Click here to load reader

 · Web viewกรรมการบร หารหล กส ตรกำหนดให อาจารย ผ สอนทบทวนและปร บปร งกลย ทธ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

มคอ. 3 รายละเอียดรายวิชา

Course Specification

0403391 ธุรกิจการเกษตร

(Agribusiness)

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาพืชศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554

คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน

มหาวิทยาลัยทักษิณ

สารบัญ

หมวดหน้า

หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป1

หมวดที่ 2จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์4

หมวดที่ 3ลักษณะและการดำเนินการ4

หมวดที่ 4การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต5

หมวดที่ 5แผนการสอนและการประเมินผล7

หมวดที่ 6ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน9

หมวดที่ 7การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา10

รายละเอียดของรายวิชา

(Course Specification)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยทักษิณ

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา : วิทยาเขตพัทลุง คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน สาขาวิชาพืชศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา : 0403391 ธุรกิจการเกษตร

2. จำนวนหน่วยกิต : 2(2-0-4)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หมวดวิชา ประเภทกลุ่มวิชาเอกบังคับ

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

อ. ธนวิทย์ บุญสิทธิ์

5. ภาคเรียน/ชั้นปีที่เรียน : ภาคการศึกษาที่ 2/2559 ชั้นปีที่ 3

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pro-requisite) : ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) ;ไม่มี

8. สถานที่เรียน : มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

มกราคม พ.ศ. 2560 ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.1 เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายถึงบทบาทของตลาดและส่วนประกอบของธุรกิจการเกษตร

1.2 เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายเกี่ยวกับสถาบันและสินเชื่อทางการเกษตร

1.3 เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายลักษณะของธุรกิจเกษตรของไทย

1.4 เพื่อให้ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไข ของการดำเนินธุรกิจต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอุสาหกรรมทางการเกษตรที่สำคัญ

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับธุรกิจการเกษตรทั้งในและนอกประเทศ

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาบทบาท ลักษณะและส่วนประกอบต่างๆของธุรกิจการเกษตร มูลค่าของส่วนประกอบธุรกิจการเกษตรต่อรายได้ประชาชาติ ลักษณะของธุรกิจเกษตรของไทย สถาบันและสินเชื่อการเกษตร วิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ โดยใช้กรณีตัวอย่างของการดำเนินธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอุสาหกรรมการเกษตรที่สำคัญ

2. หัวข้อและจำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคเรียน

บรรยาย

สอนเสริม

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

30 ชั่วโมง/ภาคเรียน

-

-

60 ชั่วโมง/ภาคเรียน

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล

1 ชั่วโมง/สัปดาห์ โดยการประกาศให้นิสิตทราบล่วงหน้า

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม

1.1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

มีคุณธรรมและจริยธรรม โดยเน้นความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน ขยันและอดทน กระตือรือร้น สู้งาน และยึดหลักธรรมในการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง (1.1)

· สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน ปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัย รู้บทบาทของตนในการเป็นทั้งผู้นำและทีมงานที่ดี

· มอบหมายให้นิสิตทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ

· จัดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เช่น โครงการการศึกษาดูงานการประกอบการธุรกิจขนาดย่อมในชุมชน

มีจิตสำนึกรับผิดชอบในหน้าที่ต่อตนเองและสังคม (1.2)

ตระหนักและเห็นคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในสังคมพหุวัฒนธรรม รวมถึงการเคารพสิทธิมนุษยชน (1.3)

มีความเป็นสุภาพชน มีความรักความสามัคคีในหมู่คณะ และรักในวิชาชีพของตน (1.4)

1.2) วิธีการสอน

· สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน ปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัย รู้บทบาทของตนในการเป็นทั้งผู้นำและทีมงานที่ดี

· มอบหมายให้นิสิตทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ

· จัดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เช่น โครงการการศึกษาดูงานในชุมชน เป็นต้น

1.3) วิธีการประเมิน

· การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน ซื่อสัตย์สุจริต การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน (1.1)

2. ด้านความรู้

2.1) ความรู้ที่ต้องพัฒนา

มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ ชีวิต และสังคม (2.1)

มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล สามารถบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ไปประยุกต์เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมได้ (2.2)

· นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับปัญหาทางด้านธุรกิจการเกษตรที่ถูกต้อง และทันกับสถานการณ์

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีและทักษะในการปฏิบัติทางพืชศาสตร์ (2.3)

2.2) วิธีการสอน

· ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง และ การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น

· เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ รวมทั้งมีการยกตัวอย่างให้นิสิตเห็นอย่างชัดเชน

2.3) วิธีการประเมิน

· การสอบย่อย (2.2)

· การสอบกลางภาค (2.2)

· การสอบปลายภาค (2.2)

· การทำรายงานรายบุคคล (2.2)

3. ด้านทักษะทางปัญญา

3.1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

มีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล (3.1)

มีความมุ่งมั่น ใฝ่รู้ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และสามารถนำความรู้ไปเชื่อมโยงกับภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างสรรค์สังคม (3.2)

· การแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน

· สามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการเกษตรของประเทศไทย และของโลกได้

มีความรู้ความสามารถในการวิจัยด้านพืชศาสตร์ (3.3)

3.2) วิธีการสอน

· สอนโดยศึกษาจากการเล่าเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์จริง และยกตัวอย่างประกอบในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ รวมทั้งมีการยกตัวอย่างให้นิสิตเห็นอย่างชัดเชน พร้อมแลกเปลี่ยนโดยให้นิสิตยกตัวอย่างด้วย

· สร้างเหตุการณ์จำลองให้มีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

3.3) วิธีการประเมิน

· การสอบย่อย (3.2)

· การสอบกลางภาค (3.2)

· การสอบปลายภาค (3.2)

· สังเกตการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า (3.2)

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา

เคารพระเบียบสังคม และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน และสังคม (4.1)

มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เคารพและให้คุณค่าแก่ตนเองและผู้อื่น (4.2)

มีจิตอาสาและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกของชุมชนและสังคม (4.3)

เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับสมาชิกในสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข (4.4)

4.2) วิธีการสอน

· จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและชุมชน

· มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย

· ผู้เรียนสามารถมีแนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชนร่วมกับเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และหน่วยงานอื่น ๆ ได้

4.3) วิธีการประเมิน

· ไม่ประเมิน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี

5.1) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา

มีความสามารถในการสืบค้นรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปประเด็น นำเสนอและสื่อสารโดยใช้ภาษาประจำชาติและภาษาที่สองได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5.1)

· ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลขโดยพัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และ นำเสนอในชั้นเรียน

· ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติจากกรณีศึกษา และการยกตัวอย่าง ที่เกี่ยวข้อง

· ทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนรู้

· ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการต่างๆ

สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศอย่างเหมาะสมและรู้เท่าทัน (5.2)

สามารถระบุ เข้าถึงและคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านพืชศาสตร์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ (5.3)

5.2) วิธีการสอน

· ใช้ PowerPoint ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทำความเข้าใจ ประกอบการสอนในชั้นเรียน โดยมีการยกตัวอย่างจากงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่

· สอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล

· แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล

· มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

· มอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจา

5.3) วิธีการประเมิน

· การสอบย่อย (5.1)

· การสอบกลางภาค (5.1)

· การสอบปลายภาค (5.1)

· ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน (5.1)

· ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน (5.1)

· ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (5.1)

6. ด้านคุณภาพชีวิต

6.1) คุณภาพชีวิตที่ต้องพัฒนา

รู้วิธีการดูแล รักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม อารมณ์ และปัญญา(6.1)

มีทัศนคติที่เปิดกว้างต่อการรับรู้ถึงความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม(6.2)

สนใจใฝ่รู้และสืบสานศิลปวัฒนธรรม (6.3)

ตระหนักถึงคุณค่าของธรรมชาติ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม(6.4)

ความคำนึงถึงความปลอดภัยด้านการผลิตพืช ต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค(6.5)

6.2) วิธีการสอน

· สอดแทรกเนื้อหาในรายวิชาเรียนเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต

6.3) วิธีการประเมิน

· ไม่ประเมิน

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน

สัปดาห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวน (ชั่วโมง)

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้

ผู้สอน

1-2

ชี้แจงรายวิชา

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปทางการตลาด

· คำจำกัดความที่สำคัญทางการตลาด

· แนวคิดการตลาด

· แนวคิดทางการตลาดสมัยใหม่

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

3-4

บทที่ 2 เศรษฐกิจการเกษตร

· สถานการณ์และแนวโน้มสินค้าเกษตรที่สำคัญ

· สถิติสินค้าเกษตรที่สำคัญ

· มูลค่าของส่วนประกอบธุรกิจการเกษตรต่อรายได้ประชาชาติ

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

- สอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

5-6

บทที่ 3 การแบ่งส่วนตลาด

· แนวคิดการแบ่งส่วนตลาด

· การแบ่งส่วนตลาด

· ปัจจัยที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาด

· กลยุทธ์ในการเลือกตลาดเป้าหมาย

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

7-8

บทที่ 4 ลักษณะธุรกิจการเกษตรไทย

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านปศุสัตว์และประมง

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านพืชและป่าไม้

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านอุตสาหกรรมและแปรรูป

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

9

สอบกลางภาค

10

บทที่ 5 สถาบันและสินเชื่อการเกษตร

· สินเชื่อการเกษตร

· สถาบันการเงินเพื่อการเกษตร

· ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

2

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

11-12

บทที่ 6 หลักการจัดการธุรกิจเกษตร

· หลักการจัดการฟาร์ม

· กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

· บทบาทของรัฐด้านการค้าสินค้าเกษตรและธุรกิจการเกษตร

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

13-14

บทที่ 7 การตลาดธุรกิจการเกษตร

· โครงสร้างและทางเลือกทางการตลาดของธุรกิจการเกษตร

· ช่องทางการตลาดในธุรกิจการเกษตร

· การตลาดของเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร

· ศึกษาดูงานการปะกอบธุรกิจเกษตรขนาดย่อมในชุมชน

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

15-16

บทที่ 8 การวิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ

· กรณีตัวอย่างของการดำเนินธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอุสาหกรรมการเกษตรที่สำคัญ

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยยกตัวอย่างกรณีศึกษา

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

17

สอบปลายภาค

2. แผนประเมินการเรียนรู้

( : ประเมินเฉพาะความรับผิดชอบหลัก)

ลำดับการ

ประเมิน

ผลการเรียนรู้

ลักษณะการประเมิน

(เช่น สอบ รายงาน โครงงาน ฯลฯ)

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของ

คะแนนที่

ประเมิน

1

1.1

· การมีวินัยต่อการเรียน ซื่อสัตย์สุจริต การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน

1-16

2

2

2.2, 3.2, 5.1

· การสอบย่อย

1-16

5

3

2.2, 3.2, 5.1

· สอบกลางภาค

9

35

4

2.2, 3.2, 5.1

· สอบปลายภาค

17

35

5

5.1

· ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน

· รายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

8,16

5

6

5.1

· ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน

8,16

5

7

2.2

· รายงานรายบุคคล

8,16

10

8

3.2

· การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

1-16

3

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตำราหลัก

สุดาพร กุณฑลบุตร. 2549. หลักการตลาด....สมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหายวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

ประยงค์ เนตยารัตน์. 2550. เศรษฐศาสตร์การเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ

สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์. 2553. การจัดการธุรกิจการเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ

2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ

ภาษาไทย

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร http://www.oae.go.th

กองส่งเสริมธุรกิจชุมชน www.sceb.doae.go.th

ภาษาอังกฤษ

ไม่มี

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต

ผู้เรียนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาธุรกิจการเกษตร

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

การประเมินการสอน โดยคณะกรรม และการสัมภาษณ์ตัวแทนผู้เรียน

3. การปรับปรุงการสอน

กรรมการบริหารหลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน นอกจากนี้มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา

กรรมการบริหารหลักสูตรประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในรายวิชา โดยการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของทุกในความรับผิดชอบของวิชาพืชศาสตร์ ภายในรอบเวลาหลักสูตร

5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

กรรมการบริหารหลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยผู้เรียน ผลการประเมินโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป

แผนการสอน

วิชา 0403391 ธุรกิจการเกษตร 2(2-0-4)

บรรยาย 10.10-12.10 น. ห้อง MF 1307

วัน/เดือน/ปี

จำนวนคาบ

หัวข้อ/รายละเอียด

ผู้สอน

20, 27 ม.ค. 60

4

ชี้แจงรายวิชา

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปทางการตลาด

· คำจำกัดความที่สำคัญทางการตลาด

· แนวคิดการตลาด

· แนวคิดทางการตลาดสมัยใหม่

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

3, 10 ก.พ. 60

4

บทที่ 2 เศรษฐกิจการเกษตร

· สถานการณ์และแนวโน้มสินค้าเกษตรที่สำคัญ

· สถิติสินค้าเกษตรที่สำคัญ

· มูลค่าของส่วนประกอบธุรกิจการเกษตรต่อรายได้ประชาชาติ

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

17, 24 ก.พ. 60

4

บทที่ 3 การแบ่งส่วนตลาด

· แนวคิดการแบ่งส่วนตลาด

· การแบ่งส่วนตลาด

· ปัจจัยที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาด

· กลยุทธ์ในการเลือกตลาดเป้าหมาย

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

3, 10 มี.ค. 60

4

บทที่ 4 ลักษณะธุรกิจการเกษตรไทย

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านปศุสัตว์และประมง

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านพืชและป่าไม้

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านอุตสาหกรรมและแปรรูป

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

17 มี.ค. 60

2

บทที่ 5 สถาบันและสินเชื่อการเกษตร

· สินเชื่อการเกษตร

· สถาบันการเงินเพื่อการเกษตร

· ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

สอบกลางภาค

31 มี.ค., 7 เม.ย. 60

4

บทที่ 6 หลักการจัดการธุรกิจเกษตร

· หลักการจัดการฟาร์ม

· กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

· บทบาทของรัฐด้านการค้าสินค้าเกษตรและธุรกิจการเกษตร

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

14, 21 เม.ย 60

4

บทที่ 7 การตลาดธุรกิจการเกษตร

· โครงสร้างและทางเลือกทางการตลาดของธุรกิจการเกษตร

· ช่องทางการตลาดในธุรกิจการเกษตร

· การตลาดของเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร

· ศึกษาดูงานการปะกอบธุรกิจเกษตรขนาดย่อมในชุมชน

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

28 เม.ย., 5 พ.ค. 60

4

บทที่ 8 การวิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ

· กรณีตัวอย่างของการดำเนินธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอุสาหกรรมการเกษตรที่สำคัญ

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

สอบปลายภาค

วิธีประเมินผลการเรียน

1. สัดส่วนคะแนน

สัดส่วนของคะแนน (%)

1. การมีวินัยต่อการเรียน ซื่อสัตย์สุจริต การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน

2

2. การสอบย่อย

5

3. สอบกลางภาค

35

4. สอบปลายภาค

35

5. ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน

6. รายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

5

7. ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน

5

8. รายงานรายบุคคล

10

9. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

3

2 เกณฑ์การประเมินผล

การประเมินแบบใช้ช่วงคะแนน (Fix rate) กำหนดช่วงคะแนนดังนี้

เกรด A มีคะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 80 คะแนน

เกรด B+ มีช่วงคะแนน 75 – 79.99 คะแนน

เกรด B มีช่วงคะแนน 70 – 74.99 คะแนน

เกรด C+ มีช่วงคะแนน 65 – 69.99 คะแนน

เกรด C มีช่วงคะแนน 60 – 64.99 คะแนน

เกรด D+ มีช่วงคะแนน 55 – 59.99 คะแนน

เกรด D มีช่วงคะแนน 50 – 54.99 คะแนน

เกรด F มีคะแนนต่ำกว่า 50 คะแนน

หรือ Mean SD โดยกำหนดช่วงคะแนนโดยผู้สอน

เอกสารอ่านประกอบ

สุดาพร กุณฑลบุตร. 2549. หลักการตลาด....สมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหายวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

ประยงค์ เนตยารัตน์. 2550. เศรษฐศาสตร์การเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ

สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์. 2553. การจัดการธุรกิจการเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ

ผู้สอน

อ. ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

ห้องทำงาน SC1335 เบอร์ภายใน 3304 เบอร์โทร 081-9655583 e-mail: [email protected]

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ เบอร์ภายใน 074-317600 ต่อ 1803 เบอร์โทร 074-317698

E - Mail : [email protected]

ลงชื่อ...................................................

(ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว)

วันที่ 5 มกราคม 2560

ลงชื่อ...................................................

(ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว)

ประธานสาขาวิชาพืชศาสตร์

วันที่ 5 มกราคม 2560

สัดส่วนภาระงานและการให้คะแนน

สัดส่วนภาระงาน

เตรียมสอน

ข้อสอบกลางภาค

105 คะแนน

(35 %)

ข้อสอบปลายภาค

105 คะแนน

(35 %)

อ. อุไรวรรณ

0.27

4 สัปดาห์

46 คะแนน

(15 %)

-

อ. ธนวิทย์ บุญสิทธิ์

0.73

11 สัปดาห์

59 คะแนน

(20 %)

105 คะแนน

(35%)

รายการการให้คะแนน

อ. อุไรวรรณ

อ. ธนวิทย์

รวม (%)

1. การมีวินัยต่อการเรียน ซื่อสัตย์สุจริต การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน

1

1

2

2. การสอบย่อย

2

3

5

3. สอบกลางภาค

15

20

35

4. สอบปลายภาค

-

35

35

5. ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน

6. รายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

-

5

5

7. ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน

-

5

5

8. รายงานรายบุคคล

5

5

10

9. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

1

3

3

รวม

23

77

100

มคอ. 3 รายละเอียดรายวิชา

Course Specification

0403391 ธุรกิจการเกษตร

(Agribusiness)

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาพืชศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554

คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน

มหาวิทยาลัยทักษิณ

สารบัญ

หมวดหน้า

หมวดที่ 1ข้อมูลทั่วไป1

หมวดที่ 2จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์4

หมวดที่ 3ลักษณะและการดำเนินการ4

หมวดที่ 4การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต5

หมวดที่ 5แผนการสอนและการประเมินผล7

หมวดที่ 6ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน9

หมวดที่ 7การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา10

รายละเอียดของรายวิชา

(Course Specification)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยทักษิณ

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา : วิทยาเขตพัทลุง คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน สาขาวิชาพืชศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา : 0403391 ธุรกิจการเกษตร

2. จำนวนหน่วยกิต : 2(2-0-4)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หมวดวิชา ประเภทกลุ่มวิชาเอกบังคับ

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

อ. ธนวิทย์ บุญสิทธิ์

5. ภาคเรียน/ชั้นปีที่เรียน : ภาคการศึกษาที่ 2/2559 ชั้นปีที่ 3

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pro-requisite) : ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) ;ไม่มี

8. สถานที่เรียน : มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

มกราคม พ.ศ. 2560 ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.1 เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายถึงบทบาทของตลาดและส่วนประกอบของธุรกิจการเกษตร

1.2 เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายเกี่ยวกับสถาบันและสินเชื่อทางการเกษตร

1.3 เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายลักษณะของธุรกิจเกษตรของไทย

1.4 เพื่อให้ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไข ของการดำเนินธุรกิจต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอุสาหกรรมทางการเกษตรที่สำคัญ

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับธุรกิจการเกษตรทั้งในและนอกประเทศ

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาบทบาท ลักษณะและส่วนประกอบต่างๆของธุรกิจการเกษตร มูลค่าของส่วนประกอบธุรกิจการเกษตรต่อรายได้ประชาชาติ ลักษณะของธุรกิจเกษตรของไทย สถาบันและสินเชื่อการเกษตร วิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ โดยใช้กรณีตัวอย่างของการดำเนินธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอุสาหกรรมการเกษตรที่สำคัญ

2. หัวข้อและจำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคเรียน

บรรยาย

สอนเสริม

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

30 ชั่วโมง/ภาคเรียน

-

-

60 ชั่วโมง/ภาคเรียน

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล

1 ชั่วโมง/สัปดาห์ โดยการประกาศให้นิสิตทราบล่วงหน้า

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม

1.1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

มีคุณธรรมและจริยธรรม โดยเน้นความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน ขยันและอดทน กระตือรือร้น สู้งาน และยึดหลักธรรมในการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง (1.1)

· สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน ปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัย รู้บทบาทของตนในการเป็นทั้งผู้นำและทีมงานที่ดี

· มอบหมายให้นิสิตทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ

· จัดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เช่น โครงการการศึกษาดูงานการประกอบการธุรกิจขนาดย่อมในชุมชน

มีจิตสำนึกรับผิดชอบในหน้าที่ต่อตนเองและสังคม (1.2)

ตระหนักและเห็นคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในสังคมพหุวัฒนธรรม รวมถึงการเคารพสิทธิมนุษยชน (1.3)

มีความเป็นสุภาพชน มีความรักความสามัคคีในหมู่คณะ และรักในวิชาชีพของตน (1.4)

1.2) วิธีการสอน

· สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน ปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัย รู้บทบาทของตนในการเป็นทั้งผู้นำและทีมงานที่ดี

· มอบหมายให้นิสิตทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ

· จัดกิจกรรมที่เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เช่น โครงการการศึกษาดูงานในชุมชน เป็นต้น

1.3) วิธีการประเมิน

· การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน ซื่อสัตย์สุจริต การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน (1.1)

2. ด้านความรู้

2.1) ความรู้ที่ต้องพัฒนา

มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ ชีวิต และสังคม (2.1)

มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล สามารถบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ไปประยุกต์เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมได้ (2.2)

· นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับปัญหาทางด้านธุรกิจการเกษตรที่ถูกต้อง และทันกับสถานการณ์

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีและทักษะในการปฏิบัติทางพืชศาสตร์ (2.3)

2.2) วิธีการสอน

· ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง และ การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น

· เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ รวมทั้งมีการยกตัวอย่างให้นิสิตเห็นอย่างชัดเชน

2.3) วิธีการประเมิน

· การสอบย่อย (2.2)

· การสอบกลางภาค (2.2)

· การสอบปลายภาค (2.2)

· การทำรายงานรายบุคคล (2.2)

3. ด้านทักษะทางปัญญา

3.1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

มีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล (3.1)

มีความมุ่งมั่น ใฝ่รู้ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และสามารถนำความรู้ไปเชื่อมโยงกับภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างสรรค์สังคม (3.2)

· การแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน

· สามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการเกษตรของประเทศไทย และของโลกได้

มีความรู้ความสามารถในการวิจัยด้านพืชศาสตร์ (3.3)

3.2) วิธีการสอน

· สอนโดยศึกษาจากการเล่าเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์จริง และยกตัวอย่างประกอบในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ รวมทั้งมีการยกตัวอย่างให้นิสิตเห็นอย่างชัดเชน พร้อมแลกเปลี่ยนโดยให้นิสิตยกตัวอย่างด้วย

· สร้างเหตุการณ์จำลองให้มีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

3.3) วิธีการประเมิน

· การสอบย่อย (3.2)

· การสอบกลางภาค (3.2)

· การสอบปลายภาค (3.2)

· สังเกตการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า (3.2)

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา

เคารพระเบียบสังคม และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน และสังคม (4.1)

มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เคารพและให้คุณค่าแก่ตนเองและผู้อื่น (4.2)

มีจิตอาสาและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกของชุมชนและสังคม (4.3)

เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับสมาชิกในสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข (4.4)

4.2) วิธีการสอน

· จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและชุมชน

· มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย

· ผู้เรียนสามารถมีแนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชนร่วมกับเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และหน่วยงานอื่น ๆ ได้

4.3) วิธีการประเมิน

· ไม่ประเมิน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี

5.1) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา

มีความสามารถในการสืบค้นรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปประเด็น นำเสนอและสื่อสารโดยใช้ภาษาประจำชาติและภาษาที่สองได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5.1)

· ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลขโดยพัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และ นำเสนอในชั้นเรียน

· ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติจากกรณีศึกษา และการยกตัวอย่าง ที่เกี่ยวข้อง

· ทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนรู้

· ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการต่างๆ

สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศอย่างเหมาะสมและรู้เท่าทัน (5.2)

สามารถระบุ เข้าถึงและคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านพืชศาสตร์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ (5.3)

5.2) วิธีการสอน

· ใช้ PowerPoint ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทำความเข้าใจ ประกอบการสอนในชั้นเรียน โดยมีการยกตัวอย่างจากงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่

· สอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล

· แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล

· มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

· มอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจา

5.3) วิธีการประเมิน

· การสอบย่อย (5.1)

· การสอบกลางภาค (5.1)

· การสอบปลายภาค (5.1)

· ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน (5.1)

· ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน (5.1)

· ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (5.1)

6. ด้านคุณภาพชีวิต

6.1) คุณภาพชีวิตที่ต้องพัฒนา

รู้วิธีการดูแล รักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม อารมณ์ และปัญญา(6.1)

มีทัศนคติที่เปิดกว้างต่อการรับรู้ถึงความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม(6.2)

สนใจใฝ่รู้และสืบสานศิลปวัฒนธรรม (6.3)

ตระหนักถึงคุณค่าของธรรมชาติ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม(6.4)

ความคำนึงถึงความปลอดภัยด้านการผลิตพืช ต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค(6.5)

6.2) วิธีการสอน

· สอดแทรกเนื้อหาในรายวิชาเรียนเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต

6.3) วิธีการประเมิน

· ไม่ประเมิน

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

2. แผนการสอน

สัปดาห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวน (ชั่วโมง)

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้

ผู้สอน

1-2

ชี้แจงรายวิชา

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปทางการตลาด

· คำจำกัดความที่สำคัญทางการตลาด

· แนวคิดการตลาด

· แนวคิดทางการตลาดสมัยใหม่

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

3-4

บทที่ 2 เศรษฐกิจการเกษตร

· สถานการณ์และแนวโน้มสินค้าเกษตรที่สำคัญ

· สถิติสินค้าเกษตรที่สำคัญ

· มูลค่าของส่วนประกอบธุรกิจการเกษตรต่อรายได้ประชาชาติ

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

- สอนโดยให้ผู้เรียนศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง

ดร. อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

5-6

บทที่ 3 การแบ่งส่วนตลาด

· แนวคิดการแบ่งส่วนตลาด

· การแบ่งส่วนตลาด

· ปัจจัยที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาด

· กลยุทธ์ในการเลือกตลาดเป้าหมาย

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

7-8

บทที่ 4 ลักษณะธุรกิจการเกษตรไทย

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านปศุสัตว์และประมง

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านพืชและป่าไม้

· ธุรกิจการเกษตรทางด้านอุตสาหกรรมและแปรรูป

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

9

สอบกลางภาค

10

บทที่ 5 สถาบันและสินเชื่อการเกษตร

· สินเชื่อการเกษตร

· สถาบันการเงินเพื่อการเกษตร

· ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

2

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

11-12

บทที่ 6 หลักการจัดการธุรกิจเกษตร

· หลักการจัดการฟาร์ม

· กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจการเกษตร

· บทบาทของรัฐด้านการค้าสินค้าเกษตรและธุรกิจการเกษตร

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

13-14

บทที่ 7 การตลาดธุรกิจการเกษตร

· โครงสร้างและทางเลือกทางการตลาดของธุรกิจการเกษตร

· ช่องทางการตลาดในธุรกิจการเกษตร

· การตลาดของเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร

· ศึกษาดูงานการปะกอบธุรกิจเกษตรขนาดย่อมในชุมชน

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

15-16

บทที่ 8 การวิเคราะห์ปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ

· กรณีตัวอย่างของการดำเนินธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอุสาหกรรมการเกษตรที่สำคัญ

4

- สอนและบรรยายเนื้อหา โดยใช้ power point

- สอนโดยยกตัวอย่างกรณีศึกษา

- สอนโดยการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน

- สอนโดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม

อ. ธนวิทย์บุญสิทธิ์

17

สอบปลายภาค

2. แผนประเมินการเรียนรู้

( : ประเมินเฉพาะความรับผิดชอบหลัก)

ลำดับการ

ประเมิน

ผลการเรียนรู้

ลักษณะการประเมิน

(เช่น สอบ รายงาน โครงงาน ฯลฯ)

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของ

คะแนนที่

ประเมิน

1

1.1

· การมีวินัยต่อการเรียน ซื่อสัตย์สุจริต การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน

1-16

2

2

2.2, 3.2, 5.1

· การสอบย่อย

1-16

5

3

2.2, 3.2, 5.1

· สอบกลางภาค

9

35

4

2.2, 3.2, 5.1

· สอบปลายภาค

17

35

5

5.1

· ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน

· รายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

8,16

5

6

5.1

· ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน

8,16

5

7

2.2

· รายงานรายบุคคล

8,16

10

8

3.2

· การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

1-16

3

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตำราหลัก

สุดาพร กุณฑลบุตร. 2549. หลักการตลาด....สมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหายวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

ประยงค์ เนตยารัตน์. 2550. เศรษฐศาสตร์การเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ

สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์. 2553. การจัดการธุรกิจการเกษตร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ

2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ

ภาษาไทย

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร http://www.oae.go.th

กองส่งเสริมธุรกิจชุมชน www.sceb.doae.go.th

ภาษาอังกฤษ

ไม่มี

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต

ผู้เรียนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาธุรกิจการเกษตร

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

การประเมินการสอน โดยคณะกรรม และการสัมภาษณ์ตัวแทนผู้เรียน

3. การปรับปรุงการสอน

กรรมการบริหารหลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน นอกจากนี้มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา

กรรมการบริหารหลักสูตรประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในรายวิชา โดยการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของทุกในความรับผิดชอบของวิชาพืชศาสตร์ ภายในรอบเวลาหลักสูตร

5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

กรรมการบริหารหลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยผู้เรียน ผลการประเมินโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป

แผนการสอน

วิชา 0403413 ยางพารา 3(3-0-6)

บรรยาย 08.00-11.00 ห้อง MF 1304

วัน/เดือน/ปี

จำนวนคาบ

หัวข้อ/รายละเอียด

ผู้สอน

17 ม.ค. 60

3

ชี้แจงรายวิชา

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ประวัติความเป็นมาของยางพารา

1.2 ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ

ดร.อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

24 ม.ค. 60

3

บทที่ 2 สถานการณ์ยางพารา

2.1 สถานการณ์ยางพารา

2.2 แนวทางการปรับตัว

ดร.อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว

31 ม.ค. 60

3

บทที่ 3 ลักษ�