35
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 28 9 - 15 Aug 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits &Vegetables Food Ingredient &Ready-to-Eat ประกาศรายชื่อคณะรัฐมนตรี ฯพณฯ ยิ่งลักษณ์ นโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของ ญี่ปุ ่น และสถานการณ์ GMOs ฐานข้อมูลผลไม้และปริมาณน�้า ฝน ส.ค.54 นายกฯ เดินหน้านโยบาย”ค่าแรง 300–เงินเดือนปริญญาตรี 15,000 ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน

Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Citation preview

Page 1: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 289 - 15 Aug 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

ประกาศรายชื่อคณะรัฐมนตรี ฯพณฯ ย่ิงลักษณ์

นโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของญี่ปุ่น และสถานการณ์ GMOs

ฐานข ้อมูลผลไม ้และปริมาณน�้ าฝน ส.ค.54

นายกฯ เดินหน้านโยบาย”ค่าแรง 300–เงินเดือนปริญญาตรี

15,000

ก้าวสู ่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Page 2: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

2

ContentsContents33

6 8 9 10

11 12

1314 14 16 16 17

18 19

20

06

11

13

20

21

03 ข่าวประชาสัมพันธ์• เชิญร่วมงานสัมมนาทางวิชาการของส�านักงานเศรษฐกิจการคลังประจ�าปี 2554 เอกสารแนบ 1• ประกาศรายชื่อคณะรัฐมนตรี ฯพณฯ ยิ่งลักษณ์

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร • นโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของญ่ีปุ่นและสถานการณ์ GMOs นโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของญี่ปุ่น • สถานการณ์ GMOs ของโลก • ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีจากกรีนพีซพบอาหารทะเลญ่ีปุ่นปนเปื้อนกัมมันตรังสีในระดับสูง • เอ็นจีโอเกษตรฯ เลิกขึ้นทะเบียน 4 สารเคมี

สถานการณ์ด้านประมง• ส่งออกอาหารทะเลเวียดนามพุ่งแตะ 3.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ฯ ใน 7 เดือนแรกของปี 54• ก.เกษตรฯ เปิดเวทีระดมสมอง วางกลยุทธ์กุ้งไทยในตลาดโลก สถานการณ์ด้านเกษตร • ฐานข้อมูลผลไม้และปริมาณน�้าฝน ส.ค.54• ราคาอ้อยพุ่งคาดแตะ1,200บาท/ตัน เอกชนรอถกพาณิชย์ข้ึนค่าถุงเป็น1บาท • สอน.จัดพิธีมอบรางวัลชาวไร่อ้อยและโรงงานน�้าตาลทรายดีเด่น ประจ�าปี 2554 • รัสเซียไฟเขียวผักอีย ู• ลดดอกเงินกู้เกษตรกร • 12จังหวัด’ฝ่าด่านเข้ารอบประกวดบริหารจัดการน�้า สถานการณ์ด้านแรงงาน • นายกฯ เดินหน้านโยบาย”ค่าแรง 300–เงินเดือนปริญญาตรี 15,000 • SAICO Productivity พิชิตวิกฤตแรงงาน” นสพ. กรุงเทพธุรกิจ 14 สิงหาคม 2554

สถานการณ์ด้านการค้า• ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

อัตราแลกเปลี่ยน

18

Page 3: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

3

Contentsข่าวประชาสัมพันธ์

เชิญร่วมงานสัมมนาทางวิชาการของส�านกังานเศรษฐกิจการคลัง ประจ�าปี 2554 (เอกสารแนบ 1)

ส�านักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ก�าหนดจัดงาน

สัมมนาทางวิชาการของ สศค. ประจ�าปี 2554 (FPO

Symposium 2011) เร่ือง “อนาคตเศรษฐกิจไทยก้าวอย่าง

มั่นใจสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558” ในวันจันทร์ที่

5 กันยายน 2554 เวลา 9.00 – 17.00 น. ณ ห้อง

เวิล์ดบอลรูม ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ

สมาชิกที่สนใจโปรดส่งแบบตอบรับไปนางสาวกนก

วรรณ สมรักษ์ E-mail: [email protected] หรือ

[email protected] โทรสาร 02-273-9059 ภายใน

วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2554 (รับจ�านวนจ�ากัด)

ประกาศรายชื่อคณะรัฐมนตรี ฯพณฯ ยิ่งลักษณ์

พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูพลอดุลยเดช มี

พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า ตามท่ี

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศลงวันที่ 5 สิงหาคม

พ.ศ. 2554 แล้วนั้น บัดนี้ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายก

รัฐมนตรี ได้เลือกสรรผู้ที่สมควรด�ารงต�าแหน่งรัฐมนตรี

เพื่อบริหารราชการแผ่นดินสืบไปแล้ว อาศัยอ�านาจตาม

ความในมาตรา 171 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชาณาจักร

ไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งรัฐมนตรี ดัง

ต่อไปนี้

นายกรัฐมนตรี:

น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

รองนายกรัฐมนตรี:

นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ์, ร้อยต�ารวจเอก เฉลิม อยู่บ�ารุง,

พลต�ารวจเอก โกวิท วัฒนะ,

นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง, นายชุมพล ศิลปอาชา

รัฐมนตรีประจ�าส�านักนายกรัฐมนตรี:

นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์, นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม:

พลเอก ยุทธศักด์ิ ศศิประภา

Page 4: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

4

รัฐมนตรีประจ�าส�านักนายกรัฐมนตรี :

นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์, นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม:

พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง:

นายธีระชัย ภูวนาทนรานุบาล

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง:

นายบุญทรง เตริยาภิรมย์

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง:

นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ:

นายสุรพงษ์ โตวิจักษ์ชัยกุล

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

ของมนุษย์: นายสันติ พร้อมพัฒน์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา:

นายชุมพล ศิลปอาชา

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์:

นายธีระ วงศ์สมุทร

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์:

นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม:

พลอากาศเอก สุก�าพล สุวรรณทัต

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม:

พลต�ารวจโท ชัชจ์ กุลดิลก

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม:

นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง

แวดล้อม: นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร: นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน:

นายพิชัย นริพทะพันธุ์

Page 5: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

5

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์:

นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์:

นายภูมิ สาระผล

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์:

นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย:

นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ์

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย:

นายชูชาติ หาญสวัสด์ิ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย:

นายฐานิสร์ เทียนทอง

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม:

พลต�ารวจเอก ประชา พรหมนอก

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน:

นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม:

นางสุกุมล คุณปลื้ม

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี:

นายปลอดประสพ สุรัสวดี

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ:

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ:

นางบุญรื่น ศรีธเรศ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ:

นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข:

นายวิทยา บุรณศิริ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข:

นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม:

นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล

Page 6: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

6

WEEKLY BRIEF

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

นโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของญี่ปุ่น และสถานการณ์ GMOs นโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของญี่ปุ่น

ส�านักงานมาตรฐานสินค้า

เกษตรและอาหารแห่งชาติ(มกอช.) ได้เชิญ รศ.ดร.วีระ

สิทธิ์ สรรพมงคลไชย จากคณะอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาเป็นวิทยากรบรรยาย ใน

การสัมมนาเรื่อง การคาดการณ์นโยบายความปลอดภัย

ด้านอาหารของประเทศคู่ค้าส�าคัญ คร้ังที่ 1 เมื่อวัน

ที่ 4 สิงหาคม 2554 ในโอกาสนี้ รศ.ดร.วีระสิทธิ์ ได้

ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหารของประเทศ

คู่ค้าคือประเทศญี่ปุ ่น พบว่าผลิตภัณฑ์ประมงมีสัดส่วน

การค้ามากที่สุด ทั้งน�าเข้าและส่งออก โดยไทยส่งออก

ญ่ีปุ่น 39% และน�าเข้าจากญี่ปุ ่น 72%

ป ั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต ่ อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง อ า ห า ร

1) โครงสร ้างประชากร จะพบว ่าผู ้สู งอายุ

ใ นประ เทศญี่ ปุ ่ นมี แนว โน ้ ม เพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งมาจาก

ก า ร บ ริ โ ภ ค อ า ห า ร เ พื่ อ สุ ข ภ า พ มี ม า ก ขึ้ น ชี วิ ต

ค ว า ม เ ป ็ น อ ยู ่ แ ล ะ สุ ข ภ า พ จึ ง ดี ข้ึ น ต า ม ไ ป ด ้ ว ย

2) สภาวะเศรษฐกิจ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ

และรายได ้ต ่อหัวของประเทศญ่ีปุ ่นพบว ่ามีแนวโน ้ม

เพิ่มขึ้น ประชาชนจึงให้ความส�าคัญกับความปลอดภัย

ของอาหารมากกว ่าราคาเพราะมีก�าลังในการซื้อเยอะ

3) การเกิดอุบิตการณ์/ อุบัติภัย หลังจากเหตุการณ์

แผ่นดินไหวและสึนามิในญ่ีปุ่นเม่ือวันที่ 11มีนาคม 2554

ท�าให้ประชาชนชาวญ่ีปุ่นรวมทั้งประเทศที่น�าเข้าสินค้าจาก

ญี่ปุ ่นวิตกกังวลเรื่องความปลอดภัยของอาหารท่ีปนเปื ้อน

จากกัมมันตรังสี จนท�าให้เกิดค�าถามข้ึนว่า “อาหารญี่ปุ่น

Page 7: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

7

ปลอดภัยจริงหรือ??” ส่งผลให้ประเทศคู่ค้าออกกฎระเบียบ

ในการน�าเข้าอาหารจากประเทศญี่ปุ ่น เช่น การก�าหนด

มาตรฐานระดับสารกัมมันตรังสีในอาหารประเภทต่างๆ

ซ่ึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของญี่ปุ ่นคือกระทรวงเกษตร ป่า

ไม้ และประมง และกระทรวงแรงงานและสาธารณสุข

โดยมาตรการก�าจัดอาหารที่ปนเป ื ้อนกัมมันตรังสี เ กิน

มาตรฐานคือ ห ้ ามจ� าหน ่ ายและให ้ท� าลายทิ้ งทันที

นโยบายพื้นฐานที่ เกี่ ยวข ้องและส ่ง เสริมเรื่ อง

เสถี ย รภาพของอาหาร ( Food S tab i l i t y ) มี ดั งนี ้

(1) สร้างความมั่นใจเร่ืองอาหารปลอดภัยให้กับผู้บริโภค

โดยการส่งเสริม เผยแพร่ และขยายผลเรื่อง Food

Chain รวมทั้งยกระดับความปลอดภัยของอาหารด้วย

(2) สร ้างความเข ้มแข็งและส ่ง เสริมให ้อาหารและ

เกษตรเกื้อหนุนกัน โดยมุ่งเน้นไปยังสินค้าเกษตรภายใน

ประเทศและเริ่มจากส่งเสริมชีวิตประจ�าวันแบบญี่ปุ ่นให้

( 3 ) จั ด ตั้ ง ร ะ บบก า ร ก า รั น ตี ค ว า มปลอดภั ย ข อ ง

อาหารโดยภาพรวม ซึ่งสามารถท�าได้โดยใช้หลักการ

Risk Manager

ทั้งนี้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหาร

ของประเทศญ่ีปุ ่นสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก

เว็บไซต์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังนี้

กระทรวงเกษตรป่าไม้และประมง www.maff.go.jp

กระทรวงแรงงานและสาธารณสุขwww.mhlw.go.jp

หน่วยงานดูแลผู้บริโภค www.caa.go.jp

องค์การส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ www.jetro.go.jp

ส่วนมากเว็บไซต์จะเป็นภาษาญี่ปุ่นท่ีมีการ

แปลเป็นภาษาอังกฤษน้อยมาก แต่มีหน่วย

งานราชการของไทยที่รวบรวมไว้ให้ ดังนี้

มกอช.(ACFS)www.acfs.go.th

สถาบันอาหาร (NFI) www.nfi.or.th

กระทรวงพาณิชย์ www.moc.go.th

กรมปศุสัตว์ www.dld.go.th

กรมประมง www.fisheries.go.th

กรมวิชาการเกษตร www.doa.go.th

Page 8: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

888

สถานการณ์ GMOs ของโลก

การสัมมนาได้รับเกียรติจาก

คุณดุจเดือน ศศะนาวิน ผอ.กองนโยบายมาตรฐานสินค้า

เกษตรและอาหาร มกอช. เป็นวิทยากรในช่วงที่ 2 การ

สัมมนาสถานการณ์การปลูก GMOs ของโลกและราย

ประเทศ โดยพื้นที่ปลูกพืช GMOs เชิงพาณิชย์ของโลก

ส�ารวจล่าสุดเมื่อปี 2552 รวม 134 ล้านเฮคเตอร์ เพิ่ม

ข้ึน 7% ทั้งนี้ มีประเทศที่มีพื้นที่ปลูกมากกว่า 50,000

เฮคเตอร์ 25 ประเทศ และอีก 32 ประเทศ ยอมรับ

การน�าเข้าอย่างเป็นทางการ โดยประเทศ 5 อันดับแรก

ที่เพาะปลูกพืช GMOs เชิงพาณิชย์มากที่สุด (ปี 2552)

คือ 1)สหรัฐอเมริกา 2) บราซิล 3) อาร์เจนตินา 4)

อินเดีย และ5) แคนาดา สินค้าที่มีการเพาะปลูกเชิง

พาณิชย์ที่ส�าคัญ ได้แก่ ถั่วเหลือง ข้าวโพด ฝ้าย คาโน

ลา ชูการ์บีท และมะละกอ

นโยบาย/ กฏระเบียบ GMO ปัจจุบัน และคาด

การณ์แนวโน้มในอนาคตของประเทศสหรัฐอเมริกา

นโยบาย/ กฎระเบียบ

- ครอบคลุมทั้งอาหารคน อาหารสัตว์ เพื่อการแปรรูป

และอื่นๆ

- การปลูกเชิงพาณิชย์หรือการจ�าหน่ายต้องผ่านการ

ประเมินความเสี่ยง(Biosafety) หน่วยงานหลักท่ี

เกี่ยวข้องUSDA, USFDA เน้นข้อมูลและเหตุผลทาง

วิทยาศาสตร ์

- ถือว่าคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ส�าคัญกว่ากระบวนการ

หาก GMOs นั้นมีคุณลักษณะเท่าเทียมอย่างมีนัยส�าคัญ

กับสินค้าชนิดเดียวกันที่ไม่ใช่ GMOs การติดฉลาก

- ถ้าต้องการประกาศว่าไม่ใช่สินค้า GMOs ให้ติด

ฉลากว่า Non-GMOs

- ถ้าผลิตภัณฑ์ GMOs ไม่มีความแตกต่างท่ีส�าคัญ

จากผลิตภัณฑ์ตามวิธีการด้ังเดิม ไม่ต้องติดฉลากระบุว่า

เป็น GMOs

คาดการณ์นโยบาย/ ระเบียบ

- สหรัฐฯ ยังคงนโยบายยอมรับ GMOs และส่งเสริม

งานวิจัย และการปลูกเชิงพาณิชย์ภายในประเทศ

- การศึกษา biosafety assessment ด้านสิ่งแวดล้อม

ของสิ่งมีชีวิต GMOs จะมีการให้ความส�าคัญมากขึ้น

ข้อมูลเพิ่มเติม: ส�านักงานมาตรฐานสินค้า

เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) โทรศัพท์

0-2561-2277โทรสาร 02-561-4034 หรือ 02-561-4088

เว็บไซด์ www.acfs.go.th

ท่ีมา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมสัมมนา เร่ือง การคาด

การณ์นโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของประเทศคู่ค้าส�าคัญ คร้ังที่ 1 วันที่

4 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมรามาการ์เดนส์

Page 9: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

9

Vol. 2 Issue 2

9

ผู ้เชี่ยวชาญด้านรังสีจากกรีนพีซพบอาหารทะเลญ่ีปุ่นปนเปื้อนกัมมันตรังสีในระดับสูง

ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีของกรีนพีซ

(Greenpeace) เปิดเผยว่า อาหารทะเลที่จับได้โดยชาว

ประมงญี่ปุ่นนอกชายฝั่งของประเทศปนเปื้อน กัมมันตรังสี

ในระดับสูง หลังจากผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีของกรีนพีซได้สุ่ม

เก็บตัวอย่างอาหารทะเลที่ท่า เรือจังหวัดอิวากิ เมื่อวันที่

22-24 กรกฎาคม 2554

ACRO และ CRIRAD ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์

ของฝรั่งเศสซึ่งได้วิเคราะห์การปนเปื้อน กัมมันตรังสีพบ

ว่า ตัวอย่างอาหารทะเลจ�านวนมากปนเปื้อนกัมมันตรังสี

ในระดับสูง ซึ่งหมายความว่าการปนเปื ้อนกัมมันตรังสี

บริเวณชายฝั่งฟูกิชิมะยังอยู่ใน ระดับที่เป็นอันตราย กลุ่ม

กรีนพีซจึงได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ ่นบังคับให้มีการติด

ฉลาก ผลิตภัณฑ์อาหารทะเล ระบุระดับกัมมันตรังสีและ

เขตการตกปลา เนื่องจากซุปเปอร์มาร์เก็ตไม่ได้ให้ข้อมูล

เพียงพอแก่ลูกค้า และเพิ่มระดับความเข้มงวดในระบบ

การตรวจสอบกัมมันตรังสีและการกระจายอาหารควร

อย่างเร่งด่วน เน่ืองจากฤดูการจับปลาบริเวณจังหวัดฟู

กุชิมะและอิบารากิก�าลังจะเริ่มขึ้น และอาหารทะเลเป็น

อาหารหลักของชาวญี่ปุ ่น นอกจากนี้ยังไม่มีกฎหมาย

ส�าหรับการตรวจสอบแหล่งที่มาของปลาและอาหารทะเล

ไม่เหมือนเนื้อวัวซึ่งมีการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวแล้ว

ที่มา : มกอช. (The Fish Site) 11ส.ค. 54

Page 10: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

10

สถานการณ์ด้านประมง

“จากการศึกษาพบว่าสารเคมีดังกล่าวมีความเป็นพิษ

สูงมาก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และหลายประเทศ

ในเอเชียได้ห้ามใช้ไปแล้ว เนื่องจากมีพิษภัยร้ายแรงต่อ

มนุษย์ สัตว์ เช่นเดียวกับผลการทดลองในประเทศไทย

โดยดอกเตอร์สุภาพร ใจการุณ คณะสาธารณสุขศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี แม้สารเคมีทั้ง4ชนิดจะ

มีผลลดจ�านวนแมลงศัตรูพืช แต่ก็จะได้ผลเพียงระยะสั้น

เพราะสารพิษดังกล่าวได้ท�าลายแมลงตัวห�้า ตัวเบียน ซึ่ง

จะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของแมลงศัตรูพืชในระยะ

ยาว”

อ่านต่อคลิก http://www.acfs.go.th/news_detail.

php?ntype=09&id=9637

ท่ีมา : นสพ.กรุงเทพธุรกิจ หน้า 7

เอ็นจีโอเกษตรฯ เลิกขึ้นทะเบียน 4 สารเคมี

เครือข ่ายเตือนภัยสารเคมีการเกษตร ประกอบ

ด้วย แพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการหลายสาขา

องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมองค์กรคุ ้มครองผู ้บริโภคและ

เครือข่ายเกษตรกรแถลงยืน ยันให้กรมวิชาการเกษตร

ประกาศยกเลิกขึ้นทะเบียนสารเคมีก�าจัดศัตรูพืช 4

ชนิด ได้แก่ อีพีเอ็น คาร์โบฟูราน เมโทมิล ไดโคร

โตฟอส ก่อนวันที่ 22 สิงหาคม ซ่ึงเป็นวันสุดท้าย

ท่ีผู ้ประกอบการจะมาขึ้นทะเบียนใหม่ตามกฎหมาย

หลังจากมีความเคลื่อนไหวของผู้ประกอบการสาร

เคมีการเกษตรให้ยืดระยะเวลาการ ขึ้นทะเบียนสาร

เคมีการเกษตรออกไปอีก 2 ปี และมีแนวโน้ม กรม

วิชาการเกษตร ซ่ึงดูแลวัตถุอันตรายการเกษตรตาม

พ.ร.บ.วัตถุอันตราย จะอนุญาตให้สารเคมีอันตราย

หลายชนิดสามารถขึ้นทะเบียนได้ เครือข่ายเตือนภัย

สารเคมีการเกษตรร่วมกันแถลงข้อเรียกร้องต่อกรม

วิชาการ เกษตร

โดยนายแพทย ์ป ัตพงษ ์ เกษ

สมบูรณ์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ขอนแก ่น ได ้ เ รี ยกร ้ องให ้กรม

วิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ยกเลิกการขึ้นทะเบียนสาร

เคมีก�าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีพิษภัยร้ายแรงมากที่สุด 4 ชนิด

ได้แก่ อีพีเอ็น คาร์โบฟูราน เมโทมิล ไดโครโตฟอส

Page 11: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

1111

สถานการณ์ด้านประมง

ส่งออกอาหารทะเลเวียดนามพุ่งแตะ 3.1 พันล้านดอลลาร์สหรฐั ฯ ใน 7 เดอืนแรกของปี 54 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2554 สมาคมผู้ผลิตและส่งออก

อาหารทะเลเวียดนาม (VASEP) กล่าวว่าการส่งออก

อาหารทะเลเวียดนามอยู่ที่ระดับ 3.1 พันล้านดอลลาร์

สหรัฐฯ ภายใน 7 เดือนแรกของปี 2554 หรือเพิ่ม

ข้ึน 24.8 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2553

การส่งออกอาหารทะเลของเวียดนามไปยังตลาด

หลักเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและ มูลค่า เช่น การส่งออก

อาหารทะเลไปยังสหรัฐฯ มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 48.8 % จีน

เพิ่มข้ึน 60.5 % และแคนาดา เพิ่มขึ้น 66.2 %

จากผลิตภัณฑ์อาหารทะเล

ทั้งหมด การส่งออกกุ้งเติบโตมากที่สุด ในช่วงเจ็ดเดือน

แรกของปี 2554 เวียดนามส่งออกกุ้ง 115, 000 ตัน

คิดเป็นมูลค่า 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือมีปริมาณ

การส่งออกเพิ่มขึ้น 15 % และ มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 35

% เม่ือเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2553 ด้านราคากุ้ง

ส�าหรับส่งออกในช่วง 6 เดือนแรกอยู่ที่กิโลกรัมละ 9.53

ดอลลาร์สหรัฐ หรือเพ่ิมขึ้น 15.6 % เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปี 2553

ปัจจุบัน เวียดนามติดอันดับ 1 ใน 10 ของผู้

ส่งออกอาหารทะเลรายใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งส่งสินค้า

ออกไปจ�าหน่ายกว่า 160 ประเทศ

ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบทเวียดนาม

คาดการณ์ว่า เม่ือสิ้นปี 2554 เวียดนามจะมีรายได้จาก

การส่งออกอาหารทะเลอยู่ที่ 6.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ท่ีมา : มกอช. (Xinhua) 8 ส.ค. 54

Page 12: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

12

ก.เกษตรฯ เปิดเวทีระดมสมอง วางกลยุทธ์กุ้งไทยในตลาดโลก

นายธีระ วงศ์สมุทร รมว.เกษตร

และ สหกรณ์ เปิดเผยว่า กุ้งเป็น

สินค้าหนึ่ง ที่กระทรวงเกษตรฯ

ให้ความส�าคัญและต้องดูแลเป็น

พิเศษ โดยมอบหมายให้กรมประมงและหน่วยงานที่

เก่ียวข้องจัดท�ายุทธศาสตร์สินค้ากุ้ง และผลิตภัณฑ์ โดย

ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาประเทศไทย สามารถ

ครองต�าแหน่งผู ้ส ่งออกกุ ้งจากการ เพาะเลี้ยงได้เป็น

อันดับหนึ่งอย่างต่อเนื่อง แต่เมื่อประเทศไทยก้าวขึ้นมาสู่

อันดับหน่ึงก็ต้องมีภารกิจเพิ่มเติม คือ การคิดหากลยุทธ์

ที่สร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง และจะต้อง หาตลาด

ใหม่เพิ่มขึ้นด้วย

ดังนั้น จึงมีการจัดสัมมนาระดมความคิด เรื่อง การ

ขับเคลื่อนอุตสาหกรรม กุ้งไทยภายใต้สถานการณ์ความ

ท้าทายด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นการ

เปิดโอกาสครั้งส�าคัญให้ผู ้มีส่วนเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม

กุ้ง ตลอดสาย ห่วงโซ่การผลิต ได้ร่วมกันระดมความ

คิดเห็น เพื่อหาทางออก โดยตอบโจทย์ของอุปสรรคภาย

ใต้สถานการณ์ความท้าทายได้อย่างตรงเป้าหมายมากท่ี

สุด โดยผลจากการสัมมนาในครั้งนี้จะน�าไปสู่กลไกการ

ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกุ้งไทย ใน3ประเด็น คือ1.การก

ระตุ้นเกิดนโยบายทางการเมือง เพื่อวางแผนการจัดการ

เพาะเลี้ยงเชิงพื้นที่ที่สอดคล้องกับการตลาด 2.ลดความ

เสี่ยงของการลงทุนในการเพาะเลี้ยง3.การปรับปรุงภาพ

ลักษณ์ของการเพาะ เลี้ยงที่มีต่อสายตาสังคมโลกให้ดีขึ้น

เพื่อรักษาศักยภาพให้อุตสาหกรรม กุ้งไทยสามารถยืนหยัด

และแข่งขันในตลาดโลกได้อย่างยั่งยืน

ส�าหรับเนื้อหาการสัมมนา มีหลาย หัวข้อ อาทิ การ

บรรยายเรื่องประเด็นที่ท้าทายต่อการค้าและการเพาะเลี้ยง

กุ้ง ในอนาคตอันใกล้ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิ

อากาศโลกต่อการเพาะเลี้ยงกุ้ง เป็นต้น

ท่ีมา : นสพ.แนวหน้า หน้า 14

สถานการณ์ด้านเกษตร

Page 13: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

13

สถานการณ์ด้านเกษตร

ฐานข้อมูลผลไม้และปริมาณน�้าฝน ส.ค.54

สมาคมฯ ได้รวบรวมสถานการณ์วัตถุดิบที่ เป ็น

ประโยชน์และปริมาณน�้าฝน เป็นประจ�าทุกเดือน และ

จัดท�าเป ็นฐานข้อมูลผลไม้ที่ส�าคัญ และฐานข้อมูล

ปริมาณน�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาคต่างๆ เพื่อเป็น

ข้อมูลแก่สมาชิกน�าไปใช้ประโยชน์ต่อไป โดยในเดือน

สิงหาคม สมาคมฯ ขอแจ้งข้อมูลแก่ท่านสมาชิกดังนี้

1.ฐานข้อมูลผลไม้ท่ีส�าคัญประจ�าเดือนสิงหาคม 2554

(รายละเอียดตามเอกสารแนบ 2) โดยฐานข้อมูลผลไม้ที่

ส�าคัญจะมีข้อมูลของผลไม้ 12 ชนิด ได้แก่ สับปะรด

โรงงาน ล�าไยเกรดA ลองกอง เงาะโรงเรียน มังคุด

ลิ้นจี่ มะพร้าว มะม่วง ทุเรียน ข้าวโพดฝักอ่อน

ข้าวโพดหวานและ มะนาว ซึ่งแต่ละชนิดทางสมาคมฯ

ได้จัดท�าข ้อมูลให้รายละเอียดเกี่ยวกับ มาตราฐาน

วัตถุดิบที่เกี่ยวข้อง, ฤดูกาล, จังหวัดที่มีการเพาะปลูก

มาก, สถานการณ์/ปัจจัยการผลิตที่เกี่ยวข้อง, เนื้อที่

เพาะปลูก, ปริมาณผลผลิต และราคาที่เกษตรกรขาย

ได้เฉลี่ย ฯลฯ เป็นต้น

2. ฐานข้อมูลปริมาณน�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาค

ต่างๆ เดือนมกราคม - กรกฎาคม ปี 2552-2554

(รายละเอียดตามเอกสารแนบ 3) ซึ่งฐานข้อมูลปริมาณ

น�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาคต่างๆ เดือนมกราคม-

กรกฎาคม ปี2552-2554 จะเป็นการเปรียบเทียบ

ทั้งปริมาณของน�้าฝนและอุณหภูมิของภูมิภาคต่างๆใน

ประเทศไทย

Page 14: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

14 14

ราคาอ้อยพุ่งคาดแตะ1,200บาท/ตัน เอกชนรอถกพาณิชย์ขึ้นค่าถุงเป็น1บาท

นายประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการคณะ

กรรมการอ้อยและน�้าตาลทราย (สอน.) เปิดเผยว่า

คาดการณ์ราคาอ้อยขั้นปลาย ฤดูการผลิต 2553/2554

ไว้ที่ 1,200 บาทต่อตัน มากกว่าราคาขั้นต้นซึ่งอยู่

ที่ 1,050 บาทต่อตัน เนื่องจากราคาขั้นต้นและข้ัน

ปลายต้องรวมกับส่วนต่างราคาอ้อยที่เพิ่มขึ้น 100

บาทต่อตัน สมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ประกอบกับแนวโน้มราคาน�้าตาลในตลาดโลกยังอยู ่

ในระดับสูงกว่า

นายประเสริฐกล่าวว่า ส�าหรับฤดูการผลิต

2554/2555 สอน.คาดว่าผลผลิตอ้อยจะเพิ่มขึ้นมาอยู่

ที่ 100 ล้านตัน เนื่องจากแนวโน้มปริมาณผลผลิต

ยังสูงต่อเนื่องจากฤดูการผลิต 2553/2554 ประกอบ

กับสภาพอากาศที่เอื้ออ�านวย ขณะที่ปริมาณโรงงาน

น�้าตาลในปี 2555 จะเพิ่มขึ้นอีก 3 โรง ประกอบ

ด้วย 1.โรงงานน�้าตาลอุตรดิตถ์ กลุ่มนายเจริญ สิริ

วัฒนภักดี จ.สุโขทัย ก�าลังการผลิตรวม 36,000 ตัน

อ้อยต่อวัน มูลค่าลงทุน 10,000 ล้านบาท 2.กลุ่ม

น�้าตาลขอนแก่น ก�าลังการผลิตรวม 30,000 ตัน

อ้อยต่อวัน จังหวัดเลย มูลค่าลงทุน 3,800 ล้าน

บาท และ 3.โรงงานน�้าตาลมิตรภูหลวง กลุ่มมิตร

ผล จ.เลย ก�าลังการผลิตรวม 25,000 ตันอ้อยต่อวัน

รวมเป็น 50 โรง จากปัจจุบันอยู่ที่ 47 โรง อ่านต่อ

คลิก http://www.matichon.co.th/news_detail.

php?newsid=1313026732&grpid=&catid=05&su

bcatid=0503

ที่มา : นสพ.มติชน วันที่ 11 ส.ค. 54

สอน.จัดพิธีมอบรางวัลชาวไร่อ้อยและโรงงานน�้าตาลทรายดีเด่น ประจ�าปี 2554

เนื่อง ในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนาส�านักงานคณะ

กรรมการอ้อยและน�้าตาลทราย(สอน.) ครบรอบ 27 ปี

โดยมี ดร. วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีดังกล่าว ดร.วิฑูรย์ สิมะโชค

ดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวกับผู้รับรางวัลและ

ผู้เข้าร่วมงานตอนหนึ่งว่า แม้ว่าปีนี้ ผลผลิตอ้อยจะได้

สูงถึง 95.36 ล้านตัน สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ ซึ่งท�าให้

ได้ผลผลิตน�้าตาลทรายที่ 9.64 ล้านตัน ท�าให้สามารถ

ส่งออกน�้าตาลทรายได้กว่า 7 ล้านตัน อันท�าให้ไทย

เป็นผู้ส่งออกน�้าตาลอันดับ 2 ของโลก และคาดว่า

จะสามารถสร้างรายได้จากการจ�าหน่ายน�้าตาลทรายใน

ประเทศและส่งออกเป็นมูลค่ากว่า 180,000 ล้านบาท

แต่อุตสาหกรรมอ้อยและน�้าตาลทรายของไทย ยังต้อง

เผชิญกับปัญหาด้านประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพ

อ้อยอีกมากมายหลายด้าน

Page 15: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

1515

“การ ที่มีมีผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้น ท�าให้เราพบว่าปริมาณ

อ้อยไฟไหม้ก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมากอันสืบเนื่องมาจากการ

ขาดแคลนแรงงานและเคร่ืองจักรตัดอ้อย ขณะ เดียวกัน

การจัดคิวอ้อยและขนส่งอ้อยเข้าโรงงานในปีที่ผ่านมาก็มี

ปัญหาจาก ปริมาณอ้อยที่เพิ่มขึ้นเกินกว่าประมาณการณ์

มาก ท�าให้ประสิทธิภาพการผลิตน�้าตาลทรายลดต�่าลง

ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีเป็นโจทย์ที่ทุกฝ่ายจะต้องน�ามาวางแผนแก้ไข

กันอย่างจริงจัง”

ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการคณะกรรมการ

อ้อยและน�้าตาลทราย กล่าวว่า แม้ในช่วงฤดูการผลิตปี

53/54 จะมีอ้อยส่งเข้าโรงงานกว่า 95 ล้านตัน สามารถ

น�าไปผลิตน�้าตาลได้มากกว่าปีที่ผ่านมาถึง 40 เปอร์เซ็นต์

แต่ปริมาณน�้าตาลเฉลี่ยต่อไร่กลับอยู่ในระดับต�่า (101.10

กิโลกรัมต่อไร่) ขณะ เดียวกันการมีอ้อยส่งเข้าโรงงาน

พร้อมกันเป็นจ�านวนมาก ท�าให้ประสิทธิภาพการผลิต

น�้าตาลลดต�่าลง เกิดการสูญเสียรายได้ของอุตสาหกรรมนี้

ไปโดยไม่จ�าเป็น ซึ่ง สอน. ผู้แทนชาวไร่อ้อย และโรงงาน

น�้าตาล ก�าลังพิจารณาหาแนวทางเพื่อไม่ให้เกิดปัญหานี้ใน

ฤดูการผลิตหน้าในช่วงปลายปีนี้

ท่ีมา : ส�านักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้าตาลทราย วันที่ 11 ส.ค. 54

Page 16: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

16 16

รัสเซียไฟเขียวผักอียู

เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2554 นาย Gennady

Onishchenko หน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคของรัสเซีย

Rospotrebnadzor กล่าวว่า รัสเซียเตรียมยกเลิกการ

ระงับน�าเข้าผักสดจากประเทศในสหภาพยุโรปตั้งแต่

วันที่ 9 สิงหาคม 2554 หลังเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน

2554 รัสเซียประกาศระงับการน�าเข้าสินค้าผักสด

จากสหภาพยุโรป เน่ืองจากการระบาดของเชื้ออีโคไล

อน่ึง เมื่อปี 2553 สหภาพยุโรปส่งออกผักไปยัง

รัสเซียคิดเป็น 600 ล้านยูโรหรือ 850 ล้านดอลลาร์

สหรัฐ ซึ่งสหภาพยุโรปถือเป็นคู่ค้าที่ส�าคัญของรัสเซีย

ที่มา : Reuters 15ส.ค 54

ลดดอกเงินกู้เกษตรกร

นายสถิตย์พงษ์ สุดชูเกียรติ

รองเลขาธิการ ส�านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

(ส.ป.ก.) เปิดเผยว่า หลังจากที่ ส.ป.ก. และธนาคาร

เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)ได้ร่วม

ด�าเนินการให้สินเช่ือแก่เกษตรกรในเขตปฏิรูปท่ีดิน พบ

ว่าปัจจุบันเกษตรกรใน

พื้นที่ปฏิรูปที่ดินกู้เงินจาก ธ.ก.ส. จ�านวน289,000ราย

โดยน�าที่ดินไปค�้าประกันวงเงินกู้ 398,274 แปลง หรือ

ประมาณ 6.15 ล้านไร่ คิดเป็นวงเงินกู้ยืมทั้งสิ้นประมาณ

50,828ล้านบาท โดยมียอดค้างช�าระ 35,257 ล้านบาท

ดังนั้น ส.ป.ก.จึงได้หารือร่วมกับ ธ.ก.ส.เพื่อหาแนวทาง

และมาตรการในการแก้ไขปัญหาหนี้ของเกษตรกรดัง

กล่าว

ปัจจุบัน ส.ป.ก. จัดสรรที่ดินให้กับเกษตรกรไป

แล้วกว่า 33 ล้านไร่ แต่ที่ผ่านมาเกษตรกรได้น�าท่ีดิน

เป็นหลักทรัพย์ค�้าประกันในรูปแบบรายบุคคลและ กลุ่ม

เพียง 6.15 ล้านไร่ เทียบแล้วยังไม่ถึง 1 ใน 5 ของพื้นที่

ที่จัดสรรไปแล้ว และอนาคตจะให้เกษตรกรพัฒนาท่ีดิน

เพื่อน�าไปเป็นหลักทรัพย์ค�้าประกันเงินกู้ จาก ธ.ก.ส.ให้

ได้ 2ใน3ของพื้นที่ นี้คือเป้าหมายของ ส.ป.ก.แต่เป้า

หมายดังกล่าวไม่ใช่พัฒนาให้เกษตรกรเป็นหน้ี เพราะ

ปัจจุบันเกษตรกรเป็นหนี้ทั้งในระบบและนอกระบบ ดัง

นั้น ส.ป.ก.จึงหามาตรการที่จะให้เกษตรกรมีแหล่งเงิน

ทุนที่ดีและเป็นหนี้ในระบบ เท่านั้น ซึ่งหนี้ในระบบจะ

สามารถท�าให้รัฐบาลช่วยหามาตรการแก้ไขได้ทางหนึ่ง.ฃ

ท่ีมา : นสพ.เดลินิวส์ หน้า 10

Page 17: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

1716

12จังหวัด’ฝ่าด่านเข้ารอบประกวดบริหารจัดการน�้า

นายชวลิต ชูขจร รอง

ปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เปิดเผยว่า ตาม

ที่กระทรวงเกษตรฯ ได้จัดประกวดการด�าเนินงาน

โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการน�้าเพื่อการเกษตร

ในระดับเขตตรวจราชการ และระดับประเทศ นั้น ผล

การประกวดโครงการฯ ในระดับเขตตรวจราชการ มี

จังหวัดที่เข้ารอบทั้งส้ิน 12 จังหวัด ดังนี้

1)เขต10 จังหวัดหนองคาย

2)เขต12 จังหวัดมหาสารคาม

3)เขต15 จังหวัดล�าพูน

4)เขต14 จังหวัดบุรีรัมย์

5)เขต18 จังหวัดนครสวรรค์

6)เขต17 จังหวัดพิษณุโลก

7)เขต13 จังหวัดอ�านาจเจริญ

8)เขต9 จังหวัดระยอง

9)เขต7 จังหวัดระนอง

10)เขต8 จังหวัดสตูล

11)เขต4 จังหวัดกาญจนบุรี

12)เขต1 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โดยหลักเกณฑ์และแนวทางการประกวด จะพิจารณา

ให้คะแนน 2 ด้าน คือ ด้านความก้าวหน้าของกิจกรรม

การด�าเนินงาน ตามแผนปฏิบัติงานของโครงการ 9 ขั้น

ตอน และด้านผลลัพธ์ของโครงการ ซึ่งคณะท�างานฯ จะ

ท�าการลงพื้นที่ตรวจสอบข้อมูลและสรุปผลพร้อมท้ังน�า

เสนอคณะกรรมการ พิจารณาตัดสิน โดยจะประกาศผล

การประกวด ภายในวันที่ 31 สิงหาคมศกนี้

ส�าหรับแนวทางการประกวด เนื่องจาก พื้นที่เป้าหมาย

การด�าเนินงานโครงการในแต่ละจังหวัดมีขนาดแตกต่างกัน

มาก หากน�ามาประกวดในระดับประเทศ อาจเปรียบเทียบ

กันไม่ได้ ดังนั้นจึงแบ่งกลุ่มการประกวดในระดับประเทศ

ออกเป็น 3กลุ่ม ตามขนาดของพื้นที่ ได้แก่ ขนาดใหญ่

ขนาดกลาง และขนาดเล็ก โดยมีการปรับเปลี่ยนหลัก

เกณฑ์ แนวทาง และวิธีการประกวด พร้อมท้ังจัดท�าตัวชี้

วัดการประกวด รอบ 1 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับการด�าเนิน

งานโครงการฯ ปี 2555 ต่อไป

ท่ีมา : นสพ.แนวหน้า หน้า 14

Page 18: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

18

สถานการณ์ด้านแรงงาน

นายกฯ เดินหน้านโยบาย”ค่าแรง 300–เงินเดือนปริญญาตรี 15,000

“ย่ิงลักษณ์”เผยท�าแผนนโยบายทันแถลงต่อสภาฯ

แน่นอน ระบุเดินหน้าท�าตามสัญญาที่ให้กับ ปชช.”ค่าแรง

300” และเงินเดือนระดับปริญญาตรี เร่ิมต้นที่ 15,000

บาท

ที่ท�าการพรรคเพื่อไทย เมื่อวันที่ 12 ส.ค.54

น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กล่าวถึงกรอบ

ระยะเวลาในการวางแผนนโยบาย เพื่อแถลงต่อรัฐสภา

ในวันที่ 23-24 ส.ค.นี้ ว่าเชื่อว่าจะสามารถท�าได้ทันตาม

ก�าหนดที่ระบุไว้

และจะน�าเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ในครั้ง

หน้าได้ เพราะทีมงานได้วางระบบเตรียมโครงร่างไว้ก่อน

ที่จะมาท�างานอย่างเป็นทางการ และตนได้มอบหมายใน

ที่ประชุมให้ นายยงยุทธ์ วิชัยดิษฐ รองนายกรัฐมนตรี

และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกิตติ

รัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงพาณิชย์ ร่วมกันเป็นประธานคณะท�างานในการ

จัดท�าร่างแถลงนโยบาย และให้เลขาธิการส�านักงานคณะ

กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ(สศช.)

เป็น ฝ่ายเลขานุการ ท�างานร่วมกัน ซึ่งขณะนี้อยู ่ในขั้น

ตอนของการปรับรวมกับ สศช.

เมื่อถามว่า นโยบายของพรรคเพื่อไทย ในเรื่องเงิน

ค่าแรง 300บาท และเงินเดือนข้ันต�่าของวุฒิปริญญาตรี

15,000 บาท จะอยู่ในแผนที่จะแถลงด้วยหรือไม่ นายกฯ

กล่าวว่า ถูกต้อง นโยบายที่เราได้สัญญาไว้กับพี่น ้อง

ประชาชนจะอยู่ในแผนครั้งนี้ด้วย

ท่ีมา : สยามรัฐ วันที่ 12 ส.ค. 54

Page 19: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

19

“SAICO Productivity พิชิตวิกฤตแรงงาน” นสพ. กรุงเทพธุรกิจ 14 สิงหาคม 2554

การประกาศจะเดินหน้าปรับขึ้นค่าแรงงานขั้นต�่า

300 บาทต่อวัน ภายใต้การขับเคล่ือนเศรษฐกิจของ

รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร น�ามาซึ่งเสียงส่วนใหญ่

จากฟากผู้ประกอบการที่ต่างพากัน ส่ายหน้า มีบาง

ส่วนที่ ขานรับ แต่แบบค่อยเป็นค่อยไป บ้างก็ว่าเกิน

จะแบกรับต้นทุนที่พุ ่งสูง

ในวันท่ีบทสรุปเกี่ยวกับ นโยบายค่าแรง 300 บาท

ยังไม่ฟันธงชัดว่าจะออกมาในโมเดลใดกันแน่ หนึ่ง

เสียงจากผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารส�าเร็จรูป

กัณญภัค ตันติพิพัฒน์พงศ์ Director บริษัท สยาม

อุตสาหกรรมเกษตรอาหาร จ�ากัด (มหาชน) หรือ

SAICO ถึงวิธีรับมือในจังหวะค่าแรงขาขึ้นนี้

การขยับค่าแรงขั้นต�่าเป็น 300 บาทต่อวันส�าหรับ

กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารส�าเร็จรูปแล้ว จะได้รับผลก

ระทบทันที หากมีการปรับขึ้นแบบก้าวกระโดด เพราะ

โดยรวมจะเป็นปรับขึ้นต้นทุนของอุตสาหกรรมมาก

ถึง 16-23%

3แนวทางที่ควรจะเป็นส�าหรับการบริหารจัดการ

ค่าแรงของกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร ส�าเร็จรูปแล้ว ควร

ปรับค่าแรงข้ันต�่า 300 บาทเป็นเพดานสูงสุด แล้วให้ใช้

ค่าแรงข้ันต�่าของ กทม.และปริมณฑลที่ 215 บาทต่อวัน

เป็นฐาน ซึ่งจะได้อัตราการขยับข้ึนของแรงงานท่ี 40%

อัตราการปรับข้ึนค่าแรง ขอให้ใช้อัตราการปรับขึ้น

ค่าแรง 40% จากอัตราเดิม และให้ใช้อัตราการปรับนี้

เทียบเท่ากับทุกจังหวัด

ระยะเวลาในการปรับข้ึนค่าแรงข้ันต�่าเป็นลักษณะของ

ข้ันบันไดในช่วง 4 ปี เพื่อให้ผู ้ประกอบการได้มีเวลาปรับ

ตัว โดยให้เริ่มปรับในต้นปี 2555 ไม่เกิน 5% และภาย

หลังขยับค่าแรงจนถึงเพดาน 300 บาทแล้ว ควรพักการ

ปรับค่าแรงข้ันต�่าอีกเป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี

ทางออกที่เหมาะสมเป็นการค่อยเป็นค่อยไป พิจารณา

โดยยึดพื้นที่แต่ละจุดเป็นเกณฑ์ เหตุเพราะต้นทุนค่าแรง

ในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ในตัวเลขค่าแรงข้ันต�่าท่ี

300 ในบางจังหวัดแล้วจะเป็นการปรับเพิ่มค่าแรงถึง 70%

เม่ือเทียบกับค่าแรงข้ันต�่าในปัจจุบัน

ส่วนใน กทม. และปริมณฑล จะถือว่ามีการปรับเพิ่ม

ค่าแรงข้ึน 40% เม่ือเทียบกับแรงงานข้ันต�่าในปัจจุบัน

นอกจากจะไม่ควรรีบเร่งขยับค่าแรงข้ึนสู่ระดับ 300

บาท การหันหน้าเข้าสู่การพัฒนา Productivity ให้เกิด

ข้ึนในระบบเป็นอีกแนวทางที่ กัณญภัค ย�้าว่ามีความ

จ�าเป็น อ่านเพิ่มเติมhttp://daily.bangkokbiznews.com/detail/18577

ท่ีมา : http://daily.bangkokbiznews.com/detail/18577

Page 20: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

20

สถานการณ์ด้านการค้า

ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เมื่อปี 2546 ผู้น�าประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลง

กันที่จะจัดตั้งประชามคมอาเซียน (ASEAN Com-

munity) ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ ประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน ประชามคมสังและวัฒนธรรมอาเซียน

และประชามคม ความมั่นคง เดิมก�าหนดเป้าหมาย

ที่จะต้ังขึ้นในปี 2563 แต่ต่อมาได้ตกลงกันเลื่อนให้

ก�าหนดเร็วขึ้นเป็นปี 2558 และก้าวส�าคัญต่อมาคือการ

จัดท�าปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งมีผลใช้

บังคับแล้วตั้งแต่เดือนธันวาคม ปี 2552 นับเป็นการ

ยกระดับความร่วมมือของอาเซียนเข้าสู ่มิติใหม่ในการ

สร้างประชาคม โดยมีพื้นฐานที่แข็งแกร่งทางกฎหมาย

และมีองค์กรณ์รองรับการด�าเนินการเข้าสู ่เป้าหมายดัง

กล่าวภายในปี 2558

ส�าหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

(ASEAN Economic Community หรือ AEC) ภายในปี

2558 เพื่อให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ

ลงทุน แรงงานฝีมือ อย่างเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้นต่อมา

ในปี 2550 อาเซียนได้จัดท�าพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เป็นแผนบูรณาการ

งานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC ซึ่ง

ประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้านต่างๆ พร้อมกรอบ

ระยะเวลาที่ชัดเจนในการด�าเนินมาตรการต่างๆ จนบรรลุ

เป้าหมายในปี 2558 รวมทั้งการให้ความยืดหยุ่นตามท่ี

ประเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า

เพื่อสร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน

อาเซียนได้ก�าหนดยุทธศาสตร์การก้าวไปสู่ประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน ที่ส�าคัญดังนี้ 1.การเป็นตลาดและ

ฐานการผลิตเดียวกัน

2. การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง

3.การเป็นภูมิภาพที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเท่าเทียม

กัน

4. การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก

สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี http://www.thaifta.com/

ThaiFTA/Portals/0/aecfactbook.pdf

ท่ีมา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ http://www.thaifta.com

Page 21: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

21

อัตราแลกเปลี่ยน

ท่ีมา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวเลขวันที่ 30, 31 กรกฏาคม 2554 ธนาคารแห่งประเทศไทยไม่มีข้อมูล

Page 22: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

22

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 23: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

Vol. 2 Issue 289 Aug - 15 Aug 2011

23

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

23

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 24: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

9 Aug - 15 Aug 2011

24

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATIONTel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7E-mail: [email protected]

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net6. http://www.dailynews.co.th7. http://www.acfs.go.th8. http://www.posttoday.com9. http://www.matichon.co.th10. http://www.naewna.com

เสนอข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

th

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM

Page 25: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11
Page 26: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11
Page 27: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11
Page 28: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

พค. มิย. กค.

1สับปะรดโรงงาน

มาตรฐานสับปะรด(มกษ.

4-2546)

เมย.-มิย. , พย.-มค.

ประจวบฯ, ระยอง,ชลบุร,ี

อุทัย

ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยลง โรงงานบางส่วนหยุดซ่อมบํารุงเครื�องจักรเพื�อรอรับผลผลิตช่วงปลายปีที� จะมีมากขึ�นตามฤดูกาล (ต.ค.- ธ.ค.54) ราคามีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ�นตามภาวะการผลิต(สก, 20/7/54) ผลผลิตลดลง โดยสับปะรดที�ออกสู่ตลาดในเดือนสิงหาคม 54 ประมาณ 0.05 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 2.24 ของปริมาณผลผลิตรวม 2.23 ล้านตัน ลดลงจาก 0.10 ล้านตัน ของเดือนที�ผ่านมา ร้อยละ 50.00 และลดลงจาก 0.07 ล้านตัน ในช่วงเดียวกันของปีที�ผ่านมาร้อยละ 28.57(สศก, 8/8/54)

566,599 583,200 640,710 10 1,894,862 1,924,659 2,227,300 16 5.05 5.58 5.03 4.81 5.05

2 ลําไย เกรด A มาตรฐานลําไย (มกษ.1-2546)

กค.-สค.

เชียงใหม,่ ลําพูน,

เชียงราย,น่าน, พะเยา, จันทบุรี

กลุ่มเกษตรกรชาวสวนลําไย อ.เชียงคําจ.พะเยา กว่า 150 คน บุกศาลากลางเพื�อเข้าพบ ผวจ.พะเยา ให้ความช่วยเหลือกรณีราคาลําไยตกตํ�า ผวจ.พะเยา กล่าวหลังการหารือว่า การแก้ไขเรื�องปัญหาราคาลําไยตกตํ�านั�น ทางจังหวัด หรือรัฐไม่สามารถกําหนด เพดานราคารับซื�อได้ ต้องปล่อยให้เป็นไปตามกลไกของตลาด ส่วนมาตรการที�รัฐบาลกําหนดและสามารถช่วยเหลือได้ทันทีคือ มาตรการเร่งรัดกระจายผลผลิตด้วยการชดเชยค่าขนส่งกิโลกรัมละ 2.50 บาทแต่ราคาลําไย AA จะต้องตํ�ากว่ากก.ละ 15.51 บาทจึงจะสามารถใช้มาตรการดังกล่าวได้ แต่ทางจังหวัดเตรียมเชิญผู้ประกอบการรับซื�อลําไยทั�วทั�งจังหวัดเข้าประชุม เพื�อหาทางออก ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยขอให้ผู้ประกอบการช่วยรับซื�อลําไยในราคาที�สูงขึ�นและห้ามไม่ให้ผู้ประกอบการ รับซื�อลําไยกดราคาลําไยเป็นอันขาด โดยพบว่า ต้นฤดูกาลลําไยเมื�อกลางเดือนก.ค.ที�ผ่านมา ลําไยราคา กก.ละ17 บาท มาจนถึงขณะนี�ราคาเหลือ กก.ละ 13 บาทเท่านั�นไม่คุ้มค่าต้นทุนการผลิตที�อยู่กก.ละ 12 บาท ในวันนี�เกษตรกชาวสวนลําไยทั�ว อ.เชียงคํา จึงรวมตัวกันเรียกร้องขอความช่วยเหลือจาก ผวจ.พะเยา โดยมีหนังสือยื�นขอให้ทางรัฐบาลช่วยตั�งมาตรการรับซื�อลําไยในราคาตามลําดับ AA กก.

17 A 11 B 5

966,831 954,574 966,760 1 623,027 525,230 620,042 18 30.85 35.26 43.00 39.18 22.16

3 ลองกองมาตรฐาน

ลองกอง (มกษ.11-2549)

พค.-กค., กค.-ตค.

จันทบุร,ี ระยอง, ตราด,

ชุมพร, นครศรีฯ, สุราษฎร์ฯ,

ยะลา, ปัตตานี, นราธิวาส

สถานการณ์ผลไม้ของ จ.ยะลาในปีนี�ว่า จากสภาพอากาศที�เปลี�ยนไปมีปริมาณฝนเพิ�มขึ�น โดยเฉพาะในพื�นที� 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทําให้ผลไม้ทุกชนิด โดยเฉพาะลองกองออกดอกติดผลน้อยลง ขณะที�ราคาของผลไม้ในปีนี�จะดีขึ�น เนื�องจากมีปริมาณน้อย โดยทั�งนี�ผลผลิตลองกองคาดว่ายังมีปริมาณเพียงพอกับผู้บริโภคในจังหวัด แต่ประชาชนที�จะซื�อไปบริโภคอาจจะต้องซื�อในราคากิโลกรัมละ 30 บาท ส่วนที�ส่งออกนอกพื�นที�คาดว่าจะมีราคา 50 บาทขึ�นไป ซึ�งต่างจากปีที�แล้วซึ�งเกรดดีจะอยู่ที�ราคา 25-30 บาท (ผู้จัดการออนไลน์, 24/7/54) สภาพนํ�าท่วมและฝนตกหนักอย่างต่อเนื�องช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ทําให้ผลผลิตผลไม้ต่างๆลดลงลองกองได้รัผลกระทบ จากเหตุภัยธรรมชาติที�ผ่านมามากที�สุด ซึ�งปี 2554ได้ผลผลิต 4,373ตัน ลดลงจากปี 2553 ซึ�งได้รับผลผลิต 41,002 ตัน หรือลดลงร้อยละ 89 ส่วน (มอกช,20/7/54 ) ชาวสวนผลไม้ลับแล จ.อุตรดิตถ์ โอดครวญ ผลผลิตลองกองเหลือแค่ 10% หลังฝนชุก เกษตรกรผู้ปลูกลองกองในพื�นที� ต.นานกกก ต.แม่พูล ต.ฝายหลวง อ.ลับแล มีปัญหาเรื�อง ผลผลิตลองกองปีนี�ให้ผลผลิตน้อยมาก แต่ละสวนมีไม่ถึง10% บางสวนปีที�ผ่านมาได้ผลผลิต 5,000 กิโลกรัม แต่ปีนี�เหลือเพียง 100 กิโลกรัมเท่านั�น เนื�องจากฝนตกชุกตั�งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ไม่มีช่วงเวลาแล้งเลย ซึ�งลองกองจะออกดอกให้ผลผลิตต้องอดนํ�า แต่ปีนี�นํ�ามากเปลี�ยนจากออกดอกมาเป็นออกยอดแตกใบแทน ทําให้ไม่มีรายได้ แต่รายจ่ายเพิ�มขึ�นต้องเสียค่าตัดหญ้า และซื�อข้าวกินเพราะไม่มีนาทํา (ผู้จัดการออนไลน์, 5/8/54)

353,239 371,220 386,996 4 158,343 151,806 108,150 -29 21.34 20.76 33.44 27.57 19.67

2552 25532554

2552 2553 2554 (f) ∆54/53สถานการณ์/ปัจจัยการผลิตที�

เกี�ยวข้อง

เนื�อที�เพาะปลูก (ไร่)

2554 (f) ∆54/53

ตารางแสดง ฐานข้อมูลผลไม้ที�สําคัญประจําเดือนสิงหาคม 2554

ลําดับ รายการมาตรฐานวัตถุดิบที�เกี�ยวข้อง

ช่วงฤดูกาลจังหวัดที�มี

การเพาะปลูก

2552 2553

ปริมาณผลผลิต (ตัน) ราคาที�เกษตรขายได้เฉลี�ย (บาท/กก.)

Page 29: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

4 เงาะโรงเรียน มาตรฐานเงาะ (มกษ.12-2549)

พค.-กค., กค.-กย.

จันทบุร,ี ตราด,

นครศรีธรรมราช,สุราษฯ

และนราธิวาส

ตั�งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2554 ภาคใต้ตอนบน ซึ�งระยะนี�ควรจะเป็นระยะที�แห้งแล้ง เพื�อให้ไม้ผลออกดอกและติดผล แต่ปรากฏว่า ได้เกิดฝนตกหนักอย่างต่อเนื�อง จนเกิดวิกฤติอุทกภัยครั�งใหญ่ ทําให้นํ�าท่วมขังในพื�นที�ปลูกในเกือบทุกจังหวัดของภาคใต้ตอนบน ส่งผลให้ ไม้ผลที�อยู่ในระยะใบแก่ พร้อมที�จะแทงช่อดอก เช่น เงาะ จะแตกใบอ่อนแทน นอกจากนั�นจะมีไม้ผลส่วนหนึ�งถูกนํ�าแช่ขัง ถูกกระแสนํ�าพัดพา ตลอดจนถูกดินโคลนถล่มทับ ส่งผลให้ผลผลิตลดลง เงาะ มีผลผลิตประมาณ 28,222 ตัน ลดลงจากปี 2553 ที�ได้ผลผลิต 77,708 ตัน คิดเป็นร้อยละ 64 ผลไม้ จะทยอยออกสู่ตลาดตั�งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนธันวาคม 2554 และจะออกสู่ตลาดมากที�สุด ในเดือนสิงหาคม

362,061 335,538 320,157 -5 370,600 337,721 304,536 -10 12.34 13.36 22.16 12.08 10.05

5 มังคุด มาตรฐานมังคุด (มกษ.2-2546)

พค.-กค., กค.-กย.

จันทบุร,ี ระยอง,ตราด,

ชุมพร, นครศรีธรรมรา

ช,สุราษฯ

ตั�งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2554 ภาคใต้ตอนบน ได้เกิดฝนตกหนักอย่างต่อเนื�อง จนเกิดวิกฤติอุทกภัยครั�งใหญ่ ทําให้นํ�าท่วมขังในพื�นที�ปลูกในเกือบทุกจังหวัดของภาคใต้ตอนบน ส่งผลให้ไม้ผลที�อยู่ในระยะใบแก่ พร้อมที�จะแทงช่อดอก เช่น มังคุด จะแตกใบอ่อนแทน นอกจากนั�นจะมีไม้ผลส่วนหนึ�งถูกนํ�าแช่ขัง ถูกกระแสนํ�าพัดพา ตลอดจนถูกดินโคลนถล่มทับ ส่งผลให้ผลผลิตลดลงมังคุด ได้ผลผลิตประมาณ 16,609 ตัน ลดลงจากปี 2553 ที�ได้รับผลผลิต 90,387 ตัน หรือลดลงร้อยละ 82 โดยผลไม้ จะทยอยออกสู่ตลาดตั�งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนธันวาคม 2554 และจะออกสู่ตลาดมากที�สุด ในเดือนสิงหาคม 2554 (สศก 20/7/54

399,438 405,622 410,348 1 270,554 250,508 147,359 -41 16.31 13.00 45.84 13.88 13.47

6 ลิ�นจี� มาตรฐานลิ�นจี� (มกษ.7-2549)

พค.เชียงใหม,่ เชียงราย,

พะเยา

เกษตรจังหวัดแพร่ แนะประชาชนช่วยกันบริโภคลิ�นจี� เพื�อสนับสนุนส่งเสริมสินค้าเกษตรของภาคเหนือพืชเศรษฐกิจภาคเหนือ โดยเปิดเผยว่า แหล่งปลูกลิ�นจี�ของภาคเหนือ ส่วนใหญ่อยู่ในพื�นที�สูงอาทิ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ พะเยา น่านและจังหวัดแพร่ โดยรวมประมาณ 13,000 ตัน ซึ�งเฉพาะจังหวัดแพร่ แม้ว่าลิ�นจี�ปีนี� จะมีผลผลิตลิ�นจี�ประมาณ 300 กว่าตัน ลดลงจากปีที�แล้วกว่าร้อยละ 20 ถือว่ามีจํานวนไม่มาก ส่วนหนึ�งมาจากสภาพอากาศแปรปรวน โดยขณะนี�ผลผลิตออกสู่ตลาดไปเกือบหมดแล้ว แต่จังหวัดมีการรองรับผลผลิตจากจังหวัดต่าง ๆ ที�มีผลผลิตลิ�นจี� เป็นการกระจายสินค้า เพื�อให้ราคาตลาดมีการขยับตัวสูงขึ�น ขณะนี�ราคาของลิ�นจี�เป็นราคาที�ยอมรับได้ เมื�อหักต้นทุนแล้วยังมีเหลือกําไรบ้าง มาตรการช่วยเหลือของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการคํานวณต้นทุนสินค้าเกษตรไว้แล้ว ก่อนที�จะมีการกําหนดราคาในระดับที�ไม่ให้เกษตรกเดือด้ ่ไ ้( ป ั ั ์ / / )

148,562 144,567 142,054 -2 82,808 43,581 37,633 -14 9.42 12.00 13.00 19.5 -

7 มะพร้าว

ขณะนี�ทางมกอช.กําลังจัดทํา

มาตรฐานมะพร้าวแก่ ซึ�งจะมีประกาศใช้ เดือน กันยายน

สค.-กย. ประจวบขีรีขันธ์,สุราษฎร์ฯ

ผลผลิตมะพร้าวมีน้อยไม่เพียงกับความต้องการใช้ที�มีอย่างต่อเนื�อง แนวโน้มราคายังอยู่ในเกณฑ์สูง (สก,20/7/54)

- ###### - - 1,380,980 1,298,147 1,522,000 17 5.81 6.49 14.15 13.63 13.04

8 มะม่วง มาตรฐานมะม่วง (มกษ.5-2546)

มีค.-มิย.

นครราชสีมา, สุพรรณ, ฉะเชิงเทรา, อุดร,อุทัยธานี

-

###### ###### - - 2,469,814 2,550,595 - - 19.19 24.65 - - -

9 ทุเรียน มาตรฐานทุเรียน (มกษ.3-2546)

พค.-มิย., กค.-กย.

จันทบุร,ี ระยอง, ชุมพร

,นครศรีธรรมราช และยะลา

พายุฝนกระหนํ�าซัด 3 หมู่บ้านชุมพรเสียหายยับ พื�นที�เกษตรกว่า 50 ไร่หักโค่นพังราบ ประชากรเดือนร้อนนับ 100 ครัวเรือน ทําให้พืชผลทางการเกษตร อาทิ สวนยางพารา สวนทุเรียน สวนหมาก หักโค่น รวมทั�งบ้านเรือนของราษฎรถูกต้นยางพาราโค่นทับ และบางหลังถูกกระแสลมพัดทําให้กระเบื�องหลังคาปลิวว่อน ราษฎรซึ�งส่วนใหญ่ยึดอาชีพเกษตรกร ได้รับความเดือดร้อนไปตามๆ กัน สวนทุเรียน ที�กําลังติดดอกออกผล ซึ�งบางสวน ทุเรียนที�ติดผลกําลังแก่ใกล้จะตัดผลขายได้แล้วก็ถูกกระแสลมพัดจนผลทุเรียนร่วง ทําให้ได้รับความเสียหายสวนละไม่ตํ�ากว่า 100,000 บาท เท่าที�ออกสํารวจความเสียหายเบื�องต้น สวนยางพารา และสวนทุเรียน ได้รับความเสียหายมากที�สุด คาดว่า 3 หมู่บ้าน รวมแล้วน่าจะไม่ตํ�ากว่า 5 ล้านบาท (ไทยรัฐออนไลน,์ 31/7/54) ช่วงนี�มีฝนตกหนักกระจายในหลายพื�นที� ซึ�งหากตามสวนผลไม้ระบบการระบายนํ�าไม่ดี โดยเฉพาะในต้นทุเรียน อาจก่อให้เกิดปัญหาโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน ส่งผลให้ต้นทุเรียนชะงักการเจริญเติบโต ใบร่วง ส่วนโคนต้นจะปรากฏจุดฉํ�านํ�า เมื�อใช้มีดถากดูจะมีนํ�าไหลออกมา และ

628,244 611,206 602,111 -1 661,665 568,067 537,277 -5 12.89/21.52

15.75/25.43

19.55/24.84

22.25/34.21

18.45/28.83

10ข้าวโพดผัก

อ่อน

มาตราฐานข้าวโพดฝักอ่อน

(มกษ.1504-2550)

กาญจนบุร,ีราชบุร,ี

นครปฐม,สุพรรณบุรี,เชียงใหม่ และลําพน

-

220,223 214,399 - - 267,705 260,294 - - 21.61 23.33 - - -

11ข้าวโพด

หวาน

ขณะนี�ทางมกอช.จะจัดสัมมนาระดมความเป็นต่อร่างมาตรฐานข้าวโพดหวาน

วันที� 22

กาญจนบุร,ีสุพรรณบุรีลเชียงใหม,่เชียงราย

,นครสวรรค์ และนครราช

-

283,489 288,715 151,334 -48 366,711 367,544 180,211 -51 8.88 9.69 - - -

12 มะนาว กค.-กย.เพชรบุร,ี

สมุทรสาคร, นครศรีฯ

มะนาวอยู่ในช่วงที�ผลผลิตออกสู่ตลาดมากตามฤดูกาล ราคาอ่อนตัวลงมาก (สก,20/7/54)

100,898 97,769 - - 152,536 141,450 - - 121 176 - - -

ที�มา : กรมการค้าภายใน (http://www.dit.go.th/) : ข้อมูลด้านราคาที�เกษตรขายได้เฉลี�ย

ที�มา : สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (http://www.acfs.go.th/) : ข้อมูลด้านมาตรฐานวัตถุดิบที�เกี�ยวข้อง

รวบรวมโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสําเร็จรูป

หมายเหตุ : ชะนี/หมอนทอง

หมายเหตุ : หน่วย บาท/ร้อยผล

หมายเหตุ : ข้อมูลที�เก็บรวบรวมตั�งแต่เดือน มค.-พค. ที�ทางสมาคมจัดทําขึ�นจากบริษัท

ที�เข้าร่วมประชุมและตอบแบบสอบถาม

ที�มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (http://www.oae.go.th/main.php?filename=king2010) : ข้อมูลด้านช่วงฤดูกาล จังหวัดที�มีการเพาะปลูกมาก เนื�อที�เพาะปลูก ปริมาณผลผลิต

Page 30: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

เมษ. พค. มิย.

1สับปะรดโรงงาน

มาตรฐานสับปะรด(มกษ.

4-2546)

เมย.-มิย. , พย.-มค.

ประจวบฯ, ระยอง,ชลบุร,ี

อุทัย

ผลผลิตสับปะรดที�ออกสู่ตลาดในเดือนกรกฎาคม 54ประมาณ 0.10 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 4.48 ของปริมาณผลผลิตรวม 2.23 ล้านตัน ลดลงจาก 0.18 ล้านตัน ของเดือนที�ผ่านมา ร้อยละ 44.44 และลดลงจา 0.11 ล้านตัน ในช่วงเดียวกันของปีที�ผ่านมาร้อยละ 9.09

เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน เป็นช่วงที�มีผลผลิตสับปะรดออกสู่ตลาดจํานวนมาก ส่งผลให้ราคาตํ�าลงและมีผลผลิตไปกระจุกตัวติดอยู่หน้าโรงงานเพิ�มขึ�น จากเดิมวันละ 500-600 ตัน (ภาตะวันออก จ.ระยอง) เป็น 1,200 ตัน ขณะเดียวกันราคาที�โรงงานรับซื�อจากกิโลกรัมละ 7.10 บาท ลดเหลือ 5.40-5.90 บาท (คมชัดลึก, 14/7/54)

566,599 583,200 601,008 3 1,894,862 1,924,659 2,227,000 16 5.05 5.58 5.78 5.03 4.81

2ลําไย เกรด A

มาตรฐานลําไย (มกษ.

1-2546)กค.-สค.

เชียงใหม,่ ลําพูน,

เชียงราย,น่าน, พะเยา,

ั ี

ภาคเหนืออากาศหนาวเป็นช่วงๆทําให้ผลผลิตลําไยเพิ�มขึ�น โดยปริมาณผลผลิตลําไยในแหล่งผลิตใหญ่ 8 จังหวัดภาคเหนือมีประมาณ 469,082 ตัน เพิ�มจากปีที�แล้วร้อยละ23 (เดลินิวส์, 3/7/54)

966,831 954,574 966,760 1 623,027 525,230 620,042 18 30.85 35.26 43.00 43 39.18

3 ลองกอง

มาตรฐานลองกอง (มกษ.

11-2549)

พค.-กค., กค.-ตค.

จันทบุร,ี ระยอง, ตราด, ชุมพร, นคร

ศรีฯ, สุ

ลองกองได้รับผลกระทบจากเหตุภัยธรรมชาติที�ผ่านมามากที�สุด ซึ�งปี 2554 ได้ผลผลิต 4,373 ตัน ลดลงจากปี 2553 ซึ�งได้รับผลผลิต 41,002 ตัน หรือลดลงร้อยละ 89 (สศก, 6/7/54 )

353,239 371,220 386,996 4 158,343 151,806 108,150 -29 21.34 20.76 48.59 33.44 27.57

4เงาะ

โรงเรียน

มาตรฐานเงาะ (มกษ.

12-2549)

พค.-กค., กค.-กย.

จันทบุร,ี ตราด,

นครศรีธรรมราช,สุราษฯ

และนราธิวาส

ผลผลิตเงาะโรงเรียนในพื�นที� อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎ์ธานี ซึ�งที�เป็นแหล่งผลิตเงาะโรงเรียน เปิดเผยว่าในปีนี�ผลผลิตเงาะโรงเรียนจะออกล่าช้ากว่าปกติกว่า 1 เดือน เนื�องจากสาเหตุเกิดนํ�าท่วมใหญ่ที�ผ่านมา ทําให้ผลผลิตลดน้อยลงจากปกติที�ทุกปีจะมีผลผลผลิตออกมาปีกว่า 15,000 ตัน ในปีนี�มีผลผลิตออกมาเพียง 8,000 ตัน ทําราคาผลผลิตเงาะโรงเรียนจากสวนมีราคาสูงอยู่กิโลกรัมละ 25-30 บาท และอาจมีแนวโน้มสูงขึ�นไปอีกทั�งนี�เนื�องจากเป็นความต้องของตลาดต่างประเทศและภายในประเทศ (ผู้จัดการออนไลน์, 15/6/54) เกษตรกรสวนเงาะ อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน ได้รับความเสียหายจากนํ�าท่วมหนัก ซึ�งทําให้เงาะรุ่นที� 2 กําลังติดลูกเต็มต้นล่วงหล่น ส่วนเงาะรุ่น 1 ที�ติดลูกแล้วกําลังสุกแดงเตรียมจะเก็บขายก็เกิดแห้งดําคากิ�ง สร้างความเสียหายเป็นอย่างมาก โดยเกษตรกรชาวสวนเงาะเผยว่า ปีที�ผ่านมาขายเงาะได้เงินเกือบ 1 แสนบาท สําหรับปีนี�เงาะให้ผลผลิตดี ราคาดีกิโลละ 12 – 15 บาท คาดว่าจะขายได้เงิน ถึง 120,000 บาท แต่ต้องมาเจอภัยธรรมชาติทําให้ผลผลิตได้รับความเสียหายเกือบทั�งหมด สําหรับอําเภอทุ่งช้าง พื�นที�ที�ทําการปลูก 2,831 ไร่ โดยได้รับความเสียหาย จากนํ�าท่วมรวม 1,201 ไร่ ซึ�งจะให้เงาะที�มีผลผลิตไร่ละ 2,500 – 3,000 ก.ก. คิดเป็นมูลค่า ไร่ละ 25,000 – 30,000 บาท หรือ มูลค่ารวมทั�งหมดกว่า 84 ล้านบาทได้รับความ

ี ( ี ใ ่ ิ ์ / / )

362,061 335,538 320,157 -5 370,600 337,721 304,536 -10 12.34 13.36 26.11 22.16 12.08

5 มังคุดมาตรฐาน

มังคุด (มกษ.2-2546)

พค.-กค., กค.-กย.

จันทบุร,ี ระยอง,ตราด,

ชุมพร, นครศรีธรรมรา

ช,สุราษฯ

ปริมาณผลผลิตของมังคุดออกสู่ตลาดไม่มากนัก เนื�องจากเป็นช่วงปลายฤดูกาลผลิต ด้านภาวะราคามังคุดปรับตัวสูงขึ�นจากสัปดาห์ก่อน กก.ละ 2-5 บาท ตามภาวะตลาด ปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 75,348.63ตัน คิดเป็น 97 % ของผลผลิตรวม (กรมการค้าภายใน,11/7/54)

399,438 405,622 410,348 1 270,554 250,508 147,359 -41 16.31 13.00 78.33 45.84 13.88

6 ลิ�นจี�มาตรฐานลิ�นจี�

(มกษ.7-2549)

พค.เชียงใหม,่ เชียงราย,

พะเยา

ผลไม้ลิ�นจี�ในจังหวัดลําปางที�นํามาจําหน่ายมีไม่มากนัก เนื�องจากผลผลิตลิ�นจี�ของจังหวัดลําปาง ในปี 2554 ที�ปลูกกันในพื�นที� อําเภอแจ้ห่ม วังเหนือ และ อ.งาว ซึ�งมีผลิตออกมาจํานวนไม่มาก เมื�อเทีบกับปีที�ผ่านมา ส่งผลให้ลิ�นจี�ที�ขายตามท้องตลาดนั�นมีราคาสูงถึง กิโลกรัมละ 30-50 บาท (สํานักประชาสัมพันธ์เขต3 เชียงใหม,่ 1/7/54)

148,562 144,567 142,054 -2 82,808 43,581 37,633 -14 9.42 12.00 13.00 19.5

7 มะพร้าว

ขณะนี�ทางมกอช.กําลัง

จัดทํามาตรฐาน

สค.-กย.ประจวบขีรีขันธ์, สุราษฎร์ฯ

มะพร้าวที�พบว่ามีผลผลิตน้อยลง ขณะที�ความต้องการใช้ยังมีอย่างต่อเนื�อง จึงทําให้ราคาอยู่ในเกณฑ์สูง (ทันหุ้น,4/07/54) - 1,443,439 - - 1,380,980 1,298,147 1,522,000 17 5.81 6.49 14.26 14.15 13.63

8 มะม่วงมาตรฐานมะม่วง (มกษ.

5 2546)

มีค.-มิย.นครราชสีมา, สุพรรณ, ฉะเชิงเทรา, อดร อทัยธานี

-

1,925,164 1,944,051 - - 2,469,814 2,550,595 - - 19.19 24.65 19.51 - -

9 ทุเรียน

มาตรฐานทุเรียน (มกษ.

3-2546)

พค.-มิย., กค.-กย.

จันทบุร,ี ระยอง, ชุมพร

,นครศรีธรรมราช และยะลา

ตั�งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2554 ภาคใต้ ได้เกิดฝนตกหนัก จนเกิดวิกฤติอุทกภัยครั�งใหญ่ ทําให้นํ�าท่วมขังในพื�นที�ปลูกในเกือบทุกจังหวัดของภาคใต้ตอนบน ส่งผลให้ไม้ผลที�ออกดอก และติดผลอ่อน เช่น ทุเรียน จะแตกใบอ่อน ก่อนกลางเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2554 ดอกและผลอ่อนร่วงหล่นเป็นจํานวนมากส่งผลให้ผลผลิตลดลงโดย ได้ผลผลิตประมาณ 100,988 ตัน ลดลงจากปี 2553 ที�ได้ผลผลิต 153,556 ตัน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 34 (สศก, 6/7/54)

628,244 611,206 602,111 -1 661,665 568,067 537,277 -5 12.89/21.52 15.75/25.43 21.55/36.53 19.55/24.84 22.25/34.21

10ข้าวโพดผักอ่อน

มาตราฐานข้าวโพดฝักอ่อน(มกษ.

1504-2550)

กาญจนบุร,ีราชบุร,ี

นครปฐม,สุพรรณบุรี,เชียงใหม่ และลําพูน

-

220,223 214,399 - - 267,705 260,294 - - 21.61 23.33 - - -

11ข้าวโพด

หวาน

ขณะนี�ทางมกอช.กําลัง

จัดทํามาตรฐานข้าวโพด

กาญจนบุร,ีสุพรรณบุรีลเชียงใหม,่เชียงราย

,นครสวรรค์

283,489 288,715 151,334 -48 366,711 367,544 180,211 -51 8.88 9.69 - - -

12 มะนาว กค.-กย.เพชรบุร,ี

สมุทรสาคร, นครศรีฯ

-

100,898 97,769 - - 152,536 141,450 - - 121 176 179 - -

รายการ2552

ตารางแสดง ฐานข้อมูลผลไม้ที�สําคัญประจําเดือนกรกฎาคม 2554

ลําดับ

ราคาที�เกษตรขายได้เฉลี�ย (บาท/กก.)

สถานการณ์/ปัจจัยการผลิตที�เกี�ยวข้อง

ช่วงฤดูกาล

จังหวัดที�มีการ

เพาะปลูกมาก

มาตรฐานวัตถุดิบที�เกี�ยวข้อง 2554 (f)

เนื�อที�เพาะปลูก (ไร่)

หมายเหตุ : ชะนี/หมอนทอง

25532553

ปริมาณผลผลิต (ตัน)

2552 2554 (f) 2553

ที�มา : สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (http://www.acfs.go.th/) : ข้อมูลด้านมาตรฐานวัตถุดิบที�เกี�ยวข้อง

รวบรวมโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสําเร็จรูป

หมายเหตุ : หน่วย บาท/ร้อยผล

∆54/532554

2552

หมายเหตุ : ข้อมูลที�เก็บรวบรวมตั�งแต่เดือน มค.-พค. ที�ทาง

สมาคมจัดทําขึ�นจากบริษัทที�เข้าร่วมประชุมและตอบแบบสอบถาม

ที�มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (http://www.oae.go.th/main.php?filename=king2010) : ข้อมูลด้านช่วงฤดูกาล จังหวัดที�มีการเพาะปลูกมาก เนื�อที�เพาะปลูก ปริมาณผลผลิต

ที�มา : กรมการค้าภายใน (http://www.dit.go.th/) : ข้อมูลด้านราคาที�เกษตรขายได้เฉลี�ย

∆54/53

Page 31: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

มีค. เมษ. พค.

1สับปะรดโรงงาน

มาตรฐานสับปะรด(มกษ.4-2546)

เมย.-มิย. , พย.-มค.

ประจวบฯ, ระยอง,ชลบุร,ี อุทัย

- ผลผลิตสับปะรดที�ออกสู่ตลาดในเดือนมิถุนายน 54ประมาณ 0.18 ล้านตัน หรือร้อยละ 8 . 0 7 ของปริมาณผลผลิตรวม 2.23 ล้านตัน ลดลงจาก 0.22 ล้านตัน ของเดือนที�ผ่านมา ร้อยละ 18.18 แต่เพิ�มขึ�นจาก 0.16 ล้านตัน ในช่วงเดียวกันของปีที�ผ่านมาร้อยละ 12.50

- ในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม เกษตรกรจ.ลําปางพบปัญหาผลผลิตล้นตลาด ราคาขายหน้าไร่ตกตํ�าอยู่ที� 2.80 บาท/กก.และยังประสบปัญหาการจัดหารถบรรทุกเพื�อนําผลผลิตมายังโรงงานทางภาคใต้ จึงขอความร่วมมือจากโรงงานแปรรูปช่วยจัดหารถบรรทุกไปรับซื�อผลผลิตในจ.ลําปาง

566,599 583,200 601,008 3 1,894,862 1,924,659 2,227,000 16 5.05 5.58 6.39 5.78 5.03

2 ลําไย เกรด A มาตรฐานลําไย (มกษ.1-2546)

กค.-สค.เชียงใหม่, ลําพูน,

เชียงราย,น่าน, พะเยา, จันทบุรี

สภาพภูมิอากาศเอื�ออํานวยอากาศหนาวเป็นช่วง ๆ ทําให้ลําไยที�เกษตรกรราดสารรุ่นหลัง คือ ช่วงปลายธค. ต่อถึงมค. 54 แทงช่อดอกมาก อีกทั�งปีที�แล้วขายได้ราคาดีเกษตรกรจึงกล้าลงทุน และดูแลเอาใจใส่ดี (เดลินิวส์, 01/06/2554)

966,831 954,574 966,760 1 623,027 525,230 605,762 15 30.85 35.26 42.10 43.00 43

3 ลองกอง มาตรฐานลองกอง (มกษ.11-2549)

พค.-กค., กค.-ตค.

จันทบุร,ี ระยอง, ตราด, ชุมพร, นครศรีฯ, สุราษฎร์ฯ, ยะลา, ปัตตาน,ี

นราธิวาส

ผลผลิตจะเริ�มออกสู่ตลาดประมาณเดือนพฤษภาคม เป็นต้นไป และผลผลิตออกสู่ตลาดมากที�สุดช่วงปลายเดือนมิถุนายน (ช่วงpeak)

353,239 371,220 386,996 4 158,343 151,806 108,150 -29 21.34 20.76 19.00 48.59 33.44

4 เงาะโรงเรียน มาตรฐานเงาะ (มกษ.12-2549)

พค.-กค., กค.-กย.

จันทบุร,ี ตราด, นครศรีธรรมราช,

สุราษฯ และนราธิวาส

เกิดฝนตกหนักต่อเนื�องหลายวันจนส่งผลกระทบทําให้เงาะโรงเรียนของเกษตรกรชาวสวนที�ปลูกไว้เปลือกแตก ร่วงหล่น และไม่ได้คุณภาพ ทําให้เกษตรกรชาวสวนและแรงงานต้องรีบเร่งเก็บเพื�อส่งขาย รวมทั�งเพื�อเก็บหนีฝนเพื�อไม่ให้ผลผลิตเงาะได้รับผลกระทบไปมากกว่านี� แต่ถึงอย่างไรกับพบว่าราคาผลผลิตเงาะโรงเรียนในปีนี�มีราคาดีกว่าปีที�ผ่านมา ในกิโลกรัมละ 30-40 บาท ซึ�งแตกต่างจากปีที�ผ่านมาราคาอยู่ที� 18-25 บาทเท่านั�น(ผู้จัดการ 09/06/2554 )

362,061 335,538 321,627 -4 370,600 337,721 335,521 -1 12.34 13.36 14.64 26.11 22.16

5 มังคุด มาตรฐานมังคุด (มกษ.2-2546)

พค.-กค., กค.-กย.

จันทบุร,ี ระยอง,ตราด, ชุมพร,

นครศรีธรรมราช,สุราษฯ

ช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์เป็นต้นมามีภาวะฝนตกทําให้มีความชื�นในอากาศเพิ�มขึ�นทําให้มังคุดแทงช่อดอกมามากขึ�น ดังนั�นผลผลิตในช่วงนี�ที�จะออกสู่ตลาดประมาณเดือนมิถุนายนอาจจะเกิดปัญหาเนื�อแก้วและยางไหล สําหรับการกระจายตัวของผลผลิตที�จะออกสู่ตลาด เริ�มตั�งแต่ปลายเดือนมีนาคมถึงกรกฎาคม

โดยจะออกกระจุกตัวช่วงต้นเดือนิ 2554

399,438 405,622 411,754 2 270,554 250,508 266,642 6 16.31 13.00 20.00 78.33 45.84

6 ลิ�นจี� มาตรฐานลิ�นจี� (มกษ.7-2549)

พค. เชียงใหม่, เชียงราย, พะเยา

ในภาพรวมเก็บเกี�ยวไปแล้วประมาณ 26,743 ตัน คิดเป็นร้อยละ 83 ยังคงเหลือที�ยังไม่เก็บเกี�ยวประมาณ 17 % ผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง พันธุ์ฮงฮวย รุ่นที� 3(จ.เชียงราย) เก็บเกี�ยว เกือบหมดแล้ว และ พันธุ์จักรพรรดิกําลังออกสู่ตลาด โดยเฉพาะอ .ฝาง แม่อาย และไชยปราการ จ.เชียงใหม่ ราคาฮงฮวยอยู่ระหว่าง 15-28 บาท แล้วแต่คุณภาพ พันธุ์จักรพรรดิ อยู่ระหว่าง 55-65 บาท/กก. (ศูนย์ปฏิบัติการเฉพาะกิจผลไม้ภาคเหนือ 9/6/54)

148,562 144,567 149,741 4 82,808 43,581 40,800 -6 9.42 12.00 13.00 13.00 19.5

7 มะพร้าว

ขณะนี�ทางมกอช.กําลังจัดทํา

มาตรฐานมะพร้าวผล ซึ�งจะจัด

ประชุมครั�งที� 1 ในวันที� 1 กรกฎาคม

2554

สค.-กย. ประจวบขีรีขันธ,์ สุราษฎร์ฯ

ความต้องการใช้ยังมีอย่างต่อเนื�อง แต่ผลผลิตยังมีน้อย ราคาจะยังเคลื�อนไหวอยู่ในเกณฑ์สูงต่อไป ประกอบกับการนําเข้าภายใต ้AFTA หมดอายุลงในเดือน พค. 54 ทําให้มีการนําเข้าเสียภาษีถึง ร้อยละ 54

- 1,443,439 - - 1,380,980 1,298,147 1,522,000 17 5.81 6.49 14.73 14.26 -

8 มะม่วง มาตรฐานมะม่วง (มกษ.5-2546)

มีค.-มิย.นครราชสีมา,

สุพรรณ, ฉะเชิงเทรา, อุดร,อุทัยธานี

-

1,925,164 1,944,051 - - 2,469,814 2,550,595 - - 19.19 24.65 18.41 19.51 -

9 ทุเรียน มาตรฐานทุเรียน (มกษ.3-2546)

พค.-มิย., กค.-กย.

จันทบุร,ี ระยอง, ชุมพร

,นครศรีธรรมราช และยะลา

-

628,244 611,206 603,620 -1 661,665 568,067 621,149 9 12.89/21.52 15.75/25.43 52.00 21.55/36.53 19.55/24.84

10 มะนาว กค.-กย.เพชรบุรี,

สมุทรสาคร, นครศรีฯ

ผลผลิตจะออกสู่ตลาดได้มากขึ�นตามฤดูกาล ราคามีแนวโน้มอ่อนตัวลง 100,898 97,769 - - 152,536 141,450 - - 121 176 156 179 -

ตารางแสดง ฐานข้อมูลผลไม้ที�สําคัญประจําเดือนมิถุนายน 2554

ลําดับ รายการมาตรฐานวัตถุดิบที�เกี�ยวข้อง

ช่วงฤดูกาล จังหวัดที�มีการเพาะปลูกมาก

สถานการณ/์ปัจจัยการผลิตที�เกี�ยวข้อง

เนื�อที�เพาะปลูก (ไร่) ปริมาณผลผลิต (ตัน) ราคาที�เกษตรขายได้เฉลี�ย (บาท/กก.)

2552 2553 2554 (f) ∆54/53 2552 2553 2554 (f) ∆54/53 2552 25532554

รวบรวมโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสําเร็จรูป

หมายเหตุ : บาท/ผล

หมายเหตุ : ชะนี/หมอนทอง

หมายเหตุ : หน่วย บาท/ร้อยผล

ที�มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (http://www.oae.go.th/main.php?filename=king2010) : ข้อมูลด้านช่วงฤดูกาล จังหวัดที�มีการเพาะปลูกมาก เนื�อที�เพาะปลูก ปริมาณผลผลิต

ที�มา : กรมการค้าภายใน (http://www.dit.go.th/) : ข้อมูลด้านราคาที�เกษตรขายได้เฉลี�ย

ที�มา : สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (http://www.acfs.go.th/) : ข้อมูลด้านมาตรฐานวัตถุดิบที�เกี�ยวข้อง

Page 32: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ

(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)

ภาคเหนือ 5.3 -10 6.8 -40 106.7 334 120 76 245.0 41 216.3 43 256.9 43

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 0.2 -95 15.1 -15 23.1 -39 79 -8 201.1 10 187.2 -11 319.8 54

ภาคกลาง 1.4 -77 21.5 73 123.8 305 112.9 51 222.6 39 165.9 20 214.9 41

ภาคตะวันออก 0 -100 47.4 63 116.2 113 136.3 42 169.4 -20 277.5 2 258.4 -3

ภาคใต้ฝั�งตะวันออก 176.8 195 20.7 -43 557 1005 63.9 -12 124.8 -9 121.4 11 141.4 25

ภาคใต้ฝั�งตะวันตก 63.7 178 20.1 -30 424.2 502 118 -27 267.1 -15 231.6 -28 361.9 3

เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ เทียบกับค่าปกติ

(องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส)

ภาคเหนือ 22.5 -0.6 24.9 0.5 25.4 -2.1 27.7 -1.8 27.6 -1.0 27.7 -0.1 27.4 0.1

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21.7 -1.5 25.7 0.3 25.1 -3.1 28.6 -0.9 28.6 -0.1 28.5 0.1 28 0.1

ภาคกลาง 25.2 -0.5 27.8 0.3 26.7 -2.7 29.1 -1.3 29 -0.6 28.8 0.0 28.3 -0.1

ภาคตะวันออก 26.4 0.2 27.5 0.0 26.9 -1.8 28.4 -1.1 29.1 0.0 28.6 0.0 28.4 0.2

ภาคใต้ฝั�งตะวันออก 26 0.1 27.1 0.4 26.6 -1.1 28.1 -0.6 28.6 0.1 28.4 0.3 27.9 0.1

ภาคใต้ฝั�งตะวันตก 27 0.1 28 0.3 27 -1.4 28.3 -0.2 28.4 0.4 28.3 0.5 27.6 0.2

หมายเหตุ ค่าปกติ หมายถึง ค่าเฉลี�ยในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2514-2543)

เมษายน

มีนาคม เมษายน พฤษภาค

กรกฎาคม

ปริมาณนํ�าฝน (มม.)

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ตาราง : ปริมาณ นํ�าฝน และอุณหภูมิรายเดือนของเดือนมกราคม -กรกฎาคม เมื�อเทียบกับค่าปกติในทุกภาคของประเทศ ปี 2554

ภาค

ภาคมกราคม กุมภาพันธ์

มีนาคม พฤษภาค

มมกราคม กุมภาพันธ์

กรกฎาคม

มิถุนายน

มิถุนายน

Page 33: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม

ภาคเหนือ 5.9 11.3 24.6 68.2 173.8 151.3 179.7

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4.0 17.8 37.9 85.9 182.8 210.3 207.7

ภาคกลาง 6.1 12.4 30.6 74.8 160.1 138.3 152.4

ภาคตะวันออก 14.7 29.1 54.6 96.0 211.8 272.1 266.4

ภาคใต้ฝั�งตะวันออก 59.9 36.3 50.4 72.6 137.1 109.4 113.1

ภาคใต้ฝั�งตะวันตก 22.9 28.7 70.5 161.6 314.2 321.7 351.4

มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม

ภาคเหนือ 23.1 24.4 27.5 29.5 28.6 27.8 27.3

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 23.2 25.4 28.2 29.5 28.7 28.4 27.9

ภาคกลาง 25.7 27.5 29.4 30.4 29.6 28.8 28.4

ภาคตะวันออก 26.2 27.5 28.7 29.5 29.1 28.6 28.2

ภาคใต้ฝั�งตะวันออก 25.9 26.7 27.7 28.7 28.5 28.1 27.8

ภาคใต้ฝั�งตะวันตก 26.9 27.7 28.4 28.5 28.0 27.8 27.4

ค่าปริมาณนําฝนปกติ (มม.)ภาค

ภาคค่าอุณหภูมิปกติ (องศาเซลเซียส)

Page 34: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม รวม

2552 0.0 1.1 45.3 70.6 186.7 186.4 170.5 660.6

ภาคเหนือ 2553 25.7 2.7 11.3 43.7 92.1 137.7 204.7 517.9

2554 5.3 6.8 106.7 120.0 245.0 216.3 256.9 957.0

%diff (53/54) -79.4 151.9 844.2 174.6 166.0 57.1 25.5 84.8

2552 0.1 8.7 81.5 107.4 246.2 158.4 266.4 868.7

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2553 38.4 18.7 10.6 74.6 117.1 155.8 219.6 634.8

2554 0.2 15.1 23.1 79.0 201.1 187.2 319.8 825.5

%diff (53/54) -99.5 -19.3 117.9 5.9 71.7 20.2 45.6 30.0

2552 0.1 4.6 68.9 128.3 262.4 155.1 157.2 776.6

ภาคกลาง 2553 42.5 3.1 8.7 32.4 125.3 170.7 182.1 564.8

2554 1.4 21.5 123.8 112.9 222.6 165.9 214.9 863.0

%diff (53/54) -96.7 593.5 1323.0 248.5 77.7 -2.8 18.0 52.8

2552 0.1 19.2 95.3 203.9 265.0 180.9 346.8 1111.2

ภาคตะวันออก 2553 43.1 30.9 50.4 73.0 163.7 255.3 272.4 888.8

2554 0.0 47.4 116.2 136.3 169.4 277.5 258.4 1005.2

%diff (53/54) -100.0 53.4 130.6 86.7 3.5 8.7 -5.1 13.1

2552 124.2 11.0 107.3 141.4 151.0 72.6 128.6 736.1

ภาคใต้ฝั�งตะวันออก 2553 75.8 8.6 49.2 29.6 85.7 114.2 125.7 488.8

2554 176.8 20.7 557.0 63.9 124.8 121.4 141.4 1206.0

%diff (53/54) 133.2 140.7 1032.1 115.9 45.6 6.3 12.5 146.7

2552 16.4 6.8 225.4 250.8 328.2 241.1 368.6 1437.3

ภาคใต้ฝั�งตะวันตก 2553 71.9 18.0 72.5 116.8 181.4 466.5 317.6 1244.7

2554 63.7 20.1 424.2 118.0 267.1 231.6 361.9 1486.6

%diff (53/54) -11.4 11.7 485.1 1.0 47.2 -50.4 13.9 19.4

ตาราง : ปริมาณ นํ�าฝน และอุณหภูมิ เดือนมกราคม-กรกฎาคม ในภาคต่างๆของประเทศไทยปี 2552-2554

ปริมาณนําฝน (มม.)ปีภาค

Page 35: Weekly Brief 9 Aug - 15 Aug 11

มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม เฉลี�ย

2552 21.0 25.6 27.3 29.1 28.4 27.5 27.4 26.6

ภาคเหนือ 2553 24.4 25.7 28.1 31.4 31.0 29.6 28.3 28.4

2554 22.5 24.9 25.4 27.7 27.6 27.7 27.4 26.2

%diff (53/54) -7.8 -3.1 -9.6 -11.8 -11.0 -6.4 -3.2 -7.7

2552 21.4 27.3 28.1 29.3 28.2 28.6 28.0 27.3

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2553 24.8 27.7 28.8 31.1 30.6 29.7 28.7 28.8

2554 21.7 25.7 25.1 28.6 28.6 28.5 28.0 26.6

%diff (53/54) -12.5 -7.2 -12.8 -8.0 -6.5 -4.0 -2.4 -7.5

2552 23.9 28.5 29.3 30.1 28.9 28.8 28.3 28.3

ภาคกลาง 2553 26.9 29.4 30.3 31.9 31.4 30.2 29.1 29.9

2554 25.2 27.8 26.7 29.1 29.0 28.8 28.3 27.8

%diff (53/54) -6.3 -5.4 -11.9 -8.8 -7.6 -4.6 -2.7 -6.8

2552 24.9 28.0 28.7 29.4 28.7 28.9 28.4 28.1

ภาคตะวันออก 2553 27.2 28.9 29.4 30.5 30.4 29.5 28.8 29.2

2554 26.4 27.5 26.9 28.4 29.1 28.6 28.4 27.9

%diff (53/54) -2.9 -4.8 -8.5 -6.9 -4.3 -3.1 -1.4 -4.6

2552 25.1 27.1 27.9 28.6 28.2 28.7 28.0 27.7

ภาคใต้ฝั�งตะวันออก 2553 27.0 28.0 28.7 29.7 30.0 29.0 28.2 28.7

2554 26.0 27.1 26.6 28.1 28.6 28.4 27.9 27.5

%diff (53/54) -3.7 -3.2 -7.3 -5.4 -4.7 -2.1 -1.1 -3.9

2552 26.8 27.9 27.8 28.2 27.9 28.7 28.0 27.9

ภาคใต้ฝั�งตะวันตก 2553 27.7 28.8 29.4 29.5 29.5 28.2 27.6 28.7

2554 27.0 28.0 27.0 28.3 28.4 28.3 27.6 27.8

%diff (53/54) -2.5 -2.8 -8.2 -4.1 -3.7 0.4 0.0 -3.0

หมายเหตุ : % diff รายเดือน = ความแตกต่างของปริมาณนําฝนในเดือนนันๆของปี 2554 เทียบกับปี 2553

ที�มา : กรมอุตุนิยมวิทยา

ภาค ปีอุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)