20
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Operation Procedure) การดําเนินงานเมื่อพบนักเรียนปวย วัณโรค กลุมงานวัณโรค กองควบคุมโรคเอดส วัณโรค และโรคติดตอทางเพศสัมพันธ

(Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

ขั้นตอนการปฏบิัตงิาน (Standard Operation Procedure)

การดาํเนนิงานเมื่อพบนกัเรยีนปวย

วัณโรค

กลุมงานวณัโรค

กองควบคมุโรคเอดส วณัโรค และโรคตดิตอทางเพศสัมพนัธ

Page 2: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 1 -

สถานพยาบาลทีพ่บผูปวยวณัโรค

ควรแจงภายใน 7 วนั

หาผูสัมผสั Contact cases ในโรงเรียน

แจง กอพ. ผาน TB Referral Center

ศูนยบริการสาธารณสขุรับผดิชอบพื้นที่ทีโ่รงเรยีนผูปวย ศูนยบริการสาธารณสขุรับผดิชอบพื้นทีบ่านผูปวย

ทีมนาํสื่อสารกบัผูบรหิาร รร./คร ู

สรปุผลการดําเนนิงาน สงกอพ. ภายใน 7 วนั หลงัเริม่สอบสวนโรค

ผูสนบัสนนุดานเทคนิค

การบรหิารจดัการทรัพยากร - รถเอกซเรยเคลื่อนท่ี - น้ํายา PPD - การตรวจ Gene X pert -IGRA

หาผูสัมผสัโรครวมบาน

กอพ. เฝาระวงั หากไดรบัแจงมากกวา 1 คน ในโรงเรยีนเดยีวกนั ใหทําการแจงโดยเรว็

ศบส.ในฐานะทีมนาํ ประสานกับกอพ. หากพบผูปวยวณัโรค > 2 คน และไมสามารถบรหิาร

จดัการได กอพ.ประสานผูสนบัสนนุทางเทคนคิ

ในกรณีท่ีพบ > 2 ราย กอพ.รายงานผูบริหารสํานักอนามัย

สําเนาแจงกคร.สวร.สปคม.สํานักระบาด

สื่อสารกบัผูปกครองทีบ่าน กรณีท่ีญาติหรือผูปกครองปฏิเสธ ศบส.แจงผอ.ศบส. ทราบ

หาวิธีการแกไขปญหารวมกับกอพ.

โรงเรียนแจงใหผูปกครองนกัเรยีนทราบพรอมขออนญุาตทํากิจกรรม

Page 3: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 2 -

ขัน้ตอนการปฏบิตังิาน (Standard Operation Procedure)

การดาํเนนิงานเมือ่พบนกัเรียนปวยเปนวณัโรค

1. วตัถปุระสงค เพ่ือเปนการกําหนดข้ันตอน วิธีการ และผูรับผิดชอบในการการดําเนินงานเม่ือพบนักเรียนปวย

เปนวัณโรค เปนการควบคุมการแพรกระจายเชื้อในโรงเรียน

2. ขอบเขต ข้ันตอนการดําเนินงานฉบับนี้ ใหผูปฏิบัติงานยึดเปนแนวทางดําเนินการควบคุมวัณโรคในโรงเรียน

3. นยิาม/คาํจาํกดัความ

3.1 ผูปวยวัณโรค (TB cases) หมายถึง ผูปวยท่ีแพทยวินิจฉัยวาเปนวัณโรคปอด/นอกปอด และใหการ

รักษาดวยสูตรยามาตรฐาน ท้ังมี/ไมมีผลทางหองปฏิบัติการยืนยัน

3.2 ผูท่ีมีอาการสงสัยวัณโรค(Presumptive TB) หมายถึง ผูท่ีมีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเปนเลือด รวมกับมีไข น้ําหนักลด เหง่ือออกมากผิดปกติตอนกลางคืน โดยการใชแบบคัดกรอง หากมีคะแนนตั้งแต 3 คะแนน เปนตนไปใหเปนผูมีอาการสงสัยวัณโรค 3.3 ผูสัมผัสผูปวยวัณโรค

3.3.1 ผูท่ีอยูใกลชิด(Closed Contact)หมายถึง ผูท่ีใกลชิดกับผูปวยวัณโรคระยะติดตอ เชน ผูปวยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อ มีการสัมผัสนานติดตอกัน > 8 ชั่วโมง/วัน หรือผูท่ีสัมผัสแบบไมตอเนื่อง เม่ือรวมเวลาท่ีสัมผัสนาน > 120 ชั่วโมงตอเดือน 3.3.2 ผูท่ีมีการสัมผัสผูปวยวัณโรคเปนครั้งคราว(Casual contact) หมายถึง ผูท่ีใกลชิดกับผูปวย

วัณโรคระยะติดตอเปนเวลานอยกวาท่ีกําหนดในขอ 3.3.1

3.4 TB referral center หมายถึง ศูนยกลางการสงตอ ท่ีรับและสงตอผูปวยวัณโรค รวมท้ังรับแจงผูปวยวัณโรคจากสถานพยาบาล ในการประสานศูนยบริการสาธารณสุขในพ้ืนท่ี

สถานท่ีตั้ง : กลุมงานวัณโรค ชั้น 5 กองควบคุมโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร 124/16 ถ.กรุงธนบุรี บางลําพูลาง คลองสาน กรุงเทพฯ 10600 ผูประสานงาน : นางมานิดา แผลงศร (แหมม) และ นส.ชลธิชา คําสอ (นกยูง)

โทรศัพท : 02-860-8208 มือถือ : 086-752-9764 ID LINE : refer.bma E-mail : [email protected]

4. เอกสารที่เกีย่วของ 4.1 แนวทางปฏิบัติในการสอบสวน กรณีสงสยัการระบาดของวัณโรค

4.2 หนังสือแนวทางเวชปฏิบัติสําหรับการวินิจฉัยและรักษาวัณโรคระยะแฝงในเด็ก พ.ศ. 2553

Page 4: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 3 -

5. ขัน้ตอนการปฏบิตั ิ

ข้ันตอนการดําเนินงาน (Steps)

ผูรับผิดชอบหลัก (Responsible person)

สมรรถนะความจําเปน

(Competency need) แบบฟอรม

1.เมื่อพบบุคลากรในโรงเรียน/นักเรียนปวยเปนวัณโรค 1.1 สถานพยาบาลท่ีพบผูปวยแจงกอพ. ผาน TB referral center ภายใน 7 วัน โดยแบบฟอรมผานทางโทรศัพท, โทรสาร, application line, E mail

- แพทย/ผูประสานงานวัณโรคของสถานพยาบาลท่ีพบผูปวยวัณโรค

- แบบฟอรมแจงตอ กอพ. (เอกสารหมายเลข 1)

1.2 กอพ. โดย TB referral center แจงศบส.ในพ้ืนท่ี โดยโทรศัพท, โทรสาร, application line, E mail - ศบส.พ้ืนท่ีบานคร/ูนักเรียน ท่ีปวย

- ศบส.พ้ืนท่ีโรงเรยีนคร/ูนักเรยีน ท่ีปวย

- พยาบาลอนามัยชุมชน

- พยาบาลอนามัยโรงเรียน

-แบบฟอรมการขออนุญาตผูปกครองช้ีแจงขอมูลผูปวย (เอกสารหมายเลข 2)

2. วางแผนการทํา Contact Investigation 2.1 กําหนดทีมงาน

- ทีม SRRT - พยาบาลอนามัยโรงเรียน

2.2 การสื่อสารโดยเร็ว - ผูปกครองนักเรียนท่ีปวย ขออนุญาตเยี่ยมบานและแจงใหโรงเรียนทราบ - ผูบริหารโรงเรียน/คร/ูนักเรียน

-ทีมพยาบาลอนามัยชุมชน/TB clinic พ้ืนท่ีบาน - ทีมนําของศบส.พ้ืนท่ีโรงเรียน

-ทักษะการสื่อสารCommunication skill

-เน้ือหาท่ีจะสื่อสาร(เอกสารหมายเลข 3) -เน้ือหาท่ีจะสื่อสาร(เอกสารหมายเลข 3) -แบบฟอรมขออนุญาตเอกซเรย (เอกสารหมายเลข 4)

3. กําหนดผูรับผิดชอบหลัก( Key actor) 3.1 ทีมนํา

- ผอ. และทีมSRRTศบส.พ้ืนท่ี

3.2 ผูสนับสนุนดานเทคนิค (Technical Support)

- กอพ. สนอ. - กคร. สนอ. - สปคม. - สํานักวัณโรค - สํานักระบาด

Page 5: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 4 -

ข้ันตอนการดําเนินงาน (Steps)

ผูรับผิดชอบหลัก (Responsible person)

สมรรถนะความจําเปน

(Competency need) แบบฟอรม

4.วางแผนการดําเนินงานคัดกรอง แยกประเภทผูสัมผัสโรค 4.1 สัมผัสใกลชิด Closed contact - CXR ทุกราย หากพบผิดปกติ ตรวจเสมหะดวยGene X pert - TST รายท่ีตรวจแลวไมเปนวัณโรค ( หาก TST > 15 มม.ให IPT ) - อาจพิจารณา IGRA ถามี Technical support

- ทีมSRRT และอนามัยโรงเรียน -กุมารแพทย ในกรณีให IPT

- การอบรมการทํา

Tuberculin Skin Test (TST) และอานผล - วีดีทัศน การทํา TST

- แบบคัดกรองวัณโรค (เอกสารหมายเลข 5) -Flow การคัดกรองผูสัมผัสผูปวยวัณโรค (เอกสารหมายเลข6) - Flow การให IPT (เอกสารหมายเลข7) -contact book (เอกสารหมายเลข8) การขออนุญาตทํา Tuberculin Skin Test (TST) (เอกสารหมายเลข 9) -เนื้อหาที่จะส่ือสารกบัผูปกครองเร่ืองTST (เอกสารหมายเลข 10)

4.2 ผูสัมผสัครั้งคราว Casual contact - ซักประวัตดิวยแบบคดักรองผูมีอาการสงสัย หากมีอาการสงสยั (≥ 3 คะแนน) ใหเอกซเรยปอดและดําเนินการตามแนวทางผูสัมผัสใกลชิด

- ทีมSRRT และอนามัยโรงเรียน

- แบบคัดกรองวัณโรค (เอกสารหมายเลข 5)

5. การบริหารจัดการทรัพยากร 5.1 รถเอกซเรยเคลื่อนท่ี 5.2 นํ้ายา PPD

5.3 บุคลากร

-กอพ.สนอ. - สํานักวัณโรค (หากจําเปนตองใหบริการคนจํานวนมาก) - กองเภสัชกรรม สนอ - สํานักวัณโรค (หากกองเภสัชกรรมไม

สามารถจัดซ้ือไดเพียงพอ

- ทีม SRRT และบุคลากรของศบส.พ้ืนท่ี - หากมีบุคลากรไมเพียงพอแจง กอพ. กคร.สนอ., สาํนักวัณโรค สปคม. สํานักระบาด กระทรวงสาธารณสุข

- แบบบันทึกขอรถเอกซเรยเคลื่อนท่ีถึงกอพ. (เอกสารหมายเลข11) -แบบบันทึกขอนํ้ายาPPD จากศบส.28 (เอกสารหมายเลข 12)

Page 6: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 5 -

เอกสารแนบ

เอกสารหมายเลข 1 แบบฟอรมแจงตอ กอพ

เอกสารหมายเลข 2 แบบฟอรมการขออนุญาตผูปกครองชี้แจงขอมูลผูปวย

เอกสารหมายเลข 3 เนื้อหาท่ีจะสื่อสาร

เอกสารหมายเลข 4 แบบฟอรมขออนุญาตเอกซเรย

เอกสารหมายเลข 5 แบบคัดกรองวัณโรค

เอกสารหมายเลข 6 Flow การคัดกรองผูสัมผัสผูปวยวัณโรค

เอกสารหมายเลข 7 Flow การให IPT

เอกสารหมายเลข 8 contact book

เอกสารหมายเลข 9 การขออนุญาตทํา Tuberculin Skin Test (TST)

เอกสารหมายเลข 10 เนื้อหาท่ีจะสื่อสารกับผูปกครองเรื่องTST

เอกสารหมายเลข 11 แบบบันทึกขอรถเอกซเรยเคลื่อนท่ีถึงกองควบคุมโรคเอดส วัณโรคและ

โรคติดตอทางเพศสัมพันธ

เอกสารหมายเลข 12 แบบบันทึกขอน้ํายาPPD ไปท่ี ศบส.28

เอกสารหมายเลข 13 แบบฟอรมการรายงาน

ข้ันตอนการดําเนินงาน (Steps)

ผูรับผิดชอบหลัก (Responsible person)

สมรรถนะความจําเปน

(Competency need) แบบฟอรม

6. สรุปผลการดําเนินงาน - ในเดือนแรกรายงานทุกสัปดาห หากพบผูปวยเพ่ิมมากข้ึนจากเดมิใหรายงานทุกวัน - รายงานทุกสัปดาห หากมีการเปลี่ยนแปลง จนกระท่ังสถานการณสงบ (สถานการณสงบหมายถึง กรณีท่ีทีมสอบสวนโรค ไมพบผูปวยวัณโรคในสถานท่ีแหงน้ันเพ่ิมข้ึนแลว และไมมรีายงานพบผูปวยวัณโรครายใหมในสถานท่ีน้ันๆจากการเฝาระวัง)

-ทีม ศบส.พ้ืนท่ี แจงตอ กอพ. -กอพ. แจงกคร.และแจงผูบริหารกรุงเทพมหานคร ทราบ - สําเนาแจงสปคม.และสํานักวัณโรคทราบ หากพบเหตุการณท่ีมีการแพรระบาดในโรงเรียน

แบบฟอรมการรายงาน (เอกสารหมายเลข 13)

Page 7: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 6 -

บนัทกึขอความ

สวนราชการ

ที ่ วันที่

เร่ือง พบผูปวยวัณโรค

เรียน ผูอํานวยการกองควบคุมโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ

เนื่องจากคลินิกวัณโรค โรงพยาบาล/ศูนยบริการสาธารณสุข

พบผูปวยวัณโรค กําลังศึกษาโรงเรียน

จํานวน ราย ดังนี ้

1. ชื่อ นามสกุล

ชั้น TB No เริ่มรักษา .

ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

2. ชื่อ นามสกุล

ชั้น TB No เริ่มรักษา .

ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

3. ชื่อ นามสกุล

ชั้น TB No เริ่มรักษา .

ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดดําเนินการตอไป

ลงชื่อ..............................................................

(.....................................................................)

ตําแหนง........................................................

หมายเหต ุแจงผูประสานงาน : นางมานิดา แผลงศร (แหมม) และนางสาวชลธิชา คําสอ (นกยูง)

กลุมงานวัณโรค ชั้น 5 กองควบคุมโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร 124/16 ถ.กรุงธนบุรี บางลําพูลาง คลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02-860-8208 โทรสาร 0 2860 8751-6 ตอ500,504 โทรศัพทมือถือ 08 6752 9764 ID LINE : refer.bma E-mail : [email protected]

เอกสารหมายเลข 1

Page 8: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 7 -

ท่ี ศูนยบริการสาธารณสุข...................................... ท่ีอยู .........................................................................

เรื่อง ขออนุญาตชี้แจงขอมูลการเจ็บปวยของนักเรียน

เรียน ผูปกครองนักเรียน

ดวยศูนยบริการสาธารณสุข................ ไดรับการประสานงานจากกองควบคุมโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร พบนาย/นส./ดญ/ดช........................................................

นักเรียน ชัน้......................หอง....................... เก่ียวของเปน................................................ซ่ึงอยูในปกครองของทาน ไดรับการรักษาท่ีโรงพยาบาล/ศบส............................................................................................................................... เริ่มรักษา วันท่ี ...........................................................................

เพ่ือเปนการควบคุมปองกันโรคท่ีอาจเกิดการแพรกระจายเชื้อในโรงเรียน เปนประโยชนโดยรวม ของนักเรียนท่ีสัมผัสโรค ศูนยบริการสาธารณสุขมีความจําเปนท่ีชี้แจงขอมูลความเจ็บปวยของนักเรียนตอผูบริหารโรงเรียน ในการหามาตรการควบคุมโรคตอไป

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ ................................................................................................................................................................... แบบแสดงความยนิยอม ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว ...........................................................................................................................

ผูปกครอง นาย/นางสาว/ดช./ดญ........................................................................ชั้น............หอง................................

ไดรับการประสานจากศูนยบริการสาธารณสุขโดย............... พบจนท.

ทางโทรศัพท

อ่ืนๆ......................

อนุญาตใหชี้แจงขอมูลการเจ็บปวยของนักเรียนตอผูบริหารโรงเรียน

ลงชื่อ ............................................................

(บิดา/มารดา/ญาติ ระบ.ุ.......................)

เบอรโทรศัพท .................................................

วดป..................................................................

เอกสารหมายเลข 2

Page 9: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 8 -

การควบคุมการแพรกระจายเช้ือในโรงเรียน

เอกสารหมายเลข 3

1.1 การคนหาผูปวยวัณโรค โดยเร็ว เพ่ือใหการรักษาตั้งแตเริ่มแรก เพ่ือลดระยะเวลาท่ีผูปวยแพรกระจายเช้ือใหแกผู อ่ืนๆและบุคลากร

1.2 การรักษาดวยสูตรยาท่ีถูกตอง ภายใตระบบการกํากับการกินยาแบบมีพ่ีเลี้ยง

1.3 การใหสุขศึกษาแกผูปวยท่ีมีอาการ ไอเรื้อรังในการปองกันการแพรเช้ือ เชน การสวมหนากากอนามัย ไมตะโกน ไมรองเพลง

1. การบรหิารจดัการ

2.การควบคมุสภาพแวดลอม

3.การควบคมุปองกนัระดบับคุคล

2.1 การถายเทอากาศตามธรรมชาติ เปนวิธีท่ีงายท่ีสุดและเสียคาใชจายนอยท่ีสุด

2.2 เนนการบริหารจัดการใหมีการถายเทอากาศท่ีดีดวย วิธีการธรรมชาติใหมากท่ีสุด ดวยการเปดประตู หนาตาง อาจใชพัดลมช วย เ ร ง ระบายอากาศใหมี การถ าย เท ควรงดใชเครื่องปรับอากาศ(แอร)ในหองท่ีมีผูปวยเรียน/ทํางาน ประมาณ

2-3 วัน 2.3 ทําความสะอาดภายในหองท่ีทํากิจกรรมรวมกัน เชน หองเรียน

หองทํางาน หองท่ีทํากิจกรรมรวมกันดวยนํ้ายาฆาเ ช้ือโรค

อยางนอย 1 ครั้ง เพ่ือลดความเสี่ยงจากโอกาสการติดเช้ือวัณโรคจากเสมหะของผูปวย

2.4 หากหองอยูในสถานท่ีมีแดดสองถึง ควรเปดมานและหนาตางให

แดดสองเพ่ือทําลายเช้ือวัณโรค

3.1 ใหนักเรียนหยุดโรงเรียน/หยุดงาน อยางนอย 2 สัปดาห 3.2 ภายหลัง 2 สัปดาห ใหพบแพทยเพ่ือประเมินอาการ ผูปวยสามารถใชชีวิตประจําวันไดตามปกติ เรียนได โดยตองสวม หนากากอนามัยอยางนอย 2 เดือน 3.3 ตองมีการกํากับติดตามการกินยาอยางใกลชิดDOT(โดยมีพ่ีเลี้ยง) หามกินยาเอง 3.4. พบแพทยตามนัดทุกครั้ง เพ่ือตรวจเสมหะ ติดตามการรักษา 3.5 บวนเสมหะลงในภาชนะท่ีมีนํ้ายาทําลายเช้ือ นําไปท้ิงในโถสวมหรือขุดหลุมฝง เพ่ือปองกันการแพรกระจายเช้ือ

4.การสือ่สารความรูเรื่องวณัโรค ช้ีแจงทําความเขาใจกับผูบริหารโรงเรียน ไมวาจะเปนสวนของความรูท่ัวไปเก่ียวกับวัณโรค การวินิจฉัย การรักษา การปองกัน การปฏิบัติตัว การดูแลสภาพแวดลอม การใชหนากากอนามัย ผูสื่อสารตองระมัดระวังวาจะไมทําใหเกิดความกลัว ความระแวงโรควัณโรค มากเกินไป จนทําใหผูท่ีกําลังปวยเกิดความรูสึกถูกเลือกปฏิบัติ เชน ไมม ี ผูรวมกิจกรรม ไมพูดดวย ไมกินขาวรวมโตะ ทําใหถูกตีตรา และมีปมดอยมากยิ่งข้ึน

Page 10: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 9 -

ท่ี โรงเรียน ........................................................... ท่ีอยู .........................................................................

เรื่อง ขออนุญาตใหนักเรียนเอกซเรยปอด

เรียน ผูปกครองนักเรียน

ดวยโรงเรียน ........................................................... รวมมือกับกองควบคุมโรคเอดส วัณโรคและ โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และศูนยบริการสาธารณสุข ................. สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร จัดใหมีบริการเอกซเรยปอดนักเรียน ชัน้................................................................... ในวันท่ี ..........................................................ณ .............................................................................................ทางโรงเรยีนขอความรวมมือใหผูปกครองอนุญาตใหนักเรียนทําการเอกซเรยปอด โดยไมเสียคาใชจาย

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ โรงเรียน .............................................................. โทร. ................................................................... โทรสาร .............................................................. ................................................................................................................................................................... แบบตอบรบัเอกซเรยปอด ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว .............................................................................................................. ผูปกครอง นาย/นางสาว/ด.ช./ด.ญ.............................................................. ชั้น ..................... หอง............................ เลขประจาํตัวนักเรียน............................................. อนุญาตใหนักเรียนในปกครองเขารวมการบริการเอกซเรยปอด ในวันท่ี..................................... ไมอนุญาต ลงชื่อ ............................................................ ( ) ผูปกครอง

เบอรโทรศัพท .................................................

เอกสารหมายเลข 4

Page 11: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 10 -

แบบคดักรองวณัโรค หนวยงาน/ศูนยบริการสาธารณสุข................................................ เขต................................................................................................ วันท่ี..............เดือน......................................พ.ศ. ............................. 1. ขอมลูทัว่ไป เลขท่ีบัตรประชาชน (13 หลัก) ชื่อ นาย/นาง/นางสาว.........................................................นามสกุล..................................................................... วัน เดือน ป (เกิด) วันท่ี......................เดอืน....................................พ.ศ. ..............................อายุ........................ป ท่ีอยูปจจุบัน..............................ซอย.............................ถนน.................................แขวง/ตาํบล............................. เขต/อําเภอ..................................................จังหวัด....................................รหัสไปรษณีย..................................... โทรศัพท..........................................................................โทรศัพทมือถือ............................................................... 2. ประวตัิการเจบ็ปวย

- โรคเบาหวาน มี ไมมี ไมทราบ - ความดันโลหิตสูง มี ไมมี ไมทราบ - โรคหัวใจหลอดเลือด มี ไมมี ไมทราบ - โรคปอดเรื้อรัง มี ไมมี ไมทราบ - อ่ืนๆ ระบุ................................................................................................................

3. ประวตักิารสมัผสัโรค มีผูปวยวัณโรคในครอบครัว เปนผูดูแลผูปวยวัณโรค 4. อาการสงสยัวัณโรค ในระยะเวลา 1 เดอืนทีผ่านมา

อาการ การประเมนิ 4.1 ไอทุกวันนาน 2 สัปดาห ม ี (3) ไมม ี (0) 4.2 ไอเสมหะมีเลือดปน ม ี (3) ไมม ี (0) 4.3 มีไขตอนบายหรือตอนเย็น หรือตอนกลางคืนบอยๆ ในรอบ 1 เดือน ท่ีผานมา ม ี (2) ไมม ี (0) 4.4 น้ําหนักลดโดยไมทราบสาเหตุในรอบ 1 เดือน ท่ีผานมา (ลดเกิน 5% ของน้ําหนักเดิม)

ม ี (1) ไมม ี (0)

4.5 เหง่ือออกมากตอนกลางคืนในรอบ 1 เดือนท่ีผานมา (ลักษณะเหง่ือออกชุมตวั) ม ี (1) ไมม ี (0) 4.6 ตอมน้ําเหลืองโต ม ี (2) ไมม ี (0)

ถาคะแนนรวมกันได ≥ 3 ตองสงตรวจวนิจิฉยัวัณโรค

ลงชื่อ...........................................................ผูตรวจ (............................................................)

ตําแหนง...................................................

เอกสารหมายเลข 5

Page 12: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 11 -

การคดักรองผูสมัผสัผูปวยวณัโรค

เอกสารหมายเลข 6

+ve

ผูสมัผสัใกลชดิผูปวยวัณโรคหรือ ผูที่มีอาการสงสยัวัณโรค

มีคะแนน ≥3 ในแบบคดักรอง

ปกต ิ

ติดตามผูสัมผัส ทุก 6 เดือน เปนเวลา 2 ป หรือหากมีอาการกอนถึงกําหนดนัดใหพบแพทยทันที สําหรับการตรวจวินิจฉัยแตละครั้งใหอยูในดุลยพินิจของแพทย หากเปนผูสัมผัสใกลชิดควรถามความสมัครใจวาจะทํา TST ตอหรือไม

Gene X

เปนวณัโรค

CXR

Direct smear

-ve

ผดิปกต ิ

เขาสูระบบ

การรักษา

- หากมีอาการสงสยัวัณโรค ใหพบแพทยเพ่ือพิจารณารักษาวัณโรค - นัด follow up ทุก 3-6 เดือน เปนเวลา 2 ป สําหรับการตรวจวินิจฉัย แตละครั้งใหอยูในดลุยพินิจของแพทย

เปนวัณโรค

+ve -ve

TST หรอื IGRA

ผูสมัผสัใกลชดิ หมายถงึ

ก. ผูท่ีอยูใกลชิดกับผูปวยวัณโรคระยะติดตอเมื่อมีการสมัผสันานติดตอกัน > 8 ช่ัวโมง/วัน

ข. ผูท่ีอยูใกลชิดกับผูปวยวัณโรคระยะติดตอแบบไมตอเน่ือง เมื่อรวมเวลาท่ีสมัผสันาน > 120 ช่ัวโมงตอเดือน

alternative

Page 13: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 12 -

การรักษาผูที่ปวยเปนวัณโรคและการพิจารณาใหยาปองกัน

เอกสารหมายเลข 7

อาจพจิารณา ทาํกจิกรรมเพิม่

ผูสมัผสัใกลชดิผูปวยวัณโรค

ปวยเปนวณัโรค

รักษาดวยระบบยา ระยะสั้น 6 เดือน

ภายใต DOT

อาย ุ< 5 ป

กลุมภาพเอกซเรยปกติไมเปนวณัโรค

ใหยา Isoniazid 6 - 9 เดือน

ทุกราย

อาย ุ 5 – 18 ป ทดสอบปฏกิริิยาทุเบอรคลุิน

อาจพิจารณา IGRA ถามี Technical support

ผูที่ตดิเชื้อ HIV หรือภมูิคุมกนับกพรอง

ทุกราย

- ถา TST ≥ 15 มม. หรือ IGRA เปนบวก ให Isoniazid 6-9 เดือน - ถา TST 10 - 14 มม. พิจารณารักษาเปนรายๆไป ให Isoniazid 6-9 เดือน กรณีท่ีนักเรียนและผูปกครองยินดีท่ีจะรับยาตลอด 9 เดือน - ถา TST < 10 มม. หรือ IGRA เปนลบ ใหสังเกตอาการ ถาเจ็บปวยใหพบแพทยทันที

ควรทาํ กิจกรรม

Page 14: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 19 -

สมุดทะเบียนผูสัมผัสผูปวยวัณโรค (Contacts Book)

ลําดับ

ผูปวยวัณโรค ผูสัมผสัวัณโรคใกลชิด

ช่ือ – สกุล

/วันที่เริ่มรักษา ประเ

ภท

ชื่อ – สกุล

/วดป.ท่ีเริ่ม

อาย ุ

(ป)

การติดตามอาการ และตรวจผูสมัผัสโรค

เดือนท่ี 0 เดือนท่ี 6 เดือนท่ี 12 เดือนท่ี 24 หมายเหต ุ

อากา

CXR

Sput

um

อื่นๆ

อากา

CXR

Sput

um

อื่นๆ

อากา

CXR

Sput

um

อื่นๆ

อากา

CXR

Sput

um

อื่นๆ

หมายเหต ุ 1. อาการท่ีสงสัยวัณโรค เชน ไข ไอมากกวา 2 สัปดาห น้ําหนักลดมากกวา รอยละ 5 ใน 1 เดือน เบื่ออาหาร ออนเพลีย

2. Contacts : หมายถึง ผูสัมผัสผูปวยวัณโรคใกลชิด เชน สมาชิกครอบครัวท่ีอยูดวยกัน, เพ่ือนทํางานในหองเดียวกัน เปนตน

3. กิจกรรมตางๆท่ีระบุ เชน CXR, ds อาจพิจารณาทําเม่ือมีขอบงชี้

เอกสารหมายเลข 8

Page 15: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 13 -

ท่ี โรงเรียน ...........................................................

ท่ีอยู .........................................................................

เรื่อง ขออนุญาตทดสอบทางผิวหนังเพ่ือคนหาการติดเชื้อวัณโรค(Tuberculin Skin Test)

เรียน ผูปกครองนักเรียน

ดวยศูนยบริการสาธารณสุข................................. ไดทําการคัดกรองผูสัมผัสโรคในโรงเรียนพบวา นาย/นส./ดญ/ดช.......................................................................................นักเรียน ชั้น......................หอง..................เปนผูสัมผัสใกลชิด จึงขออนุญาตทดสอบทางผิวหนังเพ่ือคนหาการติดเชื้อวัณโรค(Tuberculin Skin Test) ในวันท่ี....................................................................ณ.............................................................................

ทางโรงเรียน ขอความรวมมือใหผูปกครองอนุญาตใหนักเรียนทําการทดสอบทางผิวหนัง

เพ่ือคนหาการติดเชื้อวัณโรค โดยไมเสียคาใชจาย

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ขอแสดงความนับถือ

...................................................................................................................................................................................

แบบตอบรับทดสอบทางผิวหนังเพ่ือคนหาการติดเชื้อวัณโรค(Tuberculin Skin Test) ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว ....................................................................เก่ียวของเปน..................................

ผูปกครอง นาย/นางสาว/ด.ช./ด.ญ........................................................................................ชั้น....... หอง................. เลขประจําตัวนักเรียน.........................................................

อนุญาตใหนักเรียนในปกครองทดสอบทางผิวหนังเพ่ือคนหาการติดเชื้อวัณโรคในวันท่ี........................... ยินดีท่ีจะพบแพทยเพ่ือรับยาปองกันเชื้อวัณโรค หากพบขนาดนูนมากกวา 10 มิลลิเมตร

ไมอนุญาตตรวจคัดกรองวัณโรคทางผิวหนัง เนื่องจาก..........................................................................

ลงชื่อ ............................................................

( )

ผูปกครอง

เบอรโทรศัพท ................................................

โรงเรียน ............................................. โทร. .................................................. โทรสาร ..............................................

เอกสารหมายเลข 9

Page 16: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 14 -

ความรูเกี่ยวกับการทดสอบการติดเช้ือทางผิวหนัง (Tuberculin Skin Test)

1. Tuberculin Skin Test (TST) คืออะไร

การทดสอบวา บุคคลนั้นๆมีการติดเชื้อวัณโรคแลวหรือไม โดยการฉีดชิ้นสวนของเชื้อวัณโรคเขา ใตผิวหนังท่ีบริเวณดานในแขน แลววัดดูปฏิกิริยาผิวหนังท่ีเกิดข้ึน ณ 48-72 ชั่วโมง

2. ทําไมตองทาํ Tuberculin Skin Test (TST)

• เพ่ือตรวจวาผูนั้นมีการติดเชื้อวัณโรคแลวหรือไม เพ่ือพิจารณาใหยาปองกันวัณโรค

• ในกรณีเด็กอาจเปนขอมูลท่ีชวยแพทยใชวินิจฉัยวาเด็กปวยเปนวัณโรคหรือไม

3.กลุมบุคคลที่ควรพิจารณาทํา Tuberculin Skin Test (TST)

• เด็ก

• ผูท่ีติดเชิ้อ HIV

• ผูสัมผัส ผูอยูใกลชิด ผูปวยวณัโรคปอดเสมหะพบเชื้อ

• อ่ืนๆ

4. ถา Tuberculin Skin Test (TST) เปนบวก หมายความวาอยางไร TST < 10 มม. ไมนาจะมีการติดเชื้อวัณโรค TST 10-15 มม. มีโอกาสติดเชื้อวัณโรคสูง TST ≥ 15 มม. ติดเชื้อวัณโรค

5. ถา Tuberculin Skin Test (TST) เปนลบ หมายความวาอยางไร

• ไมเคยไดรับเชื้อมากอน

• ในบางกรณีอาจมีความสัมพันธกับภาวะขาดอาหาร ภูมิคุมกันบกพรอง

6. ถากรณ ีTuberculin Skin Test (TST) เปนบวก ควรทาํอยางไร TST ≥ 15 มม. ควรใหกินยา Isoniazid 6-9 เดือน เพ่ือปองกันการปวยเปนวัณโรค TST 10-15 มม. พิจารณากินยา Isoniazid 6-9 เดือน เปนกรณีๆ เพ่ือปองกันการปวยเปนวัณโรค TST < 10 มม. ไมตองกินยา Isoniazid

** ในกรณีท่ีมีการติดเชื้อ HIV จุดตัดของการแปลผลจะมีความแตกตางจากคนท่ัวไป **

เอกสารหมายเลข 10

Page 17: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 16 -

บนัทกึขอความ

สวนราชการ ศูนยบริการสาธารณสุข โทร .

ท่ี วันท่ี เรื่อง ขอความอนุเคราะหหนวยเอกซเรยเคลื่อนท่ี

เรียน ผูอํานวยการกองควบคุมโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ

ดวยศูนยบริการสาธารณสุข ไดรับแจงจากโรงเรียนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบวามีนักเรียนชั้น หอง โรงเรียน ป ว ย เ ป น วั ณ โ ร ค ป อ ดเสมหะพบเชื้อ จํานวน ราย นั้น

ศูนยบริการสาธารณสุข ขอความอนุเคราะหหนวยเอกซเรยเคลื่อนท่ี เอกซเรยปอดนักเรียนชั้น จํานวนท้ังสิ้น ราย ณ โรงเรียน . เขต ในวันท่ี ท้ังนี้ไดมอบหมายให ตําแหนง .เบอรโทรศัพท เปนผูประสานงาน

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

หมายเหตุ ขอใหปฏิบัติตามหนังสือท่ีกท.0711/0947 ลงวันท่ี 20 พค.2558

เรื่อง แนวทางการขอหนวยรถเอกซเรยเคลื่อนท่ี

เอกสารหมายเลข 11

Page 18: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 15 -

บนัทกึขอความ

สวนราชการ ศูนยบริการสาธารณสุข โทร .

ท่ี วันท่ี เรื่อง ขอเบิกน้ํายา PPD

เรียน ผูอํานวยการศูนยบริการสาธารณสุข

ดวยศูนยบริการสาธารณสุข ได รั บแจ งจากโ รง เรี ยนใน พ้ืน ท่ีรับผิดชอบวามีนักเรียนชั้น หอง โรงเรียน ปวยเปนวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อ จํานวน ราย นั้น

ในการนี้ศูนยบริการสาธารณสุข ขอความอนุเคราะหเบิกน้ํายา PPD

(purified protein derivative) จํานวน ....................ขวด ใชสําหรับการทดสอบการติดเชื้อทางผิงหนัง

(Tuberculin Skin Test) นักเรียนชั้น จํานวนท้ังสิ้น ราย ในวันท่ี ท้ังนี้ไดมอบหมายให ตําแหนง เบอรโทรศัพท เปนผูประสานงาน

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

เอกสารหมายเลข 12

Page 19: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

- 17 -

รายงานสถานการณการควบคุมวัณโรคในโรงเรียน......... เขต.....................

พ้ืนท่ีศูนยบริการสาธารณสุข............................. วันเดือนป......................................

1. สถานการณโรค

- วดป.แรกพบ - จํานวนผูปวยท่ีเปนนักเรียน/ครูท่ีพบ - ประเภทผูปวย (วัณโรคปอด/นอกปอด เสมหะพบเชื้อ/ไมพบเชื้อ) - อาการท่ีเปน - สถานพยาบาลท่ีวินิจฉัย - วินิจฉัยดวยวิธีใด - ไดรับยาสูตรใด

- รายละเอียดผูปวย เพศ อายุ ท่ีอยู ชั้นเรียน วันท่ีเริ่มปวย วันท่ีเริ่มรักษา สถานท่ีรักษา การวินิจฉัย

2. ผูสัมผัสและผูปวยเพ่ิมเติม 2.1 ผูสัมผัสรวมบาน - จํานวน - ผูมีอาการสงสัย - ตรวจคัดกรองดวยเอกซเรย 2.2 ผูสัมผัสรวมหองเรียน ชั้นเรียน เพ่ือนสนิทตางหองเรียน

- ชัน้เรียน จํานวนนกัเรียนผูสมัผัสกับครู / นักเรียน ท่ีปวยเปนวัณโรค - การดําเนินการติดตามผูสัมผัส - ซักประวัติ จํานวนท่ีมีอาการผิดปกติ มีคะแนน ตั้งแต 3 คะแนน ข้ึนไป - เอกซเรยปอด จํานวนท่ีเอกซเรยปอดปกติ /ผิดปกติ - เก็บเสมหะสงตรวจ Direct smear / Gene X pert ผล...

3. การเก็บตัวอยางทางหองปฏิบัติการ

4. กิจกรรมดําเนินการและการควบคุมโรค - ดานสิ่งแวดลอมท่ีบาน

- ดานสิ่งแวดลอมท่ีโรงเรียน

5. แผนการดําเนินงานตอไป 6. ปญหาอุปสรรค 7. ขอเสนอแนะ

เอกสารหมายเลข 13

Page 20: (Standard Operation Procedure) · Presumptive TB) หมายถึง ผู ที่มีอาการไอเกิน 2 สัปดาห หรือไอเป นเลือด

QR CODE สําหรับการ Download เอกสารท่ีเกี่ยวของ

แนวทางปฏิบัติในการสอบสวน

กรณีสงสัยการระบาดของวัณโรค

หนงัสอืแนวทางเวชปฏบิตัสิาํหรบัการวนิจิฉยัและรกัษาวณัโรค

ระยะแฝงในเดก็ พ.ศ. 2553