3
คํานํา พระพุทธวจนะ คือ พระไตรปฎก รวมเปนศาสนธรรมคําสอนของพระพุทธเจา จัดเปนองค คือ สุตตะ ไดแกอุภโตวิภังค นิทเทส ขันธกะ ปริวาร พระสูตรตางๆ มีมงคลสูตรเปนตน เคยยะ คือพระสูตรที่ประกอบไปดวยคาถาทั้งหมด เวยยากรณะ คือพระอภิธรรมปฎกทั้งหมด พระสูตรที่ไมมีคาถา และพุทธวจนะที่ไมไดจัดเขาใน องค ไดชื่อวาเวยยากรณะทั้งหมด คาถา คือพระธรรมบท เถรคาถา เถรีคาถา และคาถาลวนๆ ที่ไมมีชื่อวาสูตรในสุตตนิบาต อุทาน คือพระสูตร ๘๒ สูตร ที่พระพุทธเจาทรงเปลงดวยโสมนัสญาณ อิติวุตตกะ คือพระสูตร 100 สูตร ที่ขึ้นตนดวยคําวา ขอนี้สมจริงดังคําที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไว ชาดก เปนการแสดงเรื่องในอดีตชาติของพระพุทธเจา มีอปณณกชาดกเปนตน มีทั้งหมด ๕๕๐ อัพภูตธรรม คือพระสูตรที่ปฏิสังยุตดวยอัจฉริยอัพภูตธรรมทั้งหมด เวทัลละ คือระเบียบคําที่ผูถามไดความรูแจงและความยินดี แลวถามตอๆ ขึ้นไป ดังจูฬเวทัลลสูตร สัมมาทิฏฐิสูตร และสักกปญหสูตร เปนตน พระพุทธวจนะเหลานีโดยสภาพแหงธรรมแลว เปนสัจธรรมที่ทรงแสดงวา เปนธรรมที่ลึกซึ้งรูได ยาก รูตามเห็นตามไดยาก สงบประณีต ไมอาจจะรูไดดวยการตรึก ละเอียด เปนธรรมอันบัณฑิตจะรูได เพราะสภาวะแหงธรรมมีลักษณะดังกลาว จึงจําตองชี้แจงใหเกิดความเขาใจทั้งโดยอรรถะ และพยัญชนะ เพื่อใหสามารถหยั่งรูธรรมทั้งหลายตามความเปนจริงในเรื่องนั้นๆ เนื่องจากพื้นเพอัธยาศัยของคนแตกตางกันในดานตางๆ ซึ่งทรงอุปมาไวเหมือนดอกบัว เหลา พระพุทธเจาจึงทรงมีวิธีในการแสดงธรรม ตามอาการสอนธรรมของพระองค ประการ คือ . ทรงสอนใหผูฟงรูยิ่งเห็นจริง ในสิ่งที่ควรรูควรเห็น . ทรงแสดงธรรมมีเหตุที่ผูฟงอาจตรองตามใหเห็นจริงได . ทรงแสดงธรรมเปนอัศจรรย คือผูปฏิบัติตามจะไดรับประโยชนตามสมควรแกการประพฤติ ปฏิบัติ แตเพราะพระพุทธเจาทรงประกอบดวยปาฏิหาริย ทรงฉลาดในโวหารเพราะทรงเปนเจาแหงธรรม กอนจะทรงแสดงธรรมแกใคร ทรงตรวจสอบภูมิหลังดานตางๆ ของคนเหลานั้นดวยพระญาณแลว ผลจาก การฟงในพุทธสํานึกจึงไมมีปญหาวา คนฟงจะไมเขาใจ ผลจากการฟงธรรมสมัยพุทธกาลจึงมีความอัศจรรย หลังจากพระพุทธเจาปรินิพพานไปแลว ทรงตั้งพระธรรมวินัยไวเปนพระศาสดาแทนพระองค ธรรมที่ทรงแสดงไวยังเปนเชนเดิม แตระดับสติปญญา บารมี ความสนใจในธรรมของคนเปลี่ยนแปลงไป ทําใหการตีความพระธรรมวินัยตามความเขาใจของตนเองเกิดขึ้น จนทําใหสูญเสียความเสมอกันในดานศีล และทิฐิครั้งแลวครั้งเลา บางสมัยเกิดแตกแยกกันเปนนิกายตางๆ ถึง ๑๘ นิกาย

tripitaka_00

  • Upload
    synscon

  • View
    212

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

คํานํา มหามกุฎราชวิทยาลัย ๒๕๒๗

Citation preview

Page 1: tripitaka_00

คํานํา

พระพุทธวจนะ คือ พระไตรปฎก รวมเปนศาสนธรรมคําสอนของพระพุทธเจา จัดเปนองค ๙ คือ สุตตะ ไดแกอุภโตวภิังค นิทเทส ขันธกะ ปริวาร พระสูตรตางๆ มีมงคลสูตรเปนตน เคยยะ คือพระสูตรที่ประกอบไปดวยคาถาทั้งหมด เวยยากรณะ คือพระอภิธรรมปฎกทั้งหมด พระสูตรที่ไมมีคาถา และพุทธวจนะที่ไมไดจัดเขาในองค ๘ ไดชื่อวาเวยยากรณะทั้งหมด คาถา คือพระธรรมบท เถรคาถา เถรีคาถา และคาถาลวนๆ ที่ไมมีชื่อวาสูตรในสุตตนิบาต

อุทาน คือพระสูตร ๘๒ สูตร ที่พระพุทธเจาทรงเปลงดวยโสมนัสญาณ อิติวุตตกะ คือพระสูตร 100 สูตร ที่ขึ้นตนดวยคําวา ขอน้ีสมจริงดังคําที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไว ชาดก เปนการแสดงเรื่องในอดีตชาติของพระพุทธเจา มีอปณณกชาดกเปนตน มีทั้งหมด ๕๕๐ อัพภูตธรรม คอืพระสูตรที่ปฏิสังยุตดวยอัจฉริยอัพภูตธรรมทั้งหมด

เวทัลละ คือระเบียบคําที่ผูถามไดความรูแจงและความยินดี แลวถามตอๆ ข้ึนไป ดังจูฬเวทัลลสูตร สัมมาทิฏฐิสูตร และสักกปญหสูตร เปนตน

พระพุทธวจนะเหลาน้ี โดยสภาพแหงธรรมแลว เปนสัจธรรมที่ทรงแสดงวา เปนธรรมที่ลึกซึ้งรูไดยาก รูตามเห็นตามไดยาก สงบประณีต ไมอาจจะรูไดดวยการตรึก ละเอียด เปนธรรมอันบัณฑิตจะรูได เพราะสภาวะแหงธรรมมีลักษณะดังกลาว จึงจาํตองช้ีแจงใหเกิดความเขาใจทั้งโดยอรรถะ และพยัญชนะ เพ่ือใหสามารถหยั่งรูธรรมทั้งหลายตามความเปนจริงในเรื่องน้ันๆ เน่ืองจากพื้นเพอัธยาศัยของคนแตกตางกันในดานตางๆ ซ่ึงทรงอุปมาไวเหมือนดอกบัว ๔ เหลา พระพุทธเจาจึงทรงมีวิธีในการแสดงธรรม ตามอาการสอนธรรมของพระองค ๓ ประการ คือ

๑. ทรงสอนใหผูฟงรูยิ่งเห็นจรงิ ในสิ่งท่ีควรรูควรเห็น ๒. ทรงแสดงธรรมมีเหตุท่ีผูฟงอาจตรองตามใหเห็นจริงได ๓. ทรงแสดงธรรมเปนอัศจรรย คือผูปฏิบัติตามจะไดรับประโยชนตามสมควรแกการประพฤติ

ปฏิบัต ิแตเพราะพระพุทธเจาทรงประกอบดวยปาฏิหาริย ทรงฉลาดในโวหารเพราะทรงเปนเจาแหงธรรม

กอนจะทรงแสดงธรรมแกใคร ทรงตรวจสอบภูมิหลังดานตางๆ ของคนเหลาน้ันดวยพระญาณแลว ผลจากการฟงในพุทธสํานึกจึงไมมีปญหาวา คนฟงจะไมเขาใจ ผลจากการฟงธรรมสมัยพุทธกาลจึงมีความอัศจรรย

หลังจากพระพุทธเจาปรินิพพานไปแลว ทรงตั้งพระธรรมวินัยไวเปนพระศาสดาแทนพระองค ธรรมที่ทรงแสดงไวยังเปนเชนเดิม แตระดับสติปญญา บารมี ความสนใจในธรรมของคนเปลี่ยนแปลงไป ทําใหการตีความพระธรรมวนัิยตามความเขาใจของตนเองเกิดข้ึน จนทําใหสูญเสียความเสมอกันในดานศีลและทิฐิครั้งแลวคร้ังเลา บางสมัยเกิดแตกแยกกันเปนนิกายตางๆ ถึง ๑๘ นิกาย

Page 2: tripitaka_00

พระอรรถกถาจารยผูทราบพุทธาธิบาย ทั้งโดยอรรถะและพยัญชนะแหงพระพุทธวจนะ เพราะการศึกษาจําตองสืบตอกันมาตามลาํดับ มีฉันทะอุตสาหะอยางสูงมาก ไดอรรถาธิบายพระพุทธวจนะ ในพระไตรปฎก สวนที่ยากแกการเขาใจ ใหเกิดความเขาใจงายขึ้นสําหรับผูศึกษาและปฏิบัติ ความสาํคัญแหงคัมภีรในพระพุทธศาสนาจึงมีลดหล่ันกันลงมา คือ

๑. พระสูตร คือพระพุทธวจนะที่เรียกวา พระไตรปฎกทั้งพระวินัยปฎก พระสุตตันตปฎก และพระอภิธรรมปฎก

๒. สุตตานุโลม คือพระคัมภีรที่พระอรรถกถาจารยรจนาขึ้น อธิบายขอความที่ยากในพระไตรปฎก ๓. อาจริยวาท วาทะของอาจารยตางๆ ตั้งแตช้ันฎีกาอนุฎีกา และบุรพาจารยในรุนหลัง ๔. อัตโนมติ ความคิดเห็นของผูพูด ผูแสดงธรรมในพระพุทธศาสนา ในกาลตอมา มีการอธิบายธรรมประเภทอาจริยวาท คือ ถือตามท่ีอาจารยของตนสอนไว กับอัตโน

มติ วาไปตามมติของตนกันมากขึ้น ท้ังน้ีอาจจะเปนเพราะพระคัมภีรพระพุทธศาสนาที่เปนหลักสําคัญ คือ พระไตรปฎก และอรรถกถามีไมแพรหลาย อรรถกถาสวนมากยังเปนภาษาบาลี คนมีฉันทะในภาษาบาลีนอยลง สํานวนภาษาบาลีท่ีแปลออกมาแลวยากตอการทําความเขาใจของคนที่ไมไดศึกษามากอน ขาดกัลยาณมิตรที่เปนสัตบุรุษในพระพุทธศาสนาเปนตน

การอธิบายธรรมที่เปนผลจากการตรัสรู ของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาน้ัน เปนอันตรายมาก เพราะโอกาสที่จะเขาใจผิด พูดผิด ปฏิบัติผิดมีไดงาย พระไตรปฎกเปนเหมือนรัฐธรรมนูญ กฎหมายทั่วไปจะขัดแยงกับกฎหมายรัฐธรรมนูญไมไดฉันใด การอธิบายธรรมขัดแยงกับพระไตรปฎกพุทธศาสนิกชนที่ดียอมถือวาทาํไมไดเชนเดียวกันฉันน้ัน

เพ่ือใหพระพุทธวจนะอันปรากฏในพระไตรปฎก แพรหลายออกมาในรูปภาษาไทย และใหเกิดความรูความเขาใจพระพุทธศาสนา ตรงตามหลักที่ปรากฏในพระไตรปฎก และที่พระอรรถกถาจารยอธิบายไว จะไดเกิดทิฏฐิสามัญญตา ความเสมอกันในดานทิฐิ และ สีลสามัญญตา ความเสมอกันในดานศีล ของชาวพุทธทั้งฝายบรรพชิตและคฤหัสถ มหามกุฏราชวิทยาลัยจึงไดจัดใหมีการแปลพระไตรปฎกและอรรถกถาขึ้น โดยมีหลักการในการดําเนินงานดังตอไปนี้ คือ

๑. นําเอาพระสูตรและอรรถกถาแหงพระสูตรน้ันๆ มาพิมพเช่ือมตอกันไป เพ่ือชวยใหทานท่ีไมเขาใจขอความในพระสูตร สามารถหาคาํตอบไดจากอรรถกถาในเลมเดียวกัน

๒. เน่ืองจากพระวินัยปฎกเปนเรื่องของพระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ อรรถกถาพระวินัยไดแปลกันมากแลว พระอภิธรรมปฎกก็ไดแปลแพรหลายแลวพรอมทั้งอรรถกถา แตมีการศึกษากันในวงจาํกัด การทํางานในคราวแรก จึงเร่ิมท่ีพระสุตตันตปฎกกอน โดยเรียงตามลําดับนิกาย

๓. ในการแปลนั้นกําหนดใหขอความเปนภาษาไทยมากทีสุ่ด ในขณะเดียวกันตองมองเห็นศัพทภาษาบาลีดวย เพ่ือชวยใหคนที่ไมศึกษาภาษาบาลีอานเขาใจ และนักศึกษาภาษาบาลีไดหลักในการสอบทานเทียบเคียง

Page 3: tripitaka_00

๔. คณะกรรมการผูทํางานไดคัดเลือกทานที่มีความชาํนิชํานาญในภาษาบาลี มีความรักงาน มีความเสียสละ พรอมที่จะทาํงานเพื่อเปนพุทธบูชา

๕. ผลงานที่จะพิมพขึ้นมาตามลําดับน้ัน พยายามหาผูใจบุญชวยเสียสละรับหนาที่เปนเจาภาพในการพิมพแตละเลม เมื่อพิมพเสร็จแลวจัดจาํหนายดวยราคาเกินทุนที่ใชพิมพเพียงเล็กนอยเทาน้ัน เพ่ือใหผูมีความสนใจทั่วๆ ไป สามารถซื้อหาไปอานได งานเหลาน้ีจะดําเนินไปโดยลําดับ ตามกาํลังทรัพยและกําลังศรัทธาของทานที่เห็นผลประโยชนจากงานนี้จะใหการสนับสนุน มหามกุฎราชวทิยาลัยหวังวา งานแปลพระไตรปฎก อรรถกถา และปริวรรตอรรถกถาแตละเลมคงอํานวยประโยชนใหแกพระพุทธศาสนา พระภิกษุ สามเณร ทานพุทธศาสนิกชนผูสนใจในหลักธรรม และคงเปนถาวรกรรมอันอํานวยประโยชนไดนานแสนนาน งานในคราวแรกนี้ อาจจะมคีวามผิดพลาดบกพรองอยูบาง ซ่ึงหวังวาคงไดรับความเมตตากรุณาชี้แนะจากทานผูรูทั้งหลาย เพ่ือปรับปรุงแกไขใหมีความสมบูรณย่ิงขึ้นในโอกาสตอไป มหามกุฎราชวทิยาลัย ตองการใหพระคัมภีรเลมน้ี เปนอนุสรณเน่ืองในวโรกาสครบ 200 ป แหงพระราชวงศจักรีกรุงรัตนโกสินทรอีกดวย ขออานุภาพแหงพระรตันตรัย ไดดลบันดาลใหทานผูสนับสนุนในการแปล ปริวรรต ใหทุนพิมพและจัดซื้อพระคัมภีรแปลเลมน้ี และเลมอ่ืนๆ จงประสบความเจริญในธรรม อันพระผูมีพระภาคเจา ทรงประกาศไวดีแลวโดยทั่วกัน. มหามกุฎราชวิทยาลัย ๒๕๒๗