10
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน 1 สตรีกับการสงเสริมการเกษตร บทนํา แตเดิมสตรีมีบทบาทในดานการผลิตอาหารในครัวเรือน กิจกรรมที่เกี่ยวของเปนกิจกรรมหลังการ เก็ บเกี่ยวและการเลี้ยงสัตว แต ภายหลังดวยสภาพการที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในดานประชากร ขอจํากัด ในดานที่ดิน การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ การทีทรัพยากรและสิ่งแวดลอมถูกทําลาย สงผลใหพื้นทีในชนบทเกิดความยากจน ผูชายซึ่งโดยสวนใหญเปนหัวหนาครอบครัวตองเคลื่อนยายออกจากบาน เพื่อหารายได มาจุนเจือครอบครัว สภาพการณที่กลาวมานี้พบเห็นไดทั่วไปในประเทศกําลังพั ฒนา ประเทศไทยก็เชนเดียวกัน สังคมไทยสมัยดั้งเดิมบุรุษมีสถานภาพและมีโอกาสสูงกวาสตรีในแทบ ทุกดาน นับตั้งแตสถานภาพทางครอบครัวและสถานภาพทางสังคม สตรีจึงถูกมองวาเปนเพียง ชางเทาหลังทีมีหนาที่ใหกําเนิดบุตรธิดาคอยดูแลบานดูแลครอบครัว โดยมิไดมีโอกาสแสดงควาคิดเห็น ในเรื่องที่มีความสําคัญต อครอบรัวและประเทศชาติ เหมือนเชนสตรีในปจจุบัน ที่มีโอกาสกาว เขามา มีความสําคัญในทุกเรื่อง รวมทั้งตองรับภาระหนักทั้งงานในบานและนอกบาน ไมเฉพาะสตรีในเมืองหรือ ในภาคธุรกิจเทานั้น สตรีในชนบทหลายครอบครัวเชนกันที่ตองรับหนาที่ในการดูแลบาน ดูแลไรนาไป พรอมๆกัน ซึ่งหากพิจารณาจากสถิติจะพบวามีสัดสวนสตรีไทยที่อยูในวัยทํางานรอยละ 50 ของกําลัง แรงงานทั้งประเทศ โดยในจํานวนนี้รอยละ 80 อยูในชนบท และเกือบครึ่งทํางานอยูในภาคเกษตรกรรม ดังนั้นการสงเสริมการเกษตรจึงไมสามารถที่จะละเลยการใหความสําคัญ และพัฒนาสตรีเกษตรใหมี ความเจริญทัดเทียมสตรีในภาคอื่นได บทบาทสตรีนับตั้งแตอดีตจนปจจุบัน บทบาทของสตรีไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาอยางตอเนื่อง ดังตอไปนี- สมัยสุโขทัย สถานภาพบทบาทของสตรีในครอบครัวสมัยสุโขทัย พบวา มีประเพณี การนับถือระบบอาวุโส ดังนั้นจึงให ความสําคัญแกเพศหญิงและเพศชายเทาเทียมกัน แตก็ยังมี ความแตกตางกัน ระหวางครอบครัวชั้นสูงและครอบครัวคนธรรมดา คือบุตรสาวในครอบครัวชั้นสูง สมัยสุโขทัย นอกจากจะไดเรียนวิชาการบานการเรือน เพื่อเตรียมพรอมสําหรับการเปนภรรยาที่ดีแลว ยังมีโอกาสไดเรียนวิ ชาอื่นๆเชน ภาษาไทย ภาษาสันสกฤต รอยกลอง โดยมีบิดาเปนผูสอน ซึ่งผิดกับ ครอบครัวคนธรรมดาที่ไมมีโอกาสไดเรียนหนังสือ เพราะไมมีความจําเปนในการนําไปประกอบอาชีพ ประกอบกับการเรียนหนังสือตองไปเรียนที่วัด และหญิงสาวในสมัยสุโขทัยมักเขาพิธีแตงงานตั้งแต อายุยังนอยทั้งสิ้น ดังนั้นผูที่จะคุมครองผูหญิงตอจากบิดามารดาคือ สามี ซึ่งในสมัยนั้นสามารถมีภรรยา ไดหลายคน แตผูชายชาวชนบทนิยมมีภรรยาเพียงคนเดียว เนื่องจากฐานะทางเศรษฐกิจไมอํานวย ภรรยาในครอบครัวชาวบานทั่วไป จึงตองชวยงานในไรนาชวยสามีทํามาหากิ จึงมีบทบาทในการ ตัดสินใจและจัดการงานในครอบครัวมากกวาภรรยาในชนชั้นสูง ดังนั้นจะเห็นไดวาสตรีมีบทบาทในดาน การเกษตร มาตั้งแตสมัยสุโขทัยดวยเชนกัน

Women in agriculture

Embed Size (px)

DESCRIPTION

บทบาทของสตรีในภาคการเกษตร

Citation preview

Page 1: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

1

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร

บทนํา

แตเดิมสตรีมีบทบาทในดานการผลิตอาหารในครัวเรือน กิจกรรมที่เกี่ยวของเปนกิจกรรมหลังการ เก็บเกี่ยวและการเลี้ยงสัตว แตภายหลังดวยสภาพการที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในดานประชากร ขอจํากัด ในดานที่ดิน การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ การที่ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมถูกทําลาย สงผลใหพื้นที่ ในชนบทเกิดความยากจน ผูชายซึ่งโดยสวนใหญเปนหัวหนาครอบครัวตองเคลื่อนยายออกจากบาน เพื่อหารายได มาจุนเจือครอบครัว สภาพการณที่กลาวมานี้พบเห็นไดทั่วไปในประเทศกําลังพัฒนา

ประเทศไทยก็เชนเดียวกัน สังคมไทยสมัยดั้งเดิมบุรุษมีสถานภาพและมีโอกาสสูงกวาสตรีในแทบ ทุกดาน นับตั้งแตสถานภาพทางครอบครัวและสถานภาพทางสังคม สตรีจึงถูกมองวาเปนเพียง ชางเทาหลังที่มีหนาที่ใหกําเนิดบุตรธิดาคอยดูแลบานดูแลครอบครัว โดยมิไดมีโอกาสแสดงควาคิดเห็น ในเรื่องที่มีความสําคัญตอครอบครัวและประเทศชาติเหมือนเชนสตรีในปจจุบัน ที่มีโอกาสกาว เขามา มีความสําคัญในทุกเรื่อง รวมทั้งตองรับภาระหนักทั้งงานในบานและนอกบาน ไมเฉพาะสตรีในเมืองหรือ ในภาคธุรกิจเทานั้น สตรีในชนบทหลายครอบครัวเชนกันที่ตองรับหนาที่ในการดูแลบาน ดูแลไรนาไป พรอมๆกัน ซึ่งหากพิจารณาจากสถิติจะพบวามีสัดสวนสตรีไทยที่อยูในวัยทํางานรอยละ 50 ของกําลัง แรงงานทั้งประเทศ โดยในจํานวนนี้รอยละ 80 อยูในชนบท และเกือบครึ่งทํางานอยูในภาคเกษตรกรรม ดังนั้นการสงเสริมการเกษตรจึงไมสามารถที่จะละเลยการใหความสําคัญ และพัฒนาสตรีเกษตรใหมี ความเจริญทัดเทียมสตรีในภาคอื่นได บทบาทสตรีนับตั้งแตอดีตจนปจจุบัน

บทบาทของสตรีไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาอยางตอเนื่อง ดังตอไปนี้ - สมัยสุโขทัย สถานภาพบทบาทของสตรีในครอบครัวสมัยสุโขทัย พบวา มีประเพณี การนับถือระบบอาวุโส ดังนั้นจึงใหความสําคัญแกเพศหญิงและเพศชายเทาเทียมกัน แตก็ยังมี ความแตกตางกัน ระหวางครอบครัวชั้นสูงและครอบครัวคนธรรมดา คือบุตรสาวในครอบครัวชั้นสูง สมัยสุโขทัย นอกจากจะไดเรียนวิชาการบานการเรือน เพื่อเตรียมพรอมสําหรับการเปนภรรยาที่ดีแลว ยังมีโอกาสไดเรียนวิชาอื่นๆเชน ภาษาไทย ภาษาสันสกฤต รอยกลอง โดยมีบิดาเปนผูสอน ซึ่งผิดกับ ครอบครัวคนธรรมดาที่ไมมีโอกาสไดเรียนหนังสือ เพราะไมมีความจําเปนในการนําไปประกอบอาชีพ ประกอบกับการเรียนหนังสือตองไปเรียนที่วัด และหญิงสาวในสมัยสุโขทัยมักเขาพิธีแตงงานตั้งแต อายุยังนอยทั้งสิ้น ดังนั้นผูที่จะคุมครองผูหญิงตอจากบิดามารดาคือ สามี ซึ่งในสมัยนั้นสามารถมีภรรยา ไดหลายคน แตผูชายชาวชนบทนิยมมีภรรยาเพียงคนเดียว เนื่องจากฐานะทางเศรษฐกิจไมอํานวย ภรรยาในครอบครัวชาวบานทั่วไป จึงตองชวยงานในไรนาชวยสามีทํามาหากิน จึงมีบทบาทในการ ตัดสินใจและจัดการงานในครอบครัวมากกวาภรรยาในชนชั้นสูง ดังนั้นจะเห็นไดวาสตรีมีบทบาทในดาน การเกษตร มาตั้งแตสมัยสุโขทัยดวยเชนกัน

Page 2: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

2

- สมัยอยุธยา วัฒนธรรมการมีทาสทําใหสถานภาพของสตรีในสมัยอยุธยา ตกต่ําลง ไปอีก พอแมสามารถขายลูกสาวใหเปนทาสคนอื่นได ในขณะที่สตรีชนชั้นสูงก็จะถูกจํากัด ใหแตงงาน เฉพาะกับผูมีฐานะชาติตระกูลใกลเคียงกันเทานั้น และยังตองมีหนาที่คอยปรนนิบัติสามีอยางหนักอีกดวย อยางไรก็ตามสมัยอยุธยาบุรุษตองออกไปอยูเวรรับราชการเปนเวลาหนึ่งทุกป ทําใหภรรยาตองแบกภาระ ของครอบครัว(จึงมีการทําการคาขายเล็กๆนอยๆ) หาขาวปลาสงใหสามียามเขาเวร ทําใหในทางปฏิบัติ ผูหญิงมีฐานะเทาเทียมกับผูชาย สวนเรื่องการเมืองการปกครองนั้นจากประวัติศาสตรพบวาหญิงไทย สมัยอยุธยา เขามามีบทบาทมากขึ้น ยกตัวอยางเชน สมเด็จพระศรีสุริโยทัย เปนตน

- สมัยรัตนโกสินทร (ตอนตน) สถานภาพของสตรีในสมัยนี้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง เชน ทางดานการเลือกคูครอง สตรีสมยันี้เริ่มมีสิทธิเลือกคูครองไดดวยตนเอง (อําแดงเหมือนไดทําฎีกาขอความ เปนธรรมในเรื่องนี้) สมัยรัชกาลที่ 6 ประกาศใหยอมรับการแตงงานแบบผัวเดียวเมียเดียว ทางดาน การศึกษา สมัยรัชกาลที่ 4 ไดมีการตั้งโรงเรียนสตรีเปนแหงแรกชื่อ โรงเรียน “สุนันทาลัย” เพื่อใหการ ศึกษาแกสตรีอยางเปนทางการในระบบโรงเรียน (นักเรียนสวนมากเปนบุตรหลานของเจานาย) ตอมาสมัย รัชกาลที่ 6 ไดมีพระราชบัญญัติบังคับใหเด็กชายหญิงอายุตั้งแต 7-14 ป ทุกคนตองเขาเรียนชั้น ประถมศึกษาภาคบังคับ การศึกษาจึงทําใหสตรีไทยเริ่มตื่นตัวในการประกอบอาชีพตางๆมากขึ้น การ ไดรับวิชาความรูทําใหสตรีไทยเริ่มออกไปทํางานนอกบาน ประกอบอาชีพตางๆชวยครอบครัวแทน ที่จะมีบทบาทแตเพียงเปนแมบานอยางเดียว สวนทางดานการเมือง ป พ.ศ.2475 รัฐธรรมนูญฉบับแรก ไดใหสิทธิแกสตรีไทย โดยบัญญัติใหหญิงชายมีสิทธิเทาเทียมกันในการใชสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และ มีสิทธิเลือกตั้งได ทําใหสตรีเขาไปมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น ป พ.ศ.2492 สมาชิกสภา ผูแทนราษฎรหญิงคนแรกไดรับการเลือกตั้ง คือ คุณอรพินท ไชยกาล จังหวัดอุบลราชธานี

- สมัยปจจุบัน บุตรสาวในครอบครัวปจจุบันไดรับการเลี้ยงดูเทียบเทากับบุตรชาย และนิยมใหบุตรสาวเลือกคูครองดวยตนเอง ทางดานการศึกษาแมวาสตรีในเมือง จะมีการศึกษา มากกวาในชนบท แตปจจุบันความสามารถในการอานออกเขียนไดของสตรีก็มีมากขึ้น เพราะมีการ กําหนดใหมีการศึกษาภาคบังคับ สวนเรื่องการทํางานนั้นจะเห็นไดชัดมากขึ้นวาสตรีเขามามีบทบาทในการชวยเหลือครอบครัวมากขึ้น สตรี สวนใหญในเมืองตองออกไปทํางานนอกบาน นอกเหนือจากการเปนแมบานดูแลบาน สวนสตรีในชนบท ก็มีบทบาทในการทําไรทํานามาตั้งแตสมัยโบราณ นอกจากนี้บางรายยังตองอพยพเขามาทํางาน ในเมือง เพื่อชวยเหลือครอบครัว นโยบายและแผนพัฒนาสตรีไทย

หากพิจารณาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จะพบวา นับตั้งแตประเทศไทย เริ่มใช แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับแรกในป พ.ศ.2504 จนกระทั่งสิ้นสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 ในป พ.ศ.2519 นั้น ไมไดมีการระบุถึงเรื่องของการพัฒนาสตรีไวอยางชัดเจน แตคาดหวังวาสตรีจะไดรับผลการพัฒนาเชนเดียวกับประชากรกลุมอื่นๆ อยางไรก็ตามการพัฒนาสตรี ก็ไดถูกนํามาพิจารณาในชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แหงชาติฉบับที่ 3 นี้เอง เนื่องจากองคการสหประชาชาติไดกําหนดใหป พ.ศ.2518 เปนปสตรีสากล มีการจัดประชุมระดับโลกที่เม็กซิโก

Page 3: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

3

ซึ่งผลจากการประชุมไดกําหนดใหในรอบสิบปเปนทศวรรษแหงการพัฒนาสตรี (ป พ.ศ.2518-2528) และจากการประชุม ครั้งนี้ทําใหมีความตื่นตัวในการพัฒนาสตรีมากขึ้นรวมทั้งในประเทศไทยดวย การ พัฒนาที่เห็นไดในชวงนี้คือ การแทรกความรูเรื่องการวางแผนครอบครัว การดูแลบุตร ดูแลบานเรือน การฝกวิชาชีพระยะสั้น และในชวงของแผนพัฒนาฉบับที่ 3 เชนเดียวกัน ที่มีแนวโนมวาการยอมรับ ในบทบาทของสตรีมีมากขึ้น ดังจะเห็นไดวาสตรีไดรับเลือกตั้งใหเขามามีบทบาทในดานตางๆมากขึ้น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 ไดมีการนําปญหาที่เกิดขึ้นจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 มาปรับปรุงเปนสาระสําคัญในดานการพัฒนาสตรี โดยแยกไวเปนหัวขอเฉพาะเรื่องบทบาทสตรี ในการพัฒนาประเทศ และไดมีการสรุปใหเห็นสภาพปญหาและเสนอแนวทางแกไขออกเปน 3 ดาน คือ 1) ดานการศึกษา ไดมีการจัดการศึกษาเพิ่มเติม การศึกษาผูใหญ การจัดอบรมทักษะตางๆ 2) ดานเศรษฐกิจ ไดมีการออกระเบียบรับรองสิทธิเทาเทียมกันระหวางขาราชการชาย-หญิงในการเลื่อนขั้นใน ระบบราชการ และกระตุนใหมีการจายคาจางและความมั่นคงในการทํางานของอาชีพอื่น ๆ ใหมี ความเทาเทียมกันกับเพศชาย และ 3) ดานกฎหมาย ไดมีการเสนอแกไขกฎหมายที่ขัดตอสิทธิ เสมอภาคของสตร ี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 แผนพัฒนาฉบับนี้ไดมีการกําหนดใหสตรี อยูในกลุมเปาหมายพิเศษในการพัฒนาสังคม ดังนั้นแผนพัฒนาฉบับนี้จึงมีเรื่องของการพัฒนาสตรี ที่ปรากฏเดนชัดกวาแผนพัฒนาฉบับที่ผานมา มีการระบุถึงสภาพปญหา เปาหมาย แนวนโยบาย และมาตรการไวอยางละเอียด ซึ่งสภาพปญหาที่ระบุไวไดแก ดานแรงงาน (ปญหา : แรงงานสตรีมีการ ศึกษาต่ํา ไมไดรับการยอมรับถูกประเมินคาดอยกวา) ดานการศึกษา( ปญหา : สตรีมีโอกาสนอยกวาบุรุษ ทําใหการศึกษาต่ํากวา) ดานสาธารณสุข(ปญหา : การมีบุตรมาก การดูแลครรภ) ดานสังคม และการเมือง ( ปญหา : สตรียังขาดความตื่นตัวในเรื่องการเมือง) สวนแนวนโยบายและมาตรการ แผนพัฒนาฯฉบับที่ 5 ไดมีการเสนอไวหลายแนวทาง ไดแก นโยบายเรงรัดปรับปรุงคุณภาพและ ทักษะในการทํางานของสตรี เรงรัดในเรื่องการขยายการศึกษาภาคบังคับ ใหความรูและบริการดาน สุขภาพอนามัยโภชนาการ (กระจายบริการสาธารณสุขโดยไมคิดคาบริการ สงเสริมใหสตรีมีบทบาท ที่ถูกตอง ในการเผยแพรกิจกรรมดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังสงเสริมใหเอกชน เขามามีสวนรวม ในการดําเนินงานพัฒนาสตรี และไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการประสานงานระดับ ชาติในเรื่องเกี่ยวกับสตรี รวมทั้งมีการประกาศใชแผนพัฒนาสตรีระยะยาว 20 ป(พ.ศ.2525-2544) โดยระบุถึงการแกปญหาของสตรี 6 กลุม คือ สตรีในภาคเกษตร สตรีใชแรงงานนอกภาคเกษตร สตรีภาคราชการ/ธุรกิจ สตรีในธุรกิจบริการ แมชี และสตรีในคุก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฯฉบับที่6 มิไดระบุเรื่องของการพัฒนาสตรีแยกไวโดย เฉพาะ แตก็ไดมีสวนยอยคือแผนงานบริหารและพัฒนาที่ไดระบุถึงการดําเนินการแกไขปญหาการใชแรง -งานเด็กและสตรี โดยมุงขจัดความเหลื่อมล้ําในโอกาส ปญหาและอุปสรรคการมีงานทําและขจัดการ เลือกปฏิบัติ สําหรับแรงงานหญิงเรื่องคาจาง สภาพการทํางาน และการพัฒนาฝมือแรงงาน รวมทั้งการปรับปรุงการใหความชวยเหลือแกแรงงานหญิงที่เกิดจากการหลอกลวงหรือบังคับทํางานที่ฝน ความตองการ

Page 4: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

4

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฯฉบับที่ 7 มีการกลาวถึงสตรีไวในสวนที่ 4 ของแผน คือแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม มีขอความที่เกี่ยวของ คือการสนับสนุน บทบาทของสตรีในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ใหโอกาสสตรีไดพัฒนาตามศักยภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขจัดการเลือกปฏิบัติทางเพศ โดยการปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบใหเหมาะสม และมีการบังคับใชอยางจริงจัง รวมทั้งพัฒนาคานิยมของสังคมไทยใหยอมรับคุณคาและความ เทาเทียมกันของสตรี จัดใหมีสวัสดิการที่จะเอื้ออํานวยและชวยเหลือแกสตรีดอยโอกาส มีการคุมครอง สวัสดิภาพสรางความมั่นคงในการทํางาน ฝกอบรมและเพิ่มพูนทกัษะในการประกอบอาชีพใหแกสตรี และเรงรัดการปราบโสเภณี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฯฉบับที่ 8 ไดกลาวถึงการพัฒนาสตรีไวใน 2 สวน คือสวนของการพัฒนาศักยภาพของคนไทย ซึ่งไดพูดถึงการพัฒนาประชากรกลุมดอยโอกาส เด็กและสตรี โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่อยูในบริการธุรกิจทางเพศ และถูกประทุษรายทารุณกรรม โดยมีการกําหนด มาตรการปองกันและแกปญหาธุรกิจบริการทางเพศ มีการแบงเบาภาระในการวางแผนครอบครัว วิธีตางๆ ใหเทาเทียมกันระหวางหญิงชาย อีกสวนที่มีการกลาวถึงคือการพัฒนาสภาพแวดลอม ใหสนับสนุนการพัฒนาคน โดยในสวนนี้ไดพูดถึงการพัฒนาสตรีใหมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจ ทั้งทางเศรษฐกิจสังคม การเมืองการปกครองในทุกระดับเสริมสรางใหมีการรวมกลุมกัน ของสตรีให มากขึ้น ใหสตรีไดรับการศึกษา อบรม ทักษะในทุกดาน ใหมีอาชีพทัดเทียมเพศตรงขาม รวมทั้งใหมีการปรับปรุงกฎหมายที่เลือกปฏิบัติตอสตรีทุกรูปแบบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 ในสวนของยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคน และการคุมครองทางสังคม ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาคนไทยทุกคน ใหมีคุณภาพ มีสุขภาพแข็งแรง เปนคนเกง คนดี มีระเบียบวินัย รูหนาที่มีความซื่อสัตยสุจริต รับผิดชอบตอสังคม สวนรวมและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยแนวทางในการพัฒนาจะตองคํานึงถึงปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง จากรางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่10 พบวามีการเนน 6 ประเด็นหลักในการ พัฒนาสตรี คือ การปรับเปลี่ยนเจตคติสังคมไทยที่มีตอผูหญิง การสนับสนุนใหโอกาส ผูหญิงมีสวนรวม ทางการเมืองมากขึ้น การเสริมสุขภาวะสตรี การเสริมความมั่นคงในชีวิตของสตรี การสงเสริมการมี สวนรวมทางเศรษฐกิจและความกาวหนาของสตรีในทุกดาน เมื่อพิจารณาจากแผนพัฒนาฯทั้ง 10 ฉบับ พบวาสวนใหญเปนการชี้สภาพปญหา และเสนอแนวทางแกไขอยางกวางๆ ยังมิไดมีมาตรการแกไขหรือการดําเนินการอยางจริงจัง ที่จะ พยายามใหสตรีมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศมากกวาที่เปนอยูในปจจุบัน สวนในดานการสงเสริม การเกษตรนั้น ถึงแมวาปจจุบันจะใหความสําคัญโดยจัดใหสตรีเปนหนึ่งในกลุมเปาหมาย ก็ตามแตยังคง พบวากลุมเปาหมายหลักยังคงมุงเนนไปที่เกษตรกรชายอยูนั่นเอง องคกรของรัฐที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสตรี/การพัฒนาสตรีเกษตร คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาติ(กสส.) เปนองคกรหลักระดับชาติที่มี ภารกิจ ในดานสตรีดังนี้

Page 5: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

5

§ เสนอนโยบายและแผนหลักเกี่ยวกับการสงเสริมกิจกรรม บทบาทและสถานภาพของสตรี ตอคณะรัฐมนตรี และกําหนดแนวทางปฏิบัติตามนโยบายและแผนงานหลัก

§ ประสาน ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงานหลัก § เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับผลกระทบของกฎหมาย นโยบาย แผน-งาน

และโครงการตางๆของหนวยงานรัฐที่มีผลตอความเสมอภาคระหวางหญิงชาย การคุมครอง และการ มีสวนรวมของสตรีในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและการเมือง

§ เสนอความเห็นขอสังเกตเกี่ยวกับกลไก มาตรการตางๆ และการเสนอใหมีกฎหมายหรือ แกไขกฎหมายในการสงเสริมกิจกรรม บทบาทและสถานภาพสตร ี

§ สงเสริม สนับสนุน และชวยเหลือกิจกรรม ของหนวยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เริ่มดําเนินการพัฒนาสตรีในระยะแรก (พ.ศ.2504-2509) เนนดานคหกรรมศาสตรพื้นฐานทั่ว ๆ ไป เปนการสนับสนุนใหใชเวลาวางหลัง จากการประกอบอาชีพหลัก เพื่อใหนําความรูไปพัฒนาสภาพความเปนอยูของครอบครัวใหดีขึ้น ตอมา ในระยะที่ 2 (พ.ศ.2510-2514) เนนใหสตรีรวมกลุมและพัฒนาความเปนผูนํา กรมพัฒนาชุมชน มุงพัฒนาสตรีอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไป โดยจัดตั้งกลุมสตรีระดับหมูบาน/ตําบล ใหครบทุกทองที่ ทั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนกลุมสตรีในการประกอบอาชีพ และใหสตรีมีบทบาทในการพัฒนาชุมชน โดยมีหนวยงานตางๆใหการสนับสนุน กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดดําเนินงานเกี่ยวกับสตรีครั้งแรก ในป พ.ศ.2511 โดยเนนการสงเสริมดานคหกรรมศาสตรเชนเดียวกัน และไดจัดใหมีเจาหนาที่ เคหกิจเกษตร ทําการสงเสริมใหกับกลุมแมบานและเยาวสตรีของกลุมชาวนาในดานอาหารและ โภชนาการ การตัดเย็บเสื้อผา งานหัตถกรรมตางๆ (การจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกรเกิดขึ้นเปนครั้งแรก ที่หมูบานปาคา อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม เมื่อ พ.ศ.2515) สตรีเกษตร

หมายถึง สตรีในภาคเกษตรกรรม ทั้งที่เปนหัวหนาครัวเรือน และผูที่มีหนาที่โดยตรงในการผลิต ทั้งการผลิตในบาน การผลิตอาหาร ตลอดจนการผลิตในพื้นที่สวนไรนา เพื่อการบริโภคและจําหนาย ตลอดไปจนถึงการผลิตสินคาหัตถกรรม อุตสาหกรรมในครัวเรือน และอุตสาหกรรมอื่นๆในชนบท อนึ่งในการสงเสริมการเกษตรสตรีเกษตรก็เปนอีกกลุมเปาหมายที่มีความสําคัญที่จะตองใหการพัฒนา แนวทางหนึ่งในการพัฒนาคือการสงเสริมใหเกิดการรวมกลุมขึ้นเปนกลุมแมบานเกษตรกร กลุมแมบานเกษตรกร

คือภรรยาเกษตรกร หรือบุตรหลานเพศหญิง ของเกษตรกร ที่พนคุณสมบัติจากการเปนสมาชิก ยุวเกษตรกร ไดรวมตัวกันขึ้นในดานความคิด กําลังกาย กําลังทรัพย และกําลังจิตใจ เพื่อรวมกันทํางานชวยกันแกไขปญหาพัฒนาอาชีพและชีวิตครอบครัวของเกษตรกรในหมูบานหรือตําบล นั้น ใหบรรลุเปาหมายที่วางไว คือการอยูดีกินดี สุขภาพอนามัยสมบูรณและมีความมั่นคงในชีวิต ครอบครัวอันเปนกําลังสําคัญ

Page 6: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

6

ในการชวยพัฒนาทางดานเศรษฐกิจในระดับครัวเรือนของเกษตรกรใหดียิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลสืบเนื่องชวยให เศรษฐกิจ ของชาติดีขึ้นดวย วัตถุประสงคในการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกร

1. เพื่อใหแมบานเกษตรกรรวมตัวกัน เพื่อรวมกันใชพลังความคิด กําลังกาย กําลังทรัพย และจิตใจ ในการปรับปรุงยกระดับฐานะของสังคมเกษตรกรใหดีขึ้นทุกวิถีทาง

2. เพื่อใหแมบานเกษตรกร ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาการเกษตรไดมีความรู ความสามารถดานการเกษตร เชนเดียวกับเกษตรกรชาย

3. เพื่อใหแมบานเกษตรกรมีความรูดานเคหกิจการเกษตร ในการปรับปรุงความเปนอยูของ ครอบครัว อันจะสงผลใหสมาชิกในครอบครัวเกษตรมีพลานามัยที่สมบูรณ

4. เพื่อใหแมบานเกษตรกรใชความรูดานเคหกิจเกษตรเพิ่มรายไดใหแกครอบครัวอีกทาง หนึ่ง

5. เพื่อใหกลุมแมบานเกษตรกรเปนแหลงรับบริการสงเสริมทั้งทางดานการเกษตร เคหกิจเกษตร จากเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรไดอยางรวดเร็ว เพื่อเปนการประหยัดงบประมาณ

6. เพื่อใหกลุมแมบานเกษตรกรชวยกันแกไขปญหาภาวะของสังคมสวนรวม และมีการ ปรับตัวใหเขากับเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว สงผลใหมีความรักถิ่นฐานและ รักอาชีพเกษตรกร ไมทั้งไร-นา อพยพไปประกอบอาชีพอื่น

7. การดําเนินงานของกลุมแมบานเกษตรกรจะตองไมขัดตอนโยบายและการบริหารของทางราชการ และตองไมมีความมุงหมายทางการเมืองหรือเพือ่ประโยชนทางการเมือง วิธีการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกร ในการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกรในระยะแรกๆ เจาหนาที่สงเสริมการเกษตรเปนผูสนับสนุนคอยชวยเหลือ แนะนําใหมีการจัดตั้งขึ้น แตภายหลังเมื่อกลุมแมบานเหลานี้มีความเคลื่อนไหวมีผลงาน กลุมแมบานเกษตรกรอื่นๆในพื้นที่ใกลเคียงจึงไดเห็นคุณประโยชนที่จะไดรับ จึงรวมกันริเริ่มใหมีการจัดตั้งในทองถิ่นของตนบาง ดังนั้นวิธีการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรจึงพอจะแบงได 2 วิธี คือ

1. การจัดตั้งโดยความริเริ่มของเจาหนาที่สงเสริมการเกษตร เจาหนาที่ผูดําเนินงานจะไปทําการประชุม ชี้แจงแกหัวหนารอบครัว แมบาน และ

บุตรหลานของสมาชิกกลุมเกษตรกร ถึงวัตถุประสงคในการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกร ประโยชน ที่สมาชิกจะไดรับ เพื่อเปนการหยั่งเสียงและรับฟงความคิดเห็นและความตองการของสมาชิก พรอมกับ เปดโอกาสใหซักถามขอสงสัยตาง ๆ จนเปนที่แนใจวา แมบานเกษตรกรมีความตั้งใจแนวแน ที่จะจัด ตั้งกลุมขึ้น

แจกใบสมัครแกผูสนใจ อธิบายวิธีการกรอกใบสมัคร และใหเวลาอยางนอยที่สุด 1 สัปดาห เพื่อการตัดสินใจกรอกใบสมัคร พรอมกันตองมีการแจงใหทราบวาจะสงใบสมัครคืนที่ไหน

จัดการประชุมเฉพาะผูสงใบสมัครและผูที่สนใจจะเขารวมประชุมดวย โดยการ ประชุมในครั้งแรกนี้ ควรมีสามาชิก 15 คนเปนอยางนอย โดยการประชุมครั้งนี้เพื่อ

Page 7: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

7

§ ตั้งชื่อกลุมตามความเห็นชอบของสมาชิก § อธิบายหลักและวิธีดําเนินงาน ความสําคัญของงานที่มีตอทองถิ่น

กิจกรรมที่สมาชิกจะเลือกทําไดตามความตองการ และความเหมาะสมของฐานะเศรษฐกิจ § เลือกคณะกรรมการซึ่งมี ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก

และประชาสัมพันธจากสมาชิกในกลุม โดยใหสมาชิกในกลุมเปนคนเลือก § รายงานการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกรไปยังจังหวัดและกรมตอไป

2. การจัดตั้งโดยความริเริ่มของแมบานเกษตรกรเอง การจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกร บางครั้งอาจจะเปนความคิดริเริ่มของแมบานเกษตรกร

กอนที่เจาหนาที่สงเสริมการเกษตรจะไปดําเนินการจัดตั้ง การจัดตั้งกลุมวิธีนี้มักเกิดขึ้นภายในอําเภอ หรือจังหวัด ที่มีการจัดตั้งอยูกอนแลว เมื่อเกษตรกรเห็นถึงประโยชนจึงเกิดความสนใจ ที่จะจัดตั้งกลุม แมบานเกษตรกรในหมูบานของตนเองบาง โดยในขั้นแรกผูริเริ่มอาจมีการจัดประชุมเพื่อพิจารณา วาควรมีการจัดตั้งหรือไม เมื่อตั้งใจแนววาจัดตั้ง ก็แจงใหเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรดําเนินการตอไป สถานภาพการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกร จากรายงานการสํารวจจํานวนกลุมแมบานเกษตรกร ป2541/42 พบวามีกลุมแมบานเกษตรกร จํานวนทั้งสิ้น 13,999 กลุม โดยมีจํานวนสมาชิกรวมทั้งหมด 533,735 คน โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจํานวนกลุมมากที่สุด คือ 4,826 กลุม รองลงมาคือภาคเหนือ มี 4,452 กลุม ภาคใต 2,315กลุม ภาคตะวันออก 1,002 กลุม ภาคตะวันตก 704 กลุม และภาคกลาง 700 กลุม ปญหาในการดําเนินงานพัฒนาสตรี/กลุมสตรเีกษตร 1.ปญหาการขาดงบประมาณดําเนินงาน ทั้งงบเพื่อการพัฒนา และเงินทุนหมุนเวียน ของกลุมแมบานเกษตรกร 2.ปญหาการขาดบุคลากร ขาดบุคลากรที่จะใหคําแนะนําทางวิชาการ คําแนะนําดานการ บริหารกลุม 3.ปญหาความซ้ําซอนในการดําเนินงานของหลายหนวยงาน หรือบางครั้งก็เปนความซ้ํา ซอนของหนวยงานเดียวกัน บางครั้งอาจมีการจัดตั้งกลุมซ้ําซอนกัน ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหแมบาน เกิดความสับสน ไมสามารถจําแนกวากิจกรรมใดเปนของหนวยงานใด 4.การจัดตั้งกลุมสตรีของรัฐเทาที่ผานมา ยังคงประสบความสําเร็จเฉพาะกับ ครอบครัวที่มีฐานะปานกลางและฐานะดี สวนสตรีเกษตรกลุมที่มีฐานะยากจน ตองมีภาระในการทํางาน รับจาง พื่อหารายได เขาครอบครัว จึงไมคอยมีเวลาในการเขารวมกิจกรรมกลุมได 5.และการจัดตั้งกลุมเทาที่ผานมาสวนใหญเกิดจากการดําเนินการของภาครัฐ มิไดเกิด จากความตองการของกลุมเอง ทําใหสมาชิกไมเขาใจถึงปรัชญาของกลุมอยางแทจริง

Page 8: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

8

สภาพปญหาของสตรีเกษตร ในประเทศกําลังพัฒนาสวนใหญมีปญหาที่เกี่ยวกับสตรีเกษตรในสภาพที่ใกลเคียงกัน สรุปไดดังนี้ คือ

1. การเปนเจาของที่ดินทํากิน ผูใหญมีสิทธิในการเปนเจาของที่ดินทํากินนอยมาก ทั้งนี้ เนื่องจากขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมานิยมยกสิทธิในที่ทํากินใหลูกชายมากกวา

2. สินเชื่อ สินเชื่อทั้งระยะสั้นและระยะยาวเปนสิ่งจําเปนในการซื้อปจจัยการผลิต และการจางงาน ในประเทศกําลังพัฒนา ธนาคารหรือแหลงเงินทุนเปดโอกาสใหผูหญิงคอนขางนอย ทั้งนี้เนื่องจากสตรีไมคอยมีสิทธิในทรัพยสินและที่ดินทํากิน

3. ปจจัยการผลิต ทั้งในสวนของเมล็ดพันธุ ปุย สารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่เปนปจจัย จําเปน ในการเพิ่มผลผลิต การใหบริการสิ่งเหลานี้ยังไมคอยถึงมือเกษตรกรที่เปนสตรี ทั้งนี้เนื่องจากขาดทุนทรัพย ในการไปจัดหาสิ่งเหลานี้

4. การสงเสริมการเกษตรและการอบรม มีโครงการนอยมากที่จะเฉพาะเจาะจง ใหบริการในกลุมสตรี

5. การศึกษา เปนการลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยประการหนึ่งที่จะลดความยากจน และสรางใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจตอไป แตในประเทศกําลังพัฒนามีขอจํากัดในระบบสังคม การเมืองและวัฒนธรรม ที่ทําใหผูหญิงเขาถึงการศึกษาไดจํากัด

6. เทคโนโลยี ในการสรางหรือพัฒนาเครื่องมือตางๆสวนใหญไมไดคํานึงถึงผูหญิง เปนลําดับแรก

7. การเปนสมาชิกในองคกรชนบท สวนใหญมุงไปที่เพศชาย เนื่องจากบางครั้งมีการระบุ วาผูที่จะเปนสมาชิกตองเปนเจาของที่ดิน เปนหัวหนาครอบครัว

8. การเขาถึงสินคาและบริการตางๆ ยังคงมีขอจํากัดอยูในกลุมสตรี เนื่องจากบางครั้ง มีขอจํากัดดานการไมรูหนังสือ หรือมีชองวางของกฎหมายที่สงผลใหมีขอจํากัดตางๆเกิดขึ้นกับสตรี สวนในประเทศไทยสตรีเกษตรก็ยังคงเปน บุคคลกลุมใหญที่สุดที่มีความสําคัญในการผลิตตั้งแต อดีตถึงปจจุบัน แตสตรีเกษตร ก็ยังประสบปญหาตางๆมากมาย ทําใหไมมีโอกาสไดใชศักยภาพ ของตนอยางเต็มที่ ซึ่งปญหาตางๆ ไดแก

1.ความเหลื่อมล้ําของโอกาสทางการศึกษา จากสถิติพบวาพื้นฐานการศึกษา ของสตรีไทยในชนบทอยูในระดับต่ํา ทั้งนี้อาจเปนเพราะทัศนคติ คานิยม ในการเรียนของชาวชนบท ยังมีนอย นอกจากนี้จะพบวาชายมีโอกาสในการศึกษามากกวา เพราะสามารถศึกษาไดจากการบวชเรียน การเปนทหาร ซึ่งจากสถิติพบวา จํานวนผูไมรูหนังสือสวนใหญเปนสตรี คิดเปนรอยละ63 โดยจะพบมาก ในกลุมประชากรอายุ 40 ปขึ้นไป ซึ่งจํานวนประชากรสตรีไมรูหนังสือที่สูงมากนี้ ชี้ใหเห็นถึงการพัฒนา ดานการศึกษาที่ไมสมดุลในอดีต สงผลใหประชากรสตรีวัยกลางคนขึ้นไปไมสามารถอานออกเขียนได ซึ่งเปนอุปสรรคตอการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของสตรีและครอบครัว

2.สตรีมีโอกาสในการเขารวมการฝกอบรม หรือมีสวนรวมในกิจกรรมทางดานการ เกษตรนอยเมื่อเทียบกับชาย ทั้งนี้เพราะหากเปนเรื่องของการจัดการผลิต เทคโนโลยีการผลิต

Page 9: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

9

หรอืเรื่องการตลาด สวนใหญจะมุงสงเสริมไปที่เกษตรกรชาย สวนสตรีเกษตรมักจะไดรับการสงเสริม ในเรื่องของทางโภชนาการ เรื่องของกิจกรรมในครัวเรือน

3.การทํางานของสตรีเกษตรมักไมไดผลตอบแทนหรือถูกตีคาเปนเงิน แตกลับไดรับ การยอมรับเพียงแคการเปนแรงงานแฝงเทานั้น

4.ชั่วโมงการทํางานของสตรีในแตละวันมีมากกวาชาย เนื่องจากตองใชแรงงานเขารวม ในกิจกรรมการเกษตรของครอบครัว หรือบางครั้งตองออกไปรับจางหารายไดเพิ่มเติม และยังตองกลับ มาหุงหาอาหารดูแลบาน ซึ่งอาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทํางานใหแรงงานสตรีขาดประสิทธิภาพ ขาดคุณภาพ

5.สตรียังมีโอกาสในเรื่องตางๆนอยกวาชาย เชน การรับบริการสินเชื่อ หรือการ เขารวมเปนสมาชิกสหกรณ (เพราะกฎเกณฑ ในบางแหงกําหนดไวเฉพาะหัวหนาครอบครัว) การถือครอง ที่ดิน การเขารับการอบรม การศึกษา

6.สตรียังขาดคําแนะนําและไมสามารถเขาถึงการใชเครื่องทุนแรงในไรนา และบานเรือน ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมของสตรีในดานการเกษตรมีความแตกตางไปจากกิจกรรมของผูชาย ประกอบกับ ลักษณะทางดานรางกายของสตรีก็แตกตางไป ดังนั้นความตองการเทคโนโลยีจึงมีความแตกตาง กันไปดวย แตสวนมากการพัฒนาเครื่องมือหรือเทคโนโลยีตางๆมักมุงไปที่กิจกรรมของเพศชาย

7.รายไดจากการทํางานของสตรีไมแนนอน และมีอัตราคาจางต่ําเมื่อเทียบกับเพศชาย นอกจากนี้ในบางครัวเรือนผูชายซึ่งเปนหัวหนาครัวเรือนยังเปนผูดูแลรายไดที่ไดจากการทํางานของผูหญิงอีกดวย

8.ในชวงที่วางจากการดูแลผลผลิตในไรนา สตรีจะหางานพิเศษทําไดยากกวาเพศชายทั้ง นี้อาจเปนเพราะสตรีตองใชเวลาสวนหนึ่งในการดูแลบาน หุงหาอาหาร

9.สตรีในชนบทยังคงถูกหลอหลอมดวยคานิยม หรือวัฒนธรรมในการเปนผูตามคุนเคย ตอระบบสังคมที่ใหชายเปนผูนํา และสตรีในชนบทยังคงนิยมแตงงานและมีบุตรตั้งแตอายุยังนอย แนวทางการพัฒนาสตรีเกษตร

จากที่กลาวมาทั้งหมด จะเห็นไดวาความเสมอภาค และเทาเทียมกันเปนสิ่งสําคัญ ในการที่จะพัฒนาสตรี ใหกาวขึ้นมาเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และกลุมสตรีที่ถือ ไดวาเปนกําลังสําคัญ กลุมใหญคือสตรีในภาคเกษตร ซึ่งมีอยูเปนจํานวนคอนขางมาก ที่จะตองไดรับ การพัฒนา ใหมีความเสมอภาคเทาเทียมกับสุภาพบุรุษ ดังแนวทางตอไปนี้ คือ

1.เปลี่ยนคานิยมและกฎระเบียบที่เปนผลลบตอผูหญิง โดยเริ่มจากระดับครอบครัว ชุมชน และสถาบันตางๆ ใหเกิดความสํานึกและเห็นความสําคัญของผูหญิง

2.เพิ่มศักยภาพของผูหญิงในระดับบุคคลและองคกร ดวยยุทธวิธีดังตอไปนี้ 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน

2.2 สนับสนุนการจัดตั้งกลุมหรือองคกรสตรีเกษตร เพื่อกอใหเกิดความรวมมือ ในการแกปญหา

Page 10: Women in agriculture

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาหลักและวิธีการสงเสริมการเกษตร

สตรีกับการสงเสริมการเกษตร ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน

10

2.3 สนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาแบบมีสวนรวม เพื่อใหสตรีมีสวนมีบทบาทรวม (participant)ในการพัฒนา หรือดําเนินการอยางแทจริง นับตั้งแต รวมคิด รวมทํา รวมตัดสินใจ ตั้งแตขั้นวางแผน ไปจนถึงขั้นการประเมินผล เพราะฉะนั้นบทบาทของเจาหนาที่สงเสริมในปจจุบัน จึงควรเปนเพียงผูสนับสนุน(facilitator) ผูประสานงานสงเสริมใหเกิดกําลังใจ ใหคําแนะนํา และขอมูลที่ถูกตองเปนประโยชน ทันตอเหตุการณ มากกวาที่จะเปน ผูคิดแทน ครอบงํา และทําให ซึ่งจะทําใหกิจกรรมที่เกิดขึ้นนั้นไมใชความตองการที่แทจริง และเกิดเปนปญหาตามมาอยางตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน

หากกลาวโดยสรุป จะเห็นวาการพัฒนาสตรี ไมใชแตจะเนนการพัฒนาทางดาน

เศรษฐกิจ หรือการเพิ่มรายไดแตเพียงอยางเดียวแตตองเนนที่การพัฒนาจิตใจและสภาพสังคม ไปพรอมๆกันดวย ดังนั้นการพัฒนาสตรี หรือสตรีเกษตร จึงมิใชเรื่องงาย และจําเปน ตองอาศัยความรวมมือ รวมใจ จากทุกฝาย ทั้งภาครัฐ เอกชน สื่อมวลชน เพื่อใหสังคมปรับเปลี่ยนวิธีคิด ใหมองเห็นความสําคัญ และเปนกําลังใจใหผูหญิงแสดงความ สามารถที่มีอยูออกมาอยางเต็มที่

เอกสารอางอิง

บทความ “บทบาทหญิง-ชาย กับงานพัฒนา” วารสารสังคมพัฒนา ปที่ 22 ฉบับที่ 1-2/2537 ,

กรุงเทพฯ จิตราภรณ วนัสพงศ บทความ “ผูหญิงในครอบครัว : ตนไมใตรมเงา” ผูหญิงกับอํานาจที่แปรเปลี่ยน

,พิมพครั้งที่ 1 ,โครงการจัดพิมพคบไฟ กรุงเทพฯ ปฬาณี ฐิติวัฒนา . 2535 การพัฒนาเด็กและเยาวชนสตรี

โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย กรุงเทพฯ ปริศนา พงษทัดศิริกุล “การประเมินสถานการณการพัฒนาสตรี” .เอกสารประกอบการบรรยาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่9 : เขาถึงไดจาก www.nesdb.go.th สํานักงานสถิติแหงชาติ “สถานภาพสตรีไทย:อดีต-ปจจุบัน” สถิติหญิงและชาย.เขาถึงไดจาก www.nesdb.go.th Katrine A.Satio and Daphne Spurling.”Developing Agricultural Extension for Women

Farmers”.Good Practice in Non-Lending Operations:ESW on Gender Issues.World Bank Discission Paper No.156.Washington.D.C.,1992

Stephen C.Smith.”Improving Agricultural Extension for Women:The Case of Kenya” Case study in Economic Development. Copyright 2003