข้อเสนอแนะเตือนภัยและข้อมูลสถานการณ์โรคที่ตรวจสอบในรายงานเฝ้าระวัง จ านวน

3 49 – 52 สัปดาห์ หรือ 11 – 12 เดือน 2 25 – 48 สัปดาห์ หรือ 6 – 10 เดือน 1 1 – 24 สัปดาห์ หรือ 1 – 5 เดือน 0 ไม่มีข้อเสนอแนะเตือนภัยและข้อมูลสถานการณ์โรคที่ตรวจสอบใน

รายงานเฝ้าระวัง 2. มาตรการสอบสวนโรค 2.1 มีความครบถ้วนของการ

สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย 3 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายครบ > ร้อยละ 80 2 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายครบ ร้อยละ 60 - 79 1 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายครบ ร้อยละ 40 - 59 0 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายครบ < ร้อยละ 40

2.2 มีความทันเวลาของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย

3 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายทันเวลา > ร้อยละ 80 2 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายทันเวลา ร้อยละ 60 - 79 1 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายทันเวลา ร้อยละ 40 - 59 0 มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายทันเวลา < ร้อยละ 40

2.3 มีความทันเวลาของการได้รับแจ้งข่าวการระบาด

3 ได้รับแจ้งข่าวการระบาดทันเวลา > ร้อยละ 80 2 ได้รับแจ้งข่าวการระบาดทันเวลา ร้อยละ 60 - 79

Page 46: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

43

ตัวช้ีวัด วิธีคิดคะแนน 1 ได้รับแจ้งข่าวการระบาดทันเวลา ร้อยละ 40 - 59 0 ได้รับแจ้งข่าวการระบาดทันเวลา < ร้อยละ 40

2.4 มีความครบถ้วนของการสอบสวนทางระบาด

3 มีการสอบสวนการระบาดครบ > ร้อยละ 80 2 มีการสอบสวนการระบาดครบ ร้อยละ 60 - 79 1 มีการสอบสวนการระบาดครบ ร้อยละ 40 - 59 0 มีการสอบสวนการระบาดครบ < ร้อยละ 40

2.5 มีการสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ 3 มีการสอบสวนโรคที่ครบตามเงื่อนไข > ร้อยละ 50 2 มีการสอบสวนโรคที่ครบตามเงื่อนไข ร้อยละ 35 - 49 1 มีการสอบสวนโรคที่ครบตามเงื่อนไขร้อยละ 20 - 34 0 มีการสอบสวนโรคที่ครบตามเงื่อนไข < ร้อยละ 20

2.6 มีการให้ข้อเสนอแนะจากรายงานสอบสวนการระบาด

3 ให้ข้อเสนอแนะจากรายงานสอบสวนการระบาดได้ > ร้อยละ 80 2 ให้ข้อเสนอแนะจากรายงานสอบสวนการระบาดได้ ร้อยละ 60 - 79 1 ให้ข้อเสนอแนะจากรายงานสอบสวนการระบาดได้ ร้อยละ 40 - 59 0 ให้ข้อเสนอแนะจากรายงานสอบสวนการระบาดได้ < ร้อยละ 40

2.7 มีการสังเคราะห์องค์ความรู้จากสรุปรายงานการสอบสวนโรค

3 มีการสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานการสอบสวนโรค > 1 เรื่อง/ปี 0 ไม่มีการสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานการสอบสวนโรค

3. มาตรฐานการพัฒนาเครือข่าย 3.1 หน่วยงานในเครือข่ายที่ยังไม่

เคยรับการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน

3 หน่วยงานที่ยังไม่เคยรับการประเมินผ่านเกณฑ์ > ร้อยละ 80 2 หน่วยงานที่ยังไม่เคยรับการประเมินผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 - 79 1 หน่วยงานที่ยังไม่เคยรับการประเมินผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 - 59 0 หน่วยงานที่ยังไม่เคยรับการประเมินผ่านเกณฑ์ < ร้อยละ 40

3.2 หน่วยงานในเครือข่ายที่ไม่ผ่านเกณฑ์และสามารถพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ได้

3 หน่วยงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาแต่ผ่านเกณฑ์ในปีนี้ > ร้อยละ 80 2 หน่วยงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาแต่ผ่านเกณฑ์ในปีนี้ ร้อยละ 60 - 79 1 หน่วยงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาแต่ผ่านเกณฑ์ในปีนี้ ร้อยละ 40 - 59 0 หน่วยงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาแต่ผ่านเกณฑ์ในปีนี้ < รอ้ยละ 40

3.3 หน่วยงานในเครือข่ายที่เคยผ่านเกณฑ์แล้วยังรักษามาตรฐานไว้ได้

3 หน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาและผ่านเกณฑ์ในปีนี้ > รอ้ยละ 80 2 หน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาและผ่านเกณฑ์ในปีนี้ ร้อยละ 60 - 79 1 หน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาและผ่านเกณฑ์ในปีนี้ ร้อยละ 40 - 59 0 หน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ในปีที่ผ่านมาและผ่านเกณฑ์ในปีนี้ < ร้อยละ 40

Page 47: (Standard Operating Procedure : SOP)€¦ · ของนโยบายการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผลที่ก

44

เกณฑ์การคิดคะแนนรวมเพื่อประเมินคุณภาพ เมือ่ตรวจสอบครบทุกตัวชี้วัดที่จะต้องประเมินที่หน่วยงานนั้นๆ แล้ว ให้รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมดแล้วคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มที่รวมมาจากจ านวนตัวชี้วัดที่ประเมิน จะท าให้ทราบว่าผลการประเมินมาตรฐานงานระบาดวิทยาของหน่วยงานที่รับการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพใด

ระดับคุณภาพ ร้อยละ ดีมาก

ดี พอใช้

ต้องปรับปรุง

80 – 100 60 – 79 40 – 59

0 - 39 8. เอกสารอ้างอิง (Reference Document)

8.1 กองระบาดวิทยา ส านักปลัดกระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการด าเนินการทางระบาดวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. 2542.

8.2 กองระบาดวิทยา ส านักปลัดกระทรวงสาธารณสุข. นิยามโรคติดเชื้อประเทศไทย 2544. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. 2544.

9. แบบฟอร์มท่ีใช้ (Form) 9.1 บัตรรายงานโรค รง.506, 506/1, 506/2, 507 9.2 ฟอร์ม E.0, E.1, E.2, E.3 (ปัจจุบันอยู่ในรูปแบบ electronic file แล้ว)