12
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 36 4 Oct - 10 Oct 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits&Vegetables Food Ingredient&Ready-to-Eat จีนรุกลงทุนด้านอาหารและเกษตรใน ลาตินอเมริกา จอร์แดนเชิญเยือนประเทศเพื่อดูศักยภาพ การเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าให้กับไทย Update for EU Regulations. (September 2011) ลือปลาแซลมอนทางตะวันออกเฉียง เหนือของจีนปนเป ื้อนกัมมันตรังสี ผลไม้กระป๋องไทยถูกปฏิเสธต่ออายุ ทะเบียนอาหารในอินโด

Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

Citation preview

Page 1: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 36

4 Oct - 10 Oct 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

จีนรุกลงทุนด้านอาหารและเกษตรในลาตินอเมริกา

จอร์แดนเชิญเยือนประเทศเพื่อดูศักยภาพการเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าให้กับไทย

Update for EU Regulat ions. (September 2011)

ลือปลาแซลมอนทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีนปนเปื ้อนกัมมันตรังสี

ผลไม ้กระป ๋องไทยถูกปฏิ เสธต ่ออายุทะเบียนอาหารในอินโด

Page 2: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

2 3

ContentsContents3

4 5 6 6 8 9 10 11

12 13

15 16 16 17 18

04

08

15

12

19

03 ขา่วประชาสัมพนัธ์• จอร์แดนเชิญเยือนประเทศเพื่อดูศักยภาพการเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าให้กับไทย

สถานการณด์้านมาตรฐานและความปลอดภยั อาหาร • จีนแจ้งกฎระเบียบการขึ้นทะเบียนอาหารต่างชาติ • Update for EU Regulations. (September 2011)

สถานการณด์้านประมง • ลือปลาแซลมอนทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีนปนเปื้อนกัมมันตรังสี• ทธ.โอนเรือส�ารวจฯให้ทช. หนุนภารกิจอนุรักษ์ทะเล

สถานการณด์้านเกษตร• รมช.เกษตรเดินสายมอบนโยบาย ย�้า4กรมใหญ่บูรณาการท�างาน ฟื้นฟูเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย • ครม.ไฟเขียว ก.เกษตรฯ ลงนามเอ็มโอยูการรายงานโรคระบาดสัตว์ระดับภูมิภาคอาเซียน • ผลไม้กระป๋องไทยถูกปฏิเสธต่ออายุทะเบียนอาหารในอินโด (ปก)• สหรัฐฯ ไฟเขียวน�าเข้าแก้วมังกรไทย สถานการณน์โยบายครม.ชุดใหม ่และ ประเด็นแรงงาน • ส.อ.ท. ได้ข้อสรุปแนวทางปรับค่าแรงขั้นต�่า 300 บาทแล้ว จ่อเสนอไตรภาคี• ระวัง!คู่ค้าสหรัฐฯ-ยุโรปชักดาบ

สถานการณด์้านการค้า• สั่งตัดเงินคงคลังเหี้ยน • โอบามา ชงสภา ไฟเขียว เอฟทีเอ 3 ชาติ • มังกรต้ังเป้าผลิตบรรจุภันฑ์ที่หนึ่งของโลกภายในปี 54 • จีนรุกลงทุนด้านอาหารและเกษตรในลาตินอเมริกา• คาดปี 55 ไทยส่งออกน�้าตาลสูงขึ้น

อตัราแลกเปลีย่น

ข่าวประชาสัมพันธ์

06

จอร์แดนเชิญเยือนประเทศเพ่ือดูศักยภาพการเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าให้กับไทย

การประชุมกรอบความร่วมมือเอเซีย - ตะวันออกกลาง

ครั้งท่ี 3 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในวันที่ 14-16

ธันวาคม 2553 ท่ีผ่านมา ผู้แทนรัฐบาลราชอาณาจักร

ฮัชไมต์จอร์แดนได้เสนอให้ประเทศจอร์แดนเป็นศูนย์กลาง

ในการกระจายผลิตภัณฑ์อาหารไทยไปยังทวีปยุโรปและ

แอฟริกานั้น ในการนี้ รัฐบาลฯจอร์แดน จึงชักชวนให้

ส่วนข้าราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยเยือน

ประเทศจอร์แดน โดยส่งหนังสือเรียนเชิญมาพร้อมกับ

เอกสาร Aqaba Special Economic Zone Author-

ity ของจอร์แดน มีเนื้อหากล่าวถืง ศักยภาพในประเทศ

จอร์แดนท่ีสามารถรองรับธุรกิจได้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ การ

ท่องเท่ียว การบริการและอุตสาหกรรม โดยเน้นย�้าว่าอ

นาเขตการลงทุนพร้อมไปด้วยสิ่งอ�านวยความสะดวกทั้ง

การค้าและการขนส่ง รวมถึงราคาที่ไม่แพงเกินไป หาก

องค์กรใดสนใจ สามารถขอรับรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ที่

กองตะวันออกกลาง สังกัดกรมเอเซียใต้ ตะวันออกกลาง

และแอฟริกา โทร. 0-203-5000 ต่อ 12043 หรือโทรสาร

0-2643-5053

ที่มา : หนังสือกระทรวงต่างประเทศ ที่ กต 1403/ว.1814 และหนังสือ

สถานเอกอัครราชทูตจอร์แดนประจ�าอินเดีย ที่ MN/1/446

Page 3: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

4 5

WEEKLY BRIEF

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

Update for EU Regulations. (September 2011)

ในเดือนกันยายน สหภาพยุโรปได้มีการปรับปรุง

ข้อก�าหนดในเรื่องของการสอบย้อนกลับส�าหรับอาหารที่

ที่มีแหล่งก�าเนิดมาจากสัตว์

• COMMISSION IMPLEMENTING REGULATION

(EU) No 931/2011 on

the traceability requirements set by Regulation

(EC) No 178/2002 of the European Parliament

and of the Council for food of animal origin

มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 01/07/2012

สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก

http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.

do?uri=OJ:L:2011:242:0002:0 003:EN:PDF

ที่มา : http://www.foodlaw.rdg.ac.uk/

จีนแจ้งกฎระเบียบการข้ึนทะเบียนอาหารต่างชาติ

จีนออกร่างกฎระเบียบเกี่ยว

กับการขึ้นทะเบียนอาหารต่างชาติ (Provisions on the

Administration of the Registration of Foreign

Manufacturers of Import Foods) ซึ่งได้แจ้งต่อสมาชิก

องค์การการค้าโลก ลงวันท่ี 19 สิงหาคม 2554 และมี

ผลบังคับใช้เดือนมีนาคม 2554 สาระส�าคัญมีดังต่อไปนี้

• ส�านักงานควบคุมคุณภาพ

ตรวจสอบ และกักกันโรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน

(AQSIS) เป็นผู้ดูแลการขึ้นทะเบียนผู้ผลิตสินค้าอาหารน�า

เข้าต่างชาติท้ังหมด และมีหน่วยงานด้านรับรอง Certifi-

cation and Accreditation Administration (CNCA)

เป็นผู้ด�าเนินการการขึ้นทะเบียนและการตรวจสอบควบคุม

ผู้ผลิตสินค้าอาหารน�า เข้า

• ผู้ผลิตต่างชาติท่ีได้รับการขึ้น

ทะเบียนตามบัญชีรายชื่อการขึ้นทะเบียน จะได้รับอนุญาต

ให้ส่งออกสินค้ามายังจีน

• ผู้ผลิตต้องผ่านการประเมิน

จากหน่วยงานขึ้นทะเบียนของประเทศต้นทาง (Compe-

tent Authority : CA) ได้แก่ หน่วยงานด้านสัตวแพทย์

ด้านอารักขาพืช และสาธารณสุข

• การยื่นขอขึ้นทะเบียน ต้อง

ยื่นผ่านหน่วยงาน CA ในประเทศผู้ผลิต และหน่วยงาน

นั้นจะเป็นผู้ยื่นเรื่องมายัง CNCA

• การข้ึนทะเบียนมีอายุ 4 ปี

หากจะต่ออายุต้องแจ้งล่วงหน้าก่อน 1 ปี หากผู้ผลิตไม่

สามารถต่อการจัดทะเบียนในระยะเวลาที่ก�าหนด หน่วย

งาน CNCA สามารถยกเลิกการจดทะเบียนนั้นได้

• หน่วยงาน CNCA จะตรวจ

สอบควบคุมผู ้ผลิตตามบัญชีรายชื่ออย่างเคร่งครัด และ

หากจ�าเป็นอาจมีการตรวจซ�้าและพบว่าผู ้ผลิตไม่ปฏิบัติ

ตามก�าหนดจะถูกระงับ การขึ้นทะเบียนชั่วคราว

• หากพบว่าผู้ผลิตรายใดเกิด

เหตุการณ์ความปลอดภัยอาหารร้ายแรง หรือหากกักกัน

แล้วพบว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานค่อนข้างรุนแรง มีการ

ปลอมปน เป็นต้น ก็จะท�าการยกเลิกการขึ้นทะเบียน

• การขึ้นทะเบียนผู้ผลิต แปรรูป

และการเก็บรักษาอาหารน�าเข้าจากเขตการปกครองพิเศษ

ฮ่องกง มาเก๊าและไต้หวัน ที่ส่งอาหารตามบัญชีรายชื่อ

มายังจีนให้ปฏิบัติตามระเบียบนี้เช่นกัน

ทั้งนี้ เปิดให้แสดงความคิด

เห็นถึงวันท่ี 18 ตุลาคม 2554 และสอบถามข้อมูลเพ่ิม

เติมได้ท่ี [email protected]

ที่มา : มกอช.(05/10/54)

Page 4: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

6 7

Vol. 2 Issue 2

66 7

สถานการณ์ด้านประมง

ลือปลาแซลมอนทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีนปนเปื้อนกัมมันตรังสี

Xin Guo คนงานชาวประมง

ในบริเวณเขตปกครอง Fuyuan ที่ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดน

Sino-Russian ทางตอนเหนือของจีน กล่าวว่าเคยเก็บปลา

แซลมอนไว้ให้ญาติและเพื่อนฝูงตามค�าขอเป็นเวลานาน

แต่เม่ือไม่นานนี้คนกลุ่มดังกล่าวปฏิเสธ ถึงแม้ Guo จะ

เสนอให้เองก็ตาม ขณะที่มารดาของ Guo ก็บอกเขาว่า

ห้ามบริโภคปลาแซลมอนเน่ืองจากเธอได้ยินข่าวลือว่าปลา

ดังกล่าวปน เปื้อนกัมมันตรังสีในบริเวณทะเลญี่ปุ ่น ก่อน

ที่จะอพยพเคลื่อนย้ายมาอยู่น่านน�้าจืดในบริเวณนี้

ที่มา : มกอชช. (FIS) วันที่ 4 ต.ค. 2554

ทธ.โอนเรือส�ารวจฯให้ทช. หนุนภารกิจอนุรักษ์ทะเล

นายอดิศักด์ิ ทองไข่มุกต์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี

(ทธ.)กล่าวถึงการลงนามในสัญญาความร่วมมือการรับ

มอบเรือกับกรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง (ทช.)

ว่า กรมเห็นความส�าคัญของเรือ เพื่อใช้ในภารกิจต่างๆ

จ�านวนมาก เมื่อกลับมารับต�าแหน่งอธิบดี ทธ.เห็นว่าเรือ

ส�ารวจ ทรัพยากรธรณีที่มีอยู่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ หากมอบ

ให้ทช.น่าจะเป็นประโยชน์มากกว่า จึงลงนามในบันทึก

ความร่วมมือดังกล่าวขึ้น โดยปรับเปลี่ยนภารกิจในการ

สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟูและบริการจัดการด้านธรณีวิทยา

และทรัพยากรธรณี โดยการส�ารวจตรวจสอบสภาพ

ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี การประเมินศักยภาพแหล่ง

ทรัพยากรธรณี การก�าหนดและก�ากับดูแลเขตพื้นที่สงวน

และอนุรักษ์ทรัพยากรธรณี เพื่อการพัฒนาทรัพยากรธรณี

คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมอย่างยั่งยืน ตลอดจน

ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยประสบปัญหาธรณี

พิบัติภัยบ่อยครั้ง และทวีความรุนแรงเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดย

เฉพาะการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เป็นหลัก

ด้านนายเกษมสันต์ จิณณวาโส อธิบดีกรมทรัพยากร

ทางทะเลและชายฝัง (ทช.)กล ่าวว ่าส�าหรับภารกิจที่

ทช.เตรียมรองรับหลังจากรับมอบเรือเรียบร้อย สมบูรณ์

แล้ว ประกอบไปด้วยภารกิจคุ ้มครอง ตรวจตรา เฝ้า

ระวังผู ้กระท�าผิดกฎหมายที่เกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเล

และชายฝั ่ง, ภารกิจสนับสนุนงานด้านการอนุรักษ์และ

ฟื้นฟู เช่น การจัดกิจกรรมด�าน�้าเก็บขยะ การส�ารวจพื้นท่ี

จัดวางปะการังเทียม,ภารกิจสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมการ

อนุรักษ์และการประชาสัมพันธ์ทางด้านทรัพยากรทางทะเล

และชายฝั่ง เช่น การน�าเยาวชนออกไปเรียนรู้ในสถานท่ี

จริงเกี่ยวกับแหล่งปะการัง แหล่งหญ้าทะเล และภารกิจ

ในการสนับสนุนด้านการส�ารวจวิจัยทั้งด้านนิเวศชายฝั ่ง

ป่าชายเลน และทรัพยากรอื่นๆท่ีกรมทรัพยากรทางทะเล

และชายฝั่งรับผิดชอบ\

ที่มา : แนวหน้าวันที่ 7/10/2011

Page 5: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

8 98

สถานการณ์ด้านเกษตร

รมช.เกษตรเดินสายมอบนโยบาย ย�้า4กรมใหญ่บูรณาการท�างาน ฟื ้นฟูเยียวยาผู ้ประสบอุทกภัย

นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ รัฐมนตรี ช่วยว่าการ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มอบนโยบายให้กรมวิชาการ

เกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรม

ตรวจบัญชีสหกรณ์ หลังเข้ารับต�าแหน่งใหม่ โดยเน้นให้

หน่วยงานในก�ากับดูแล ปฏิบัติภารกิจให้สอดคล้องกับ

นโยบายของรัฐบาล และของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

โดยเฉพาะการให้ความช่วยเหลือผู ้ประสบภัย น�้าท่วม

รวมถึงการเยียวยาเกษตรกร เรื่องการ จ่ายเงินชดเชย

พ้ืนที่นาข้าว พืชไร่ พืชสวน ประมงและปศุสัตว์ท่ีได้รับ

ความเสียหาย ตามมาตรการให้ความช่วยเหลือของรัฐบาล

พร้อมทั้งให้ค�าแนะน�า ฟื้นฟูอาชีพให้เกษตรกรหลังน�้าลด

รมช.เกษตรฯเน ้นย�้าถึงเป ้าหมายส�าคัญของกระทรวง

เกษตรฯคือ ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร โดย

การลดต้นทุน การผลิต ส่งเสริมการใช้ปุ ๋ยอินทรีย์ทดแทน

ปุ๋ยเคมี รวมทั้งการพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์

ที่ให้ผลผลิตและคุณภาพดีให้กับเกษตรกร เพิ่มแหล่งน�้าใน

ไร่นาและชุมชนเพื่อ เป็นแหล่งน�้าใช้ในหน้าแล้งและที่กัก

เก็บน�้าในฤดูน�้าหลาก

ทั้งนี้ การมอบนโยบายให้กรมส่งเสริมสหกรณ์นั้น ให้

เข้าไปดูแลการชดเชยดอกเบี้ย ให้สมาชิกสหกรณ์ท่ีประสบ

ภัยน�้าท่วม ตามมาตรการพักช�าระหนี้ 3 ปี และต้อง

เข้าไปดูแลการประกอบธุรกิจของสหกรณ์ต่างๆ ให้เป็น

ไปตามหลักการสหกรณ์หรือสุ่มเสี่ยง ต่อการผิดกฎหมาย

ส�าหรับกรมพัฒนาที่ดินนั้น ให้เข้าไป ฟื ้นฟูพื้นที่

การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจาก น�้าท่วม โดยระยะสั้นให้

จัดหาปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยพืชสดให้เกษตรกร ส่วนระยะยาวให้

จัดท�าแก้มลิง ขุดสระน�้าในไร่นาและแหล่งน�้าชุมชน เก็บ

กักน�้าในธรรมชาติและช่วยชะลอการไหล ของน�้าช่วงน�้า

หลาก รวมถึงเป็นแหล่งน�้าใช้ในหน้าแล้งได้

ในส่วนของกรมวิชาการเกษตร ให้จัดหาพันธุ ์พืช

แจกจ่ายให้กับเกษตรกรภายหลังน�้าลด อีกทั้ง ต้องศึกษา

วิจัยและปรับปรุงพันธุ์พืชให้ทนต่อสภาวะน�้าท่วม รวมถึง

ทนทานต่อแมลง ศัตรูพืช และโรคระบาดต่างๆ

ส�าหรับการมอบนโยบายแก่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

ได้เน้นย�้าการส่งเสริมและสนับสนุนให้สหกรณ์ใช้โปรแกรม

ระบบบัญชีสหกรณ์ครบ วงจร ที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

ได้พัฒนาข้ึนนั้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีที่ จะเดินหน้าต่อไปเพื่อ

ให้การบริหารงานสหกรณ์ รวดเร็วและมีมาตรฐาน

ท่ีมา : แนวหน้า วันที่ 6/10/2011

ครม.ไฟเขียว ก.เกษตรฯ ลงนามเอ็มโอยูการรายงานโรคระบาดสัตว์ระดับภูมิภาคอาเซียน

นายธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

เกษตรและสหหรณ์ เปิดเผยว่า เนื่องจากในระหว่างวันท่ี

6 - 7 ตุลาคม 2554 นี้ จะมีการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน

ด้านการเกษตรและป่าไม้ ครั้งท่ี 33 และการประชุม

รัฐมนตรีอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้บวก 3 ครั้งที่ 11

ซึ่งนอกจากการหารือความร่วมมือด้านการเกษตรระหว่าง

ประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว ยังมีประเด็นส�าคัญ คือ จะ

มีการลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างประเทศของกระ

ทรวงเกษตรฯ ด้วยกัน 2 ฉบับ คือ บันทึกความเข้าใจ

ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับองค์การโรคระบาดสัตว์

ระหว่าง ประเทศ ในด้านข้อมูลการรายงานโรคระบาด

สัตว์ระดับภูมิภาคอาเซียน (ARAHIS) และลงนามการจัด

ตั้งองค์กรส�ารองข้าวฉุกเฉินของอาเซียน 3 (APTERR) ดัง

นั้น เมื่อวันท่ี 4 ตุลาคม 2554 ท่ีผ่านมา คณะรัฐมนตรี

(ครม.) ได้มีมติเห็นชอบการลงนามบันทึกความเข้าใจ 2

ฉบับดังกล่าวตามท่ีกระทรวงเกษตรฯ เสนอ โดยมอบให้

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือผู ้แทน

เป็นผู้ลงนาม

ส�าหรับสาระส�าคัญของการลงนามบันทึกความ

เข้าใจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน กับองค์การโรค

ระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ

ประเทศไทยในการ เช่ือมโยงกับระบบข้อมูลรายงานโรค

ระบาดสัตว์ของท้ังโลก (WAHIS) ขององค์การโรคระบาด

สัตว์ระหว่างประเทศ ท่ีในปัจจุบันประเทศไทยในฐานะ

ประเทศสมาชิกอาเซียน ได้รายงานข้อมูลโรคระบาดสัตว์

ที่อาเซียนให้ความส�าคัญ 5 โรค ได้แก่ โรคปากและ

เท้าเปื ่อย โรคพิษสุนัขบ้า โรคอหิวาต์สุกร โรคนิวคาส

เซิล และโรคไข้หวัดนก ผ่านระบบข้อมูลการรายงาน

โรคระบาดสัตว์ระดับภูมิภาคอาเซียน (ARAHIS) ดังนั้น

หากระบบข้อมูลระบบ ARAHIS เชื่อมโยงกับระบบข้อมูล

WAHIS จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ที่จะท�าให้ข้อมูลเป็น

ข้อมูลเดียวกัน รายงานเพียงครั้งเดียว ช่วยลดขั้นตอนการ

รายงานมิให้ทับซ้อนกัน เกิดความสะดวกในการรายงาน

โรค ส่งผลให้ประเทศในภูมิภาคอาเซียน และองค์การ

โรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ รู้การเกิดโรคระบาดสัตว์

ได้เร็ว และสามารถป้องกันและควบคุมโรคในภูมิภาคได้

อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนการจัดตั้งองค์กรส�ารองข้าวฉุกเฉินของ

อาเซียน 3 (APTERR) หลังจากที่ ครม.ได้มีมติ เมื่อวัน

ท่ี 19 ตุลาคม 2553 ความตกลง APTERR ไม่สามารถ

ลงนามได้ในการประชุม AMAF 3 ครั้งที่ 10 เมื่อวัน

ท่ี 24 ตุลาคม 2553 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา

เนื่องจากประเทศสิงคโปร์ได้ขอแก้ไขความตกลงดังกล่าว

ในบางประเด็น และเมื่อประเทศสมาชิกได้พิจารณาร่วม

กันแก้ไขและได้ข้อยุติ ซึ่งกระทรวงเกษตรฯ ได้พิจารณา

แล้วว่าไม่มีข้อขัดข้องต่อข้อแก้ไขดังกล่าว ดังนั้น จึงต้อง

น�าเสนอ ครม.เพื่อพิจารณาอนุมัติ และมอบหมายผู้ลงนาม

ความตกลงใหม่อีกครั้ง เนื่องจากร่างความตกลงที่ ครม.

ได้เคยอนุมัติไว้เดิมนั้นมีการเปลี่ยนแปลง

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 5/10/2011

Page 6: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

10 1111

ผลไม้กระป๋องไทยถูกปฏิเสธต่ออายุทะเบียนอาหารในอินโด

ส�านักงานที่ปรึกษาการเกษตร

ต่างประเทศประจ�ากรุงจาการ์ตา ได้รับแจ้งจากส�านักงาน

ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศประจ�ากรุงจาการ์ตาว่า

บริษัทอินโดนีเซียผู ้น�าเข ้าผลิตภัณฑ์ผลไม้กระป๋องไทย

ประสบปัญหาการขอต่ออายุ หมายเลขทะเบียนอาหาร

และยาของสินค้าประเภทผลไม้น�าเข้าประป๋องจากไทยจาก

หน่วย งานควบคุมอาหารและยาของอินโดนีเซีย (BPOM)

เนื่องจากสินค้าของไทยไม่เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาของ

หน่วยงานคณะกรรมการ BPOM เลขที่ HK.00.05.52.4040

ซ่ึงก�าหนดคุณลักษณะของสินค้าประเภทที่ 04 คือผล

ไม้กระป๋องว่าจะต้องมีอัตราส่วนเนื้อผลไม้ (Drained

Weight) ตั้งแต่ 50 %ของน�้าหนักสุทธิทั้งหมด

โดยหน่วยงาน BPOM ได้

ตรวจสอบสินค้าผลไม้กระป๋องจากไทยทั้งหมด 7 รายงาน

ได้แก่ ล�าไยกระป๋อง ล้ินจี่กระป๋อง เงาะกระป๋อง เงาะ

สอดไส้สับปะรดกระป๋อง ลูกตาลกระป๋อง ลูกตาลผสม

ขนุนกระป๋อง และขนุนกระป๋อง พบว่าสัดส่วนของเนื้อ

ผลไม้มีปริมาณต�่ากว่า 50 % ท�าให้หน่วยงาน BPOM

จะไม่ด�าเนินการต่ออายุให้น�าเข้าสินค้าผลไม้กระป๋องของ

ไทยสู่อินโดนีเซีย จนกว่าจะมีการปรับเปล่ียนการผลิตให้

สอดคล้องกับกฎระเบียบของหน่วยงาน BPOM

ขณะนี้ส�านักงานมาตรฐาน

สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) อยู่ในระหว่าง

ด�าเนินการว่าแก้ไขปัญหาดังกล่าว

ท่ีมา : ส�านักงานท่ีปรึกษาการเกษตรต่างประเทศประจ�ากรุงจาการ์ตา

วันท่ี 04 / 10 / 2554

สหรัฐฯ ไฟเขียวน�าเข้าแก้วมังกรไทย

เมื่อวันท่ี 4 ตุลาคม 2554 ส�านักงานตรวจสอบพันธุ์

พืชและสัตว์ (APHIS) กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ แจ้งว่า

ไทยได้รับอนุญาตให้ส่งออกผลแก้วมังกรไปยังภาคพื้น

ทวีปสหรัฐฯ โดยมีสาระส�าคัญดังนี้

• การน�าเข้าผลแก้วมังกรจะต้องเป็นการน�าเข้าเพื่อ

การค้าเท่านั้น

• ผลแก้วมังกรจะต้องผ่านการฉายรังสีตามข้อก�าหนด

โดยมีปริมาณรังสีท่ีดูดกลืนอย่างน้อย 400 เกรย์(Gy)

• ใน กรณีท่ีฉายรังสีในไทยก่อนส่งออก APHIS และ

องค์กรรักขาพืชของไทย คือ กรมวิชาการเกษตร จะร่วม

กันตรวจสอบการส่งผลแก้วมังกรแต่ละครั้ง และจะต้อง

แนบใบรับรองสุขอนามัยพืช (PC) ซึ่งรับรองว่าแก้วมังกร

ได้รับการฉายรังสี

• ในกรณีท่ีมีการฉายรังสีเมื่อแก้วมังกรมาถึงสหรัฐฯ

การส่งออกผลแก้วมังกรแต่ละครั้งจะต้องได้รับการตรวจ

สอบจากกรมวิชาการเกษตร ก่อนการขนส่งและต้องแนบ

ใบรับรองสุขอนามัยพืชด้วย

• ผลแก้วมังกรอาจถูกตรวจสอบ ณ ท่าเรือ สหรัฐฯ

สามารถศึกษารายละเอียดเพ่ิม

เติมได้ท่ี http://aphis.usda.gov/favir หรือสอบถาม

รายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี มกอช.

ที่มา : มกอช.(6-10-54)

Page 7: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

12 1312 13

สถานการณ์นโยบายครม.ใหม่และประเด็นแรงงาน

ส.อ.ท. ได้ข้อสรุปแนวทางปรับค่าแรงขั้นต�่า 300 บาทแล้ว จ่อเสนอไตรภาคี

นาย สมมาต ขุนเศษฐ เลขาธิการสภาอุตสาหกรรม

แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า ขณะนี้ ส.อ.ท.ได้ข้อ

สรุปแนวทางการปรับค่าแรงขั้นต�่า 300 บาทต่อวัน เพื่อน�า

เสนอต่อคณะกรรมการค่าจ้างกลาง (ไตรภาคี) ที่จะมีการ

หารือเพื่อวางกรอบแนวทางด�าเนินงานในวันที่ 5 ต.ค.นี้

โดยการจัดท�าข้อเสนอดังกล่าวได้มาจากการระดมความ

คิดเห็นของสมาชิก ส.อ.ท.ทั่วประเทศครอบคลุมทุกกลุ่ม

อุตสาหกรรม และได้ใช้หลักเกณฑ์อ้างอิงเหตุผลส�าคัญ

คือ การลดผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจไทยจากปัญหา

น�้าท่วม และเศรษฐกิจโลกที่คาดว่าจะชะลอตัวต่อเนื่อง

ตลอดปีหน้า ท�าให้ยอดการส่งออกไทยมีความไม่แน่นอน

จึงต้องการขอความเห็นใจจากรัฐบาลในการรับฟังความ

เห็นของผู้ประกอบการในฐานะ นายจ้างด้วย

ส�าหรับ แนวทางที่จะเสนอต ่อที่ประชุมไตรภาคี

ประกอบด้วย 2 แนวทางได้แก่ 1. การยึดกรอบการขึ้น

ค่าจ้างข้ันต�่า 300 บาทต่อวันตามนโยบายของรัฐบาล แต่

ต้องมีการตีความหมายของค�าว่าค่าจ้างเป็นรายได้ท่ีจะ

รวมกับเบี้ยเลี้ยง สวัสดิการต่างๆ และค่าล่วงเวลา (โอที)

ฯลฯ ด้วย โดยขอให้ปรับข้ึนใน 7 จังหวัดน�าร่อง ได้แก่

กรุงเทพมหานคร (กทม.) สมุทรปราการ สมุทรสาคร

ปทุมธานี นครปฐม นนทบุรี และภูเก็ต ได้ทันทีวันท่ี 1

มกราคม 55 ส่วนจังหวัดอื่นๆให้ทยอยปรับข้ึนในกรอบ

ระยะเวลา 3 ปี โดยวันที่ 1 มกราคม 55 ปรับขึ้นอีก

40 บาทต่อวัน จนครบเป็น 300 บาทต่อวัน ในวันท่ี 1

มกราคม 57

ส่วน แนวทางที่ 2 หากคณะกรรมการไตรภาคียืนยัน

จะต้องปรับข้ึนค่าจ้างข้ันต�่า 300 บาทต่อวันทันทีวันท่ี 1

มกราคม 55 ทั่วประเทศและไม่เก่ียวกับค�าว่ารายได้ ส่วนที่

ปรับขึ้นดังกล่าวให้น�ามาหาร 2 โดยครึ่งหนึ่งให้ เอกชนรับ

ภาระ แต่อีกครึ่งหนึ่งรัฐบาลจะต้องจัดหาเงินงบประมาณ

มาชดเชยให้นายจ้าง ทั้งนี้ ส.อ.ท.ต้องการให้ไตรภาคี

ยอมรับในแนวทางแรกมากกว่า “กรณีที่รัฐบาลระบุว่าจะ

มีการลดภาษีเงินได้นิติบุคคลในปี 55 ให้เหลือ 23% เพื่อ

มาช่วยเหลือนายจ้างน้ัน เร่ืองน้ีภาคเอกชนไม่ได้สนใจ

อะไร เพราะเป็นเรื่องของรัฐบาล เพราะถ้ารัฐบาลไม่ลด

ภาษีลงมาในอนาคตใครจะมาลงทุนเพราะอัตราภาษีของ

ประเทศไทย ก็สูงกว่าเพื่อนบ้านในภูมิภาคนี้อยู ่แล้ว และ

ยังจะมาข้ึนค่าแรงซ�้าเติมไปอีก”.

ท่ีมา : ไทยรัฐ วันที่ 5 ต.ค. 2554

ระวัง!คู่ค้าสหรัฐฯ-ยุโรปชักดาบ

กกร.เครียด ขอคิว “ยิ่งลักษณ์” ถก 4 ประเด็นร้อน

ท้ังวิกฤติหนี้สหรัฐฯ-ยุโรปกระทบเศรษฐกิจ และภาคการ

ส่งออก เร่งแผนกู้วิกฤติน�้าท่วมท้ังระยะสั้น-ระยะยาว หา

ทางออกพ่อค้าจ�าน�าข้าวราคาสูงกระทบแข่งขัน ทวงความ

ชัดเจนปรับขึ้นค่าจ้าง 300 บาท ห่วงประชานิยมท�าไทย

เกิดวิกฤติหนี้สาธารณะซ�้ารอยฝรั่ง

นายไพรัช บูรพชัยศรี รองประธานกรรมการ สภา

หอการค้าแห่งประเทศไทย เปิดเผยกับ “ฐานเศรษฐกิจ”

ว่า ช่วงหลังกลางเดือนตุลาคมศกนี้ไปแล้ว ทางกรรมการ

ร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน ประกอบด้วย สภาหอการค้า

แห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ

สมาคมธนาคารไทย จะขอเวลานางสาวยิ่งลักษณ์ ชิน

วัตร นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการร่วม

ภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ หรือ กรอ.

ในการประชุมร่วมกัน มีประเด็นเร่งด่วนท่ีจะน�าหารือ 4

เรื่องส�าคัญ ประเด็นแรก เรื่องความกังวลใจต่อปัญหา

หนี้สาธารณะของ 2 ภูมิภาคใหญ่คือสหรัฐอเมริกา และ

สหภาพยุโรป(อียู)ที่ก�าลังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพ

รวมของท้ังสอง ภูมิภาค และจะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ

รวมถึงภาคการส่งออกของไทย

“ที่ประชุมได ้มอบหมายให้สภาอุตสาหกรรมฯไป

ตั้งคณะท�างานเพื่อศึกษารายละเอียด รวมถึงผลกระทบ

ท่ีจะเกิดจากวิกฤติเศรษฐกิจสหรัฐฯ และยุโรป ที่มีต่อ

ประเทศไทย เพื่อน�าเสนอข้อมูลต่อนายกรัฐมนตรีในที่

ประชุม กรอ.เพื่อหาทางรับมือต่อไป ในเรื่องวิกฤติสหรัฐฯ

และยุโรปท่ีก�าลังเกิดขึ้นนี้ ในเรื่องการส่งออกทางสมาคม

ธนาคารไทยได้เตือนให้ผู ้ส่งออกของไทยได้ระมัด ระวัง

ในส่วนของลูกค้าท่ีอาจมีปัญหาเรื่องการจ่ายเงินค่าสินค้า

ประเด็นท่ี 2 การแก้ไขวิกฤติน�้าท่วมครั้งใหญ่ในพื้นที่

ภาคเหนือ และภาคกลางของประเทศที่ต้องมีมาตรการ

แก้ไขปัญหาเร่งด่วนเฉพาะหน้า การฟื้นฟูหลังสถานการณ์

น�้าท่วมคล่ีคลาย รวมถึงแผนป้องกันปัญหาระยะยาว ซึ่งได้

ขอให้ท้ัง 3 สถาบันไประดมสมองแนวทางที่ได้ผลเพ่ือน�า

เสนอต่อไป ประเด็นท่ี 3 ในเรื่องการรับจ�าน�าข้าวเปลือก

ราคาสูงของรัฐบาล ท่ีคาดว่าจะใช้เงินมหาศาล 4-5 แสน

ล้านบาท ซึ่งในอดีตมีช่องโหว่ หรือจุดอ่อนอยู่มากที่ก่อ

ให้เกิดการทุจริต ในเรื่องนี้จะหามาตรการป้องกันแก้ไข

อย่างไร ขณะที่ผู้ส่งออกมีความกังวลใจจะกระทบต่อความ

สามารถในการแข่งขัน เพราะข้าวไทยต้องขายในราคาสูง

ตามต้นทุน อาจส่งผลให้ไทยต้องเสียลูกค้าในระยะยาวให้

กับเวียดนาม รวมถึงคู่แข่งขันอื่นๆ ที่เสนอราคาต�่ากว่า

“เรื่องจ�าน�าข้าวราคาสูงถือเป็นประเด็นที่มีความอ่อน

ไหว หากเกิดความผิดพลาดเสียหายหนักถือเป็นเงินภาษี

ของพวกเราทั้งนั้น แต่ถ้าเม็ดเงินตกถึงมือเกษตรกรเรา

สนับสนุน แต่ ณ วันนี้มีขบวนการเก็งก�าไรเกิดขึ้นแล้ว

ดังนั้นต้องเร่งหาทางปิดช่องโหว่ในทุกขั้นตอน”

Page 8: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

14 15

ประเด็นที่ 4 เรื่องการปรับขึ้นค่าจ้าง หรือรายได้

เป็น 300 บาทต่อวัน ทาง กกร.เห็นด้วยที่จะมีการปรับ

แต่ต้องประกาศให้ชัดว่าเป็นการปรับขึ้นค่าจ้างหรือรายได้

เพราะในปัจจุบันหากเป็นรายได้คนงานส่วนใหญ่หากรวม

สวัสดิการต่างๆ อาทิ ค่าอาหาร รถรับส่ง ที่พัก และอื่นๆ

หากตีเป็นรายได้แล้วส่วนใหญ่จะมีรายได้มากกว่า 300

บาท/วัน แต่หากเป็นการปรับค่าจ้างขั้นต�่าเป็น 300 บาท/

วันทั่วประเทศ ไม่นับรวมสวัสดิการต่างๆ ผู้ประกอบการ

หรือนายจ้างส่วนใหญ่ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด

ย่อม หรือเอสเอ็มอี จะได้รับผลกระทบมาก เพราะบาง

พ้ืนที่ค่าจ้างจะเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด เช่น จาก 165

บาท เป็น 300 บาท นายจ้างที่แบกรับภาระไม่ไหวอาจ

ต้องปิดโรงงาน หรือไม่ก็ปรับลดคนงานลง เพราะในส่วน

ที่ได้รับค่าจ้างเกินก็ต้องขอปรับบ้างเป็นทอดๆ

“หากเป็นการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต�่า 300 บาทต่อวัน

แต่ต้องถูกตัดลดสวัสดิการต่างๆ ลงเขาอาจได้น้อยกว่า

รายได้ที่เคยได้รับ ในเรื่องนี้เราไม่เคยโต้แย้ง เห็นด้วยที่จะ

มีการปรับอย่างสมเหตุสมผล แต่ต้องประกาศให้ชัดว่าเป็น

ค่าจ้างหรือรายได้ขั้นต�่า รวมถึงการปรับขึ้นจะต้องควบคู่

ไปกับการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตที่ต้องไป ด้วยกันด้วย”

นายไพรัช กล่าวว่า นอกจากทั้ง 4 ประเด็นส�าคัญ

ที่ กกร.ได้มีการหารือกันแล้ว ยังมีประเด็นเรื่องการต่อ

ต้านคอรฺรัปชันที่เป็นหนึ่งในเรื่องส�าคัญจะได้น�า เสนอ

ในเวที กรอ.ในโอกาสต่อไป อย่างไรก็ดีที่ประชุมยังได้

แสดงความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์น�้าท่วมครั้ง รุนแรง

ที่จะกระทบต่อเศรษฐกิจเพราะผลผลิตทางการเกษตรได้

รับความเสียหาย กระทบต่อรายได้ของเกษตรกร และผู้ท่ี

อยู่ในวงจร กระทบต่อภาคการท่องเที่ยวของประเทศ รวม

ถึงภาคบริการที่เกี่ยวเนื่อง เช่น โรงแรม ร้านอาหาร ภาค

การขนส่ง และอ่ืนๆ ขณะที่มีความกังวลใจเรื่องการส่ง

ออกในไตรมาสสุดท้ายของปีนี้ และในปีหน้าที่จะชะลอตัว

รวมถึงกรณีภาครัฐมีโครงการประชานิยมหลายโครงการ

และต้องใช้เม็ดเงินเป็นจ�านวนมาก ซึ่งอาจต้องกู ้และมี

การสร้างหนี้เกรงจะกระทบท�าให้เกิดวิกฤติหนี้สาธารณะ

เหมือนในต่างประเทศ

จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับท่ี 2,676 6 - 8 ตุลาคม พ.ศ.

2554

สถานการณ์ด้านการค้า

สั่งตัดเงินคงคลังเหี้ยน

“ธีระชัย” ห่วง เงินคงคลังล้น 6 แสนล้านบาท สั่ง

ลดเหลือแค่ 1 แสนล้าน พร้อมท้ังเบรกกู้เงินใหม่ ระบุ

เงินค้างในมือมากก็ไม่ดี เงินสดขาดมือไปก็อันตราย ขณะ

ท่ีดอกเบ้ียจ่ายสูงลิบกลายเป็นภาระรัฐบาล สั่งหาทางลด

หนี้ด่วน

นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รัฐมนตรีว ่าการ

กระทรวงการคลัง กล่าว ว่า วานนี้มีการประชุมผู้บริหาร

ระดับสูงกระทรวงการคลัง มี 2 เรื่องท่ีส�าคัญ เรื่องแรก

เกี่ยวกับการติดตามฐานะการคลังท่ีจะตามกันทุกเดือน

ซึ่งเห็นได้ชัดว่าในเวลานี้ฐานะการคลัง การเบิกจ่ายงบ

ประมาณปี 2554 เป็นไปตามเป้า แต่ว่าลักษณะการท�าตัว

เลขส�าหรับงบลงทุนปรากฏว่าใช้แนวเดิม คือตั้งงบลงทุน

ไว้แบบหลวมๆ และตั้งเป้าเบิกจ่ายท่ี 72-73% เท่านั้น

ส่วน ของการบริหารงบประมาณมีปัญหาอยู่อย่างหนึ่ง

คือ ปรากฏว่ายอดเงินคงคลังในเวลานี้สูงมาก ปัญหาส่วน

หนึ่งเกิดจากการกู้ยืมไปท�าโครงการไทยเข้มแข็ง ซึ่งบาง

ส่วนยังไม่ได้ใช้ และเวลานี้กลายเป็นว่าเป็นเงินค้างอยู ่

ในเงินคงคลัง โดยท่ีคาดการณ์ว่าในปี 2554 จะค้างถึง

5 แสนล้านบาท และเป็น 6 แสนล้านบาทในปี 2555

ท�าให้มีภาระจ่ายดอกเบ้ียมาก แต่ฝั ่งเงินสดไม่ได้รับผล

ตอบแทน ซึ่งมองว่าไม่จ�าเป็นต้องมีอยู ่ 5-6 แสนล้าน

บาท มี 1-2 แสนล้านบาทก็มากไปแล้ว

“ผม จึงให้เจ้าหน้าท่ีไปศึกษาว่าท�ายังไงถึงบริหารตรง

นี้ลดยอดหนี้ ช�าระหนี้คืนได้บ้างจะได้ประหยัดดอกเบี้ย

เพราะเวลานี้เรามีเงินสดสูงเกินไป และตรงนี้อาจท�าให้

คนเข้าใจผิดว่าเรามีฐานะการคลังเข้มแข็งจริงๆ แต่ความ

จริงแล้วเป็นเงินกู้เข้ามาแล้วใช้ไม่ทันและเป็นภาระ” นาย

ธีระชัย กล่าว

ส่วน จะต้องตัดโครงการหรือไม่ก็เป็นอีกเรื่อง แต่

ปัญหาคือการบริหารเงินสด เตือนไปว่าการบริหารวางแผน

งบประมาณมีจุดอ่อน หากวางแผนดีๆ เงินควรเหลือไม่

เกิน 1 แสนล้านบาท หากมีเงินเหลือมากๆ ก็ไม่ควรรีบกู้

ตรงนี้จะกลายเป็นว่าท่ีผ่านมาการบริหารมีจุดอ่อน ท�าให้

มีเงินค้างในมือ เงินค้างในมือมากก็ไม่ดี เงินสดขาดมือ

ไปก็อันตราย

ส�าหรับ เรื่องที่สอง คือ การแก้ปัญหาอุทกภัย โดยเน้น

ในพื้นที่ที่กระทรวงการคลังรับผิดชอบโดยตรง คือ จังหวัด

ลพบุรี เพื่อให้มีการประสานงานแก้ปัญหาต่อเนื่อง แต่

ว่านอกจากนั้นยังได้นัดสมาคมธนาคารไทย ธ.ก.ส. และ

ออมสิน มาดูว่าธนาคารพาณิชย์ไหนจะมีมาตรการช่วย

เหลือทางการในการแก้ปัญหาอะไรได้ บ้าง

โดย จะมีการส�ารวจพื้นที่ภาคใต้ซึ่งจะมีจังหวะเวลาไม่

เกิน 1-2 เดือนท่ีฝนจะลงไปภาคใต้ ก็จะมีการส�ารวจว่า

พื้นท่ีตรงไหนมีความเสี่ยงสูง เพ่ือจะเอาอุปกรณ์ฉุกเฉินไป

ฝังตัวไว้ตามสาขาของธนาคารต่างๆ

จากหนังสือพิมพ์ข่าวหุ้น ฉบับวันที่ 4 ตุลาคม 2554

Page 9: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

16 17

โอบามา ชงสภา ไฟเขียว เอฟทีเอ 3 ชาติ

นายบารัก โอบามา ประธานาธิบดี

สหรัฐฯ เตรียมย่ืนข้อตกลงการค้าเสรี(FTA) กับ 3 ประเทศ

คือ เกาหลีใต้ โคลัมเบีย และปานามา เข้าสู่การพิจารณา

ของสภาคองเกรสในสัปดาห์นี้ ซึ่งถือเป็นขั้นตอนสุดท้าย

ของการท�าข้อตกลงเอฟทีเอทั้ง 3 ฉบับ ในกลางเดือน

ตุลาคม 2554 หลังจากที่มีการต่อสู้ทางการเมืองเพื่อผลัก

ดันข้อตกลงนี้มานานถึง 5 ปีเต็ม

ทั้งนี้ ข้อตกลงเอฟทีเอดังกล่าว

จะช่วยเพิ่มมูลค่าการส่งออกของสหรัฐฯ ปีละ 13 ล้าน

ดอลลาร์สหรัฐ และยังช่วยเอื้อประโยชน์ต่อการเกษตร

ของสหรัฐฯ เพราะสามารถลดและยกเลิกการจัดเก็บ

ภาษีศุลกากรแก่สินค้าที่สหรัฐส่งออก โดยเฉพาะสินค้า

โภคภัณฑ์ เครื่องจักร และเคมีภัณฑ์ต่างๆ แม้ว่าข้อตกลง

ดังกล่าว จะท�าให้เกิดความท้าทายใหม่ๆต่ออุตสาหกรรม

สิ่งทอ อิเลคทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมดอกไม้ของสหรัฐฯ

ก็ตาม

ข้อตกลงเอฟทีเอ ระหว่าง

สหรัฐฯและเกาหลีใต้ ยังช่วยท�าให้มูลค่าการส่งออกสินค้า

ประเภทฟาร์ม จากสหรัฐฯ ไปยังเกาหลีใต้ เพิ่มขึ้น 2

เท่า หรือมีมูลค่าถึง 3.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี ส่วน

ใหญ่มาจากกลุ่มสินค้าประเภทธัญพืช ดอกไม้ ผัก เนื้อ

หมู และไวน์

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 04 / 10 / 2554

มังกรตั้งเป้าผลิตบรรจุภันฑ์ที่หนึ่งของโลกภายในปี 54

จากรายงาน Paper and

Packaging Sector M&A Update ซึ่งออกโดย Cata-

lysts Corporate Finance ระบุว่า จีนมีแนวโน้มจะเพิ่ม

ส่วนแบ่งตลาดโลกในด้านบรรจุภัณฑ์อย่างก้าวกระโดดใน

ปี 2555 โดยจีนตั้งเป้าหมายจะเป็นผู้ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์

รายใหญ่ที่สุดในโลกภายในปี เดียวกัน ซึ่งยิ่งจะท�าให้เกิด

การแข่งขันและเปลี่ยนแรงกระตุ้นของตลาดโลก

จากข้อมูลของสมาคมบรรจุภัณฑ์จีนซึ่งเป็นประเทศผู้

ผลิตบรรจุภัณฑ์รายใหญ่ เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก

สหรัฐฯ ระบุว่า ในปี 2554 จีนมีผลผลิตอุตสาหกรรม

มวลรวม 183.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การขยายตัวอย่าง

รวดเร็วของภาคบรรจุภัณฑ์ของจีนส่วนหนึ่งมาจากภาค

อาหารบรรจุ หีบห่อซึ่งเพิ่มข้ึนเป็นปีละ 20% ในช่วงหลาย

ปีมานี้

นอกจากนี้ตามรายงานยังระบุว่าเกิดการลงทุนในด้าน

บรรจุภัณฑ์ในตุรกี และประเทศในกลุ่ม BRIC (ประกอบ

ด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน)

ทั้ง นี้ สาเหตุที่เกิดการลงทุนด้านบรรจุภัณฑ์ใน

ประเทศกลุ่ม BRIC เนื่องจากเป็นกลุ่มประเทศท่ีมีรายได้

สุทธิและภาคการบริโภคขยายตัว ซึ่งท�าให้กระทบต่อภาค

อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ในสหภาพยุโรป

Richard Sander หุ้นส่วนของ Catalyst Cor-

porate Finance กล่าวว่าอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ส่วน

ใหญ่มีความสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์มวลรวมภาย ในประเทศ

(GDP) จึงเห็นได้ว ่าภาคบรรจุภัณฑ์จะมีการขยายตัว

มากในประเทศที่มีอัตราการเจริญ เติบโตของผู ้บริโภค

แข็งแกร่งท่ีสุดนั่นเอง

ที่มา :มกอช. (Food Production Daily) วันที่ 05 / 10 / 2554

จีนรุกลงทุนด้านอาหารและเกษตรในลาตินอเมริกา

เมื่อ เดือนพฤษภาคม 2553 – พฤษภาคม 2554

จีนได้ลงทุนในลาตินอเมริกากว่า 15,600 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯ หรือเพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่าเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน

ของปีท่ีแล้ว โดยเป็นการลงทุนในบราซิล 60 % และใน

อาร์เจนตินา 40 %

ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา การลงทุนของจีนในลาตินอ

เมริกาประมาณ 70 % เป็นการลงทุนด้านพลังงานและ

เหมืองแร่ แต่ปัจจุบัน จีนเน้นการลงทุนด้านการเกษตร

ขนาดใหญ่ การท�าฟาร์มปศุสัตว์ในอาร์เจนตินา เพราะจีน

ต้องการแก้ไขปัญหาด้านการขาดแคลนอาหารและวัตถุดิบ

อาหารสัตว์ เนื่องจากเศรษฐกิจจีนเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็น

ผลให้ความต้องการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพและเนื้อสัตว์

เพิ่มขึ้น ขณะเดียวกัน การขยายตัวของเมืองท�าให้พื้นที่การ

เพาะปลูกลดลง ดังนั้นผลผลิตทางการเกษตรในจีนจึงเริ่ม

ไม่เพียงพอในการผลิตอาหาร ท�าให้ราคาอาหารเพิ่มขึ้น

มากตั้งแต่ปี 2551

ที่มา : Agri-Business Weekly วันที่ 05 / 10 / 2554

Page 10: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

18 19

คาดปี 55 ไทยส่งออกน�้าตาลสูงขึ้น

คาดว่าไทยจะส่งออกน�้าตาล

เพ่ิมข้ึนเป็น 8.7 ล้านตันในฤดูการเก็บเกี่ยวใหม่ที่ จะเริ่ม

เดือนธันวาคม 2554 ขณะที่คาดว่าส่งออก 7.4 ล้านตันใน

ฤดูเก็บเกี่ยวปัจจุบัน ท้ังนี้กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA)

คาดการณ์ว่าไทยมีผลผลิตน�้าตาลเพิ่มขึ้นเป็น 10.17 ล้าน

ตันในฤดูเก็บเกี่ยวหน้าเมื่อเทียบกับฤดูเกี่ยวปัจจุบันซึ่งมี

ปริมาณ 9.66 ล้านตัน

ขณะที่ราคาน�้าตาลทั่วโลกลดลง

ในช่วงน้ี คาดว่าเป็นผลจากผลผลิตผักกาดหวาน (Sugar

beet) เพิ่มสูงขึ้นในสหภาพยุโรป ซึ่งในปี 2554 อาจมีไม่

ต�่ากว่า 18 ล้านตันนี้ จากเดิมในปี 2553 มี 15.4 ล้านตัน

ที่มา : Bangkok Post (06-10-54)

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 11: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 364 Oct- 1c Oct 2011

20 21

อัตราแลกเปลี่ยน

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

21

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 12: Weekly Brief_4 Oct - 10 Oct 11_Issue 36

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

4 Oct- 1c Oct 2011

22

เสนอขอ้คดิเห็น/ขอ้เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM