14
InputFile.doc 1 www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน มีนาคม 2554 คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม โยคะพื้นฐาน, โยคะในสวนธรรม, ... 2 กิจกรรมของเครือขาย ปรัชญาเชน หลักสูตรภาคฤดูรอน 2 คุณถาม เราตอบ ลมหายใจหยุด 3 แลกๆ เลาๆ สวาธยายะ 4 จดหมายจากศิษย หลังจากไดฝกโยคะ 6 แนะนําหนังสือ โยคะกับการพัฒนมนุษย 6 จดหมายจากเพื่อน เมื่อฉันไปโครงการ อาสาเติมใจผูปวย 7 โลกอาสนะ อาสนะดีไซนเนอร 8 เกร็ดความรูโยคะ กลามเนื้อของการหายใจ 9 ประชาสัมพันธ อบรมครูโยคะ หลักสูตร 250 ชั่วโมง ป 2554 12 จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ที่ปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานตินพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิกองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ, จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี, จีระพร ประโยชนวิบูลย, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณัตฐิยา ปยมหันต, ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี, ธนวัชร เกตนวิมุต, ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย, ธีรินทร อุชชิน, พรจันทร จันทนไพรวัน, รัฐธนันท พิริยะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผงาม, วีระพงษ ไกรวิทย, ศันสนีย นิรามิษ, สมดุลย หมั่นเพียรการ, สุจิตฏา วิเชียร สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com สิ่งตีพิมพ จดหมายขาว วิถีชีวิต เพื่อสุขภาวะ

Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

Embed Size (px)

DESCRIPTION

โยคะสารัตถะ เดือน มีนาคม 2554

Citation preview

Page 1: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 1

www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน มีนาคม 2554

คุยกันกอน 2

ปฏิทินกิจกรรม โยคะพื้นฐาน, โยคะในสวนธรรม, ... 2

กิจกรรมของเครือขาย ปรัชญาเชน หลักสูตรภาคฤดูรอน 2

คุณถาม เราตอบ ลมหายใจหยุด 3

แลกๆ เลาๆ สวาธยายะ 4

จดหมายจากศิษย หลังจากไดฝกโยคะ 6

แนะนําหนังสือ โยคะกับการพัฒนมนุษย 6

จดหมายจากเพื่อน เม่ือฉันไปโครงการ อาสาเติมใจผูปวย 7

โลกอาสนะ อาสนะดีไซนเนอร 8

เกร็ดความรูโยคะ กลามเน้ือของการหายใจ 9

ประชาสัมพันธ อบรมครูโยคะ หลักสูตร 250 ชั่วโมง ป 2554 12

จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ

ท่ีปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ ์ นพ.สมศักด์ิ ชุณหรัศม์ิ

กองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ, จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี, จีระพร ประโยชนวิบูลย, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณัตฐิยา ปยมหันต, ณัฏฐวรดี

ศิริกุลภัทรศรี, ธนวัชร เกตนวิมุต, ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย, ธีรินทร อุชชิน, พรจันทร จันทนไพรวัน, รัฐธนันท

พิริยะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผงาม, วีระพงษ ไกรวิทย, ศันสนีย นิรามิษ, สมดุลย

หม่ันเพียรการ, สุจิตฏา วิเชียร

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240

โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744

โทรสาร 02 732 2811

อีเมล [email protected]

เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com

สิ่งตีพิมพ

จดหมายขาว วิถีชีวติ เพือ่สุขภาวะ

Page 2: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 2

สวัสดีเดือนมีนาคม วันท่ีเขียนทักทายนี้

กําลังมีขาวแผนดินไหวใหญท่ีเมืองไครสทเชิรช

ประเทศนิวซีแลนด และท่ีติดกัน

เปนขาวการลุกฮือของประชาชนขึ้นขับไลรัฐบาลประเทศลิเบีย

ขาวหลังนั้นมีสาเหตุมาจากความปรุงแตงของจิตมนุษย

ซึ่งสรางความเสียหายตอชีวิตมากกวาขาวแรกท่ีเปนภัยธรรม

ชาติตั้งเยอะ ดูขาวแลวก็รูสึกวา พวกเราเรงฝกโยคะ

เรงพัฒนาจิตกันเถอะ เอาศักยภาพอันยิ่งใหญของจิต

มานําพาเราไปสูความสงบเย็นกันดีกวา

____________________________________________________________

จิตสิกขา วันเสารท่ี 19 มนีาคม 9.00 – 12.00 น.

คุยกันเรื่องของ “สมุทัย” พรอมกับ

“แลกเปล่ียนประสบการณการพัฒนาจิตของแตละคนในชวง 1

เดือนท่ีผานมา” ท่ีสํานักงาน สถาบันฯ ซอยรามคําแหง 36/1

---------------------------------------------------------

โยคะอาสนะข้ันพื้นฐานเพื่อความสุข

จัดขึ้นในวันอาทิตยท่ี 20 มีนาคม 2554 เวลา 9.00-15.00 น.

ท่ีหอง 262 ชั้น 6 คณะมนุษยศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23

(ซอยประสานมิตร)

----------------------------------------------------------

เชิญอัพเดทขาวสถาบันฯ เปน fan ในเฟสบุคท่ี http://www.

facebook.com/pages/thaiyogainstitute/208189084154

และทาง Twitter ท่ี http://twitter.com/yogathai

---------------------------------------------------------

โยคะในสวนธรรม เชิญเขารวมกิจกรรม

“โยคะในสวนธรรม” ป 2554 นี ้ทุกวันเสารท่ีส่ีของเดือน เวลา

10.00 – 12.00 น. และ ทุกเย็นวันพุธท่ีสาม ของเดือน เวลา

17.00 – 18.30 น. ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส

สวนวชิรเบญทิศ ถ.วิภาวดีรังสิต (หลังตึก ปตท.

หาแยกลาดพราว)

16 มี.ค. โยคะสลายเครียด รัฐธนันท – กฤษณ

26 มี.ค. โยคะเพ่ือการเรียนรูตนเอง โดย รุงศศิธร

เอกปญญาชัย (ครูเหมียว) และ เพ่ือนครูรุน 10

ไมเสียคาใชจาย มีการตั้งกลองรับบริจาค

เพ่ือชวยสมทบคาสาธารณูปโภคใหกับฝายอาคาร

และคาเดินทางวิทยากร

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

โครงการ “อาสาเติมใจผูปวย:

ศิลปะภาวนาบนถุงผาชายผาเหลืองขางเตียง” คร้ังท่ี 6

ชีวิตสิกขา เครือขายเพ่ือการเรียนรูและเขาใจชีวิต

เชิญชวนทุกทานรวมฝกสมาธิกับการปกผาดวยลวดลายตางๆ

โดยมีชายผาเหลืองพระ

เปนสวนประกอบบนถุงผาท่ีจะนําไปใสหนังสือธรรมะ /

หนังสือสวดมนตเพ่ือสงมอบใหผูปวยในกิจ

กรรมคลินิกธรรมะตามโรงพยาบาลตาง ๆ

รวมกันบําเพ็ญประโยชน

เพ่ือผูปวยท่ีรอรับกําลังใจจากทุกทาน

วันอาทิตยท่ี 6 กุมภาพันธ 2554 เวลา 10.00-15.00 น. ณ

ลานอเนกประสงค ชั้น 1 หอจดหมายเหตุพุทธทาส

(ในสวนรถไฟ) สอบถามรายละเอียดเพ่ือเติม และ/หรือ

แจงความประสงคบริจาคหนังสือธรรมะ/บทสวดมนตไดท่ี

เครือขายชีวิตสิกขา: ครูดล 087-678-1669 ครูแดง 089-983-

4064

.........................

ปรัชญาเชน หลักสูตรภาคฤดูรอน 25 เม.ย. – 13 พ.ค. 54

จัดโดย โรงเรียนนานาชาติเชนศึกษา International

School for Jain Studies (ISJS) รวมกับ ชุมชนเชน กรุงเทพ

Bangkok Jain Community และ

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมแหงเอเซีย

มหาวิทยาลัยมหิดล

Page 3: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 3

เรียนทุกวัน จันทร – เสาร เวลา 8.30 – 12.30 น.

ท่ีหองสัมนา ชั้น 5 สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมฯ มหิดล

ศาลายา คาลงทะเบียน 1,000 บาท รับนักเรียน 20 คน

สนใจติดตออาจารยโสภนา [email protected]

โทร 086 168 - 5475

อหิงสาและวัฒนธรรม Shramanika ของเชน

หลักสูตรภาคฤดูรอน 25 เม.ย. – 13 พ.ค. 54

จัดโดย โรงเรียนนานาชาติเชนศึกษา International

School for Jain Studies (ISJS) รวมกับ ชุมชนเชน กรุงเทพ

Bangkok Jain Community และ

ภาควิชาปรัชญาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เรียนทุกวัน จันทร – เสาร เวลา 14.30 – 17.30 น.

ท่ีหอง 614 อาคารบรมราชกุมารี คณะศิลปะศาสตร

จุฬาคาลงทะเบียน 1,000 บาท รับนักเรียน 20 คน

สนใจติดตออาจารยโสรัจ [email protected] โทร 089 686

- 6331

ท้ัง 2 หลักสูตรขางตน ผูสอนไดแก Prof. Shugan

Jain ผูเชี่ยวชาญดานศาสนาเชนจากประเทศอินเดีย

สอนเปนภาษาอังกฤษท้ังหมด นอกจากอาจารยของท้ัง 2

มหาวิทยาลัยแลว ผูสนใจสามารถติดตอขอขอมูลไดท่ี

คุณปราโมท เอ็ม เชน [email protected] โทร 081 821 –

1739 ปดรับสมัครวันท่ี 28 ก.พ.

แตผูท่ีสนใจก็นาจะลองติดตอดู ขออภัยท่ี

จดหมายขาวลงขาวนี้ไมทันฉบับท่ีแลว

..........................................................................................

โดย กอง บ.ก.

ลมหายใจหยุด

ครูคะ

วันนี้เมื่อเชาระหวางท่ีกําลังลางแกวน้ําอยู

สังเกตวาลมหายใจไดหยุดชั่วขณะราว 1 วินาที

แลวกลับมาหายใจใหม เปนอยูประมาณ 2-3 ครั้ง

สังเกตอีกวาลมหายใจปกติ และลมหายใจยาวคะ

ท้ังสองเหตุการณนี้มันเกิดขึ้นเอง โดยไมไดไปบังคับมัน

คราวนี้มาถึงคําถามวาเพราะเหตุใด

ลมหายใจถึงไดเปนแบบนี้ อยากรูจังเลยคะ

ตอบ

ขอออกตัววา

ผูตอบไมใชผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางแตอยางใด

การตอบนี้ถือวาเปนการแลกเปล่ียน ท้ังยังยินดีรับคําแนะนํา

ขอเสนอแนะตางๆ เพ่ือใหเกิดความเขาใจยิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน

ก็ไมไปเพ่ิมความสับสน

ประเด็นแรก ผมมองเรื่องกลไกการหายใจ

ซึ่งเปนธรรมชาติในการรักษาชีวิตของมนุษยและสัตวท้ังหลาย

(ไมขออางไปถึงพืช ซึ่งแมมีชีวิต

แตตางจากสัตวอยางพวกเราตรงท่ีไมมีระบบประสาท

ซึ่งพุทธศาสนาไมนับพืชเปนสัตวโลก เพราะพืชไมมีจิต)

สัตวท้ังหลายนั้นหายใจเพราะ

ตองการออกซิเจนเขาไปใชเปนพลังในการสันดาป

และขับคารบอนไดออกไซดออกมา เพ่ือการดําเนินชีวิต

ซึ่งถาเรามองตามเหตุ-ผลวา ธรรมชาติไมทําอะไรพร่ําเพรื่อ

เมื่อไรท่ีเราตองการอากาศ เราจะหายใจ

หมายความวาเมื่อไรท่ีเราไมตองการอากาศ เราจะไมหายใจ

ดังนั้น ในวิถีชีวิตของเรา ถาขณะนั้น รางกายผอนคลาย

ใชพลังงานนอยมาก และอากาศท่ีเหลือยูภายในเพียงพอ

เราก็ไมนาจะหายใจนะ สรุปวา ท่ีสังเกตเห็นตัวเองไมหายใจ

หายใจยาว อยูในคําอธิบายตามธรรมชาติไดครับ

เพียงแตอาจจะไมคุนชินนัก เพราะความรับรูของเรานั้น

เชื่อวาเราหายใจมาตลอดเวลาไมเคยหยุดเลย

ประเด็นท่ีสองท่ีนํามาพิจารณาคือเรื่อง ความรูตัว

ความรูสึกตัว ซึ่งในท่ีนี้ก็คือ ความรับรูถึงการหายใจ

เอาเขาจริงๆ มีเพียงไมกี่หวงขณะหรอก

ท่ีเราใหประสาทส่ังการมากํากับการหายใจ

เชนตอนฝกปราณายามะ ฯลฯ สวนเกือบตลอดเวลาท่ีเหลือ

ประสาทอัตโนมัติ คอยทําหนาท่ีหายใจใหเรา หมายความวา

คนท่ัวไปท่ีไมไดจดจออยูกับลมหายใจ

แทบจะไมมีการรับรูถึงการหายใจเลย ไมวามันจะหายใจเขา

จะหายใจออก หรือจะหยุดหายใจ กลาวคือ

รางกายมันอาจจะหยุดหายใจของมันอยูบอยๆ ก็ได

เพียงแตเราไมเคยใสใจ

การท่ีพวกเราผูสนใจโยคะจริงจัง

ปรับเปล่ียนชีวิตตนเอง

ผนวกการฝกโยคะเขาเปนสวนนึงในวิถี จิตไดรับการพัฒนา

ทําใหมีสมาธิดีขึ้น (จิตตั้งมั่นอยูกับกาย-ใจตนเองไดบอยขึ้น)

ทําใหสติเกิดถ่ีขึ้น จึงเปนไปได ท่ีทําให ณ

หวงขณะของกิจวัตรปกติ (กําลังลางแกวน้ํา)

เรารับรูถึงการหายใจ จึงไดมีโอกาสรูวา ออ

Page 4: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 4

นี่มันกําลังหยุดหายใจอยูนะ (ซึ่งมันก็อาจเปนมาบอยๆ

ของมันนั่นแหละ)

ส่ิงท่ีอยากแลกเปล่ียนเพ่ิมคือ อยากใหมองไปท่ี

ความรูสึกตัว หรือ สติ ดวย

ไมใชมองเพียงแคปรากฏการณของการหยุดหายใจ

อยางในกรณีของคําถามนี้

ผูถามอาจจะลองประมวลชีวิตในชวงนี้ วานอกจาก

เห็นตัวเองหยุดหายใจ ยังไดเห็นความละเอียดออนอื่นๆ

ท่ีเราไมเคยเห็นหรือเปลา เชน เทาทันอารมณตัวเองเร็วขึ้น

เห็นการทํางานของจิตตัวเองชัดขึ้นอยางท่ีไมเคยเห็นมากอน

ถามีปรากฏการณทํานองนี้เกิดขึ้นดวย ก็มีแนวโนมวา

สติเราดีขึ้น

และการพบวาตัวเองหยุดหายใจก็เปนเพราะสติดีขึ้นนั่นเอง

แตถาปรากฏการณอื่นๆ ไมมี

มีแคเฉพาะเรื่องหยุดหายใจเรื่องเดียว

ง้ันอาจจะเปนท่ีตัวกลไกการหายใจลวนๆ

ซึ่งนั่นก็ตองมาหาสาเหตุกันตอไป ฝากพิจารณาครับ

..............................................................................................................

โดย ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน

ฉบับนี้ ยกเรื่องสวาธยายะซึ่งอาจารยธีรเดช

อุทัยวิทยารัตน (พ่ีเละ) นําเสนอแงมุมท่ีลึกและละเอียด

จากนั้นเปนเมลท่ีพ่ีเละแลกเลาถึงเพ่ือนครูคนหนึ่ง

ในหัวขอเดียวกัน

สวาธยายะ

ไหนๆ ก็พูดถึงเรื่องของสวาธยายะแลว

พ่ีเลยนึกขึ้นไดวายังติดคางเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู

ไมรูวาคนถามลืมไปหรือยังวา

เคยถามพ่ีโดยอางถึงเมลท่ีพ่ีเคยคิดดังๆ ใหพวกเราอานวา

อายุรเวทแนะนําวา หลังจากตื่นนอนตอนเชา

ใหเราสํารวจตรวจสอบตัวเอง

ซึ่งเราอยากใหขยายความเรื่องนี้อีกนิด

เรื่องของเรื่องก็คือ

ในทางอายุรเวทจะแนะนําใหเราตื่นนอนขึ้นมากอนรุงอรุณ

หรือพูดอีกอยางวาตื่นขึ้นมารับอรุณ

เพราะชวงกอนพระอาทิตยขึ้นเปนหวงยามท่ีสรรพชีวิตในธรร

มชาติเริ่มเขาสูวัฏจักรแหงวันใหม

(ยกเวนชีวิตในสปชีสท่ีกลับตาลปตรกับชีวิตท่ัวไป

คือผอนพักตอนกลางวัน และตื่นและหากินกลางคืน

ซึ่งคนเราไมนาจะจัดอยูในสปชีสนี้)

การตื่นขึ้นมาตอนเชาตรูเทากับเราทําตัวใหสอดรับกั

บจังหวะของธรรมชาติ

อายุรเวทยังแนะนําอีกวา

หลังจากตื่นนอนในตอนเชา(ตรู)แลว

ใหเราลองสํารวจตรวจตราตัวเองวาเปนอยางไรบาง

พูดในทางรูปธรรมก็นาจะประมาณวา

ลองสํารวจ(ซึ่งไมใชคิด)วาเรารูสึกสดชื่นหรือไม

รูสึกรางกายโลงโปรงสบายดีไหม

เราพรอมท่ีจะเผชิญหรือเริ่มตนชีวิตในวันใหมหรือยัง

กอนท่ีจะลุกขึ้นเริ่มตนกาวแรกของชีวิตในวันใหม

จากคําแนะนําขางตน

พ่ีคิดวาหากคิดจากมุมมองของโยคะ

ก็นาจะเขาขายส่ิงท่ีเรียกวา “สวาธยายะ” ซึ่งเปนหนึ่งใน

“นิยมะ” นั่นเอง

พ่ีตั้งใจท่ีจะใชคําวา “สวาธยายะ” ในหลายๆ ครั้ง

ดวยเหตุผลดังท่ีพ่ีเคยแลกกับพวกเราท้ังในคลาสวินยาสะและ

ท่ีเขียนแลกและเลาผานทางเมลเปนระยะๆ วา

เราสามารถบมเพาะตัวเองใหนํามุมมองหรือแงคิดในประเด็น

ตางๆ ของการฝกอาสนะและโยคะมาประยุกตใช

หรือกระท่ังอธิบายปรากฏการณตางๆ ในชีวิตประจําวัน

(การกระทําซ้ําบอยๆ อาจเรียกในทางโยคะและอายุรเวทวา

สัมสการะ) ซึ่งจะทําใหเราเกิดความคุนชินท่ีจะทําเชนนี้

(อยางท่ีพ่ีเรียกติดปากวา “วาสนา” ซึ่งแปลคราวๆ วา

“ส่ิงท่ีติดตัว”)

เชน

แทนท่ีจะคิดวายมะกับอาสนะเปนคนละองคของโยคะท่ีดูคลา

ยจะแยกขาดจากกัน

เราสามารถประยุกตเอาบางแงมุมของยมะมาใชในการฝกอาส

นะได เชน

ในการฝกอาสนะเราตองซื่อสัตยกับตัวเองวาเรามีความยืดหยุ

น และความแข็งแรงท่ีจํากัด

อีกท้ังบางคนอาจมาเริ่มฝกอาสนะในวันวัยท่ีเลยครึ่งหนึ่งของ

ชีวิตไปแลว

ทําใหเราอาจไมสามารถทําทาท่ีหนักหนวงไดเทากับคนท่ีราง

กายออนหยุน และแข็ง แรงกวาเรา

อยางท่ีครูของพ่ีจะใชประโยควา

“เราตองเห็นและยอมรับตัวเราอยางท่ีเราเปน

Page 5: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 5

และเริ่มจากจุดหรือสภาวะท่ีเราเปน”

จากนั้นดวยการอภยาสะ(แปลวาการฝก

การปฏิบัติ)ท่ีสม่ําเสมอ

รางกายยอมปรับเปล่ียนได(แตมากหรือนอยเปนนั้นเปนอีกเรื่

องหนึ่ง ซึ่งเราก็ตองยอมรับมัน)

การเห็นตัวเราอยางท่ีเราเปน และเริ่มจากท่ีเราเปน

ใชหรือไมวาก็คอืความซื่อสัตยกับตัวเองหรือ “สัตยะ”

อีกแบบบหนึ่ง ซึ่งเปนหนึ่งในยมะ

และการยอมรับใหไดวา แมเราจะฝกฝนอยางสม่ํา

เสมอ

รางกายเราก็อาจจะพัฒนาความยืดหยุนไดไมเทากับอีกหลาย

ๆ คน

โดยเฉพาะในกรณีท่ีเรามาเริ่มฝกอาสนะในวัยท่ีเลยครึ่งชีวิตม

าแลว กรณีนี้ก็นาจะเขาขายของ “อปริเคราะห”

ซึ่งเปนอีกแงมุมหนึ่งของยมะ

นี่คือตัวอยางของการปรับใชองคอื่นๆ

ในองคท้ังแปดของโยคะเขามาอยูในองคแหงรางกาย คือ

อาสนะ

เอวังก็มีดวยประการฉะนี้แล

คําถามจากเพื่อนครูคนหน่ึง

วันนี้หนูมีสอนเด็ก ไปโรงเรียน.ตั้งแต 7 โมงครึ่ง

รอสอน 9 โมง สงสัยนั่งนานเกิน ฟุงซานคะ มันรูสึกวา

บางทีเราก็เหมือนจะรูอะไรๆ ดี เชน รูเรื่องโยคะ

รูเรื่องโยคะเด็ก อยากสอนเด็ก สนุกกับการสอนเด็ก แตทําไม

บางทีเราก็รูสึกเหมือนเราไมรูอะไรเลย หรือ ไอท่ีวารูนะ

รูจริงรึเปลา ทําไมละคะ (แตพอคิดแลวซึมๆ อยู

พอถึงเวลาสอน เจอหนาเด็กๆ แลว มันก็สดชื่นคะ

ความคิดลบก็เลยคล่ีคลายไป)

จริงๆ หนูคิดวิธีแกปญหานี้ของตัวเองไวบาง

ดวยการ หมั่นหาความรูเรื่องโยคะตลอด

ไปเขากลุมโยคะกับเพ่ือนครูดวยกันเพ่ือหลอเล้ียงและรดน้ําพ

รวนดินเรื่องนี้ไว

เขียนบันทึกหลังการสอนอยางสม่ําเสมอหรืออยางนอย

ไอท่ีตั้งใจเขียนหนังสือโยคะเด็ก ก็ลงมือทําซะ

และท่ีสําคัญท่ีสุด ตัวเองตองฝกเปนประจําสม่ําเสมอ

ฝกมากฝกนอยก็ตองฝก ซึ่งตั้งแตคุยกับพ่ีเมื่อวันศุกร

กลับมาก็ตั้งใจและทําตามนั้นคะ

หวังวามันจะทําใหความเชื่อมั่นกลับมาเหมือนเดิม สม่ําเสมอ

ตอบ

เรื่องท่ีบนๆ แกมสงสัยวา "ทําไมละคะ"

ซึ่งคงหมายถึงวา ทําไมบางทีรูสึกเหมือนรู บางทีก็ไมแนใจวารูจริงไหมนั้น

ดูเหมือนวาเราก็รูคําตอบอยูแลวนะ นั่นก็คือเรานะมีท้ังท่ีรูบาง

ซึ่งไอท่ีรูนั้นก็รูมากบางนอยบาง ในขณะเดียวกันสวนท่ีไมรูก็คงมีอยู

เชนเดียวกับพ่ีท่ีมีท้ังรูมากบางนอยบาง และไอท่ีไมรูก็มี

สวนท่ีเราเกิดอาการซึมนั้น เปนไปไดไหมวา พอเรารูสึกสงสัยวาเรารูจริงหรือเปลา

มันก็เลยเหมือนมีอะไรมาตีแสกหนาตัวเอง เสร็จแลวเมือมีอะไรมาดึงดูดความสนใจ อารมณก็หายไป ซึ่งก็เปนเรื่องธรรมดานะ

แตหากจะใชประสบการณทางอารมณนี้

ใหเปนประโยชน พ่ีคิดวาอยางนอยเราก็เกิดคําถามคือไมแนใจวาเรารูแคไหน

ซึ่งก็คงตองทํา "สวาธยายะ" (มาอีกแลวพระเอกของเรา"

พูดงายๆ คือสํารวจตรวจตราใหลึกลงไป(โดยตองตัดความรูสึกซึมๆ

เซื่องๆ จากความสงสัยวาเราจะรูไมจริง

ดวยการยอมรับความจริงไปวาเรารูไมจริง จริงๆ ดวย

ปญหาอยูท่ีเราทําใจยอมรับความเปนจริงในขอนี้ไดไหม)วา

ท่ีรูนั้นรูแคไหน หรือเรารูอะไรบางในเรื่องนั้นๆ

เชน กรณีของการสอนอาสนะใหเด็ก เรารูอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องนี้ ซึ่งอาจจะทบทวนหวนคิดถึงท้ังความรูในทางหลักการและประ

สบการณการสอน ลองใครครวญดูวาท่ีผานมามีครั้งใดบางท่ีการสอนของเราไมร

าบรื่น และสาเหตุเกิดจากอะไร

หากเปนเรื่องของความไมจดจอ (เชน กังวลเรื่องนั้นเรื่องนี้)ก็อาจไมเกี่ยวกับความรูและประสบการ

ณ แตถาชัดเจนวาเรายังมีความแมนยําในเรื่องทวงทาและการปร

ะยุกตใชไมพอ ก็สะทอนถึงความรูท่ีอาจจะยังจํากัด

พ่ีวาการคิดในเชิงรายละเอียดแบบนี้ จะทําใหเรารูวาควรจะเพ่ิมพูนความรูในเรื่องใดบาง

การเขียนบันทึกไมวาจะส้ันหรือยาว พ่ีวาจะเปนประโยชนอยางมาก

เหมือนอยางท่ีพ่ีเคยเอามาเลาๆ แลกๆ ทางเมลในระยะหลัง

Page 6: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 6

กระท่ังวันนี้ พ่ีมีคนไขคนหนึ่ง ระหวางท่ีคุยๆ กัน มีบางประเด็นท่ีสะกิดใจ พ่ีก็คิดดังๆ ใหคนไขไดยินไปดวย หลังจากประเมินดูแลววาเขานาจะเขาใจ อีกท้ังเปนประเด็นท่ีสืบเนื่องกับปญหาสุขภาพของเขา

ขืนเขียนไปแบบนี้ รอยยนท่ีหวางคิ้วของเราคงจะเพ่ิมอีกสองรอยเปนแนแท จากคนสวยจะกลายเปนคนท่ีเคยสวยไป(ฮา)

เอาเปนวาพ่ีเลารายละเอียดใหอานก็แลวกัน

เรื่องของเรื่องก็คือ คนไขคนนี้มีปญหาเรื่องระบบยอยอาหารท่ีแปรปรวนซึ่งเปนม

านาน เทาท่ีซักประวัติยอนกลับไปถึงวัยเด็ก

ทําใหไดขอสันนิษฐานวา สวนหนึ่งเกิดจากการรับประทานอาหารไมสม่ําเสมอ คือบอยครั้งท่ีคนไขคนนี้กินอาหารเพราะความอยากบาง กินเพราะคิดวาถึงเวลาตองกินบาง

เมื่อถามวาเวลาท่ีกินอาหารนั้นหิวหรือเปลา เจาตัวอิดเอื้อนชั่วขณะกอนจะยอมรับวาบอยครั้งท่ีกินโดยไมรุ

สึกหิว

แลวเธอก็เลยเลาใหฟงวา มีอยูครั้งหนึ่งท่ีถึงเวลาท่ีปกติจะกินอาหาร(เชา)แลว (ซึ่งบอยครั้งก็กินเวลานี้ท้ังท่ีไมรูสึกหิว)

แตเนื่องจากตองออกไปซื้อของ ก็เลยไมไดกินขาวเชา

แตหลังจากเดินซื้อของไดสักพัก ก็รูสึกวาไมมีแรง ตอนท่ีเลานั้น เหมือนเธอตองการสะทอนวา ในกรณีแชนนี้อาจมีความจําเปนตองกินท้ังท่ีไมรูสึกหิว

ไมเชนนั้นจูๆ เกิดความรูสึกหิวขึ้นมาแบบฉับพลันถึงขั้นหมดแรงก็จะแย

แวบแรกท่ีฟง พ่ีตั้งขอสังเกตแบบเร็วๆ (ไปนดิ)วา เทาท่ีเลามา

คลายกับวาเจาตัวจะจับสัญญาณวารางกายหิวไมได มารูสึกตัวอีกทีก็หิวจนหมดแรงแลว

แตเกิดฉุกคิดอะไรบางอยาง ก็เลยซักรายละเอียดเพ่ิมเติม

เธอจึงใหขอมูลอีกวาตอนท่ีหมดแรงนั้น ก็ยังไมหิวอยูดี

พ่ีก็เลยตั้งขอสังเกตใหมวา

อาการหมดแรงนี้เปนไปไดวาเกิดจากการท่ีรางกายใชพลังไป

กับการเดิน จนเกิดการเผาผลาญในระดับเนื้อเยื่อ

พ่ีบอกเธอวาหากเปนกรณีเชนนี้ วิธีท่ีดีคือควรเติมสารอาหารใหรางกายแบบท่ีไมตองไปเสียเว

ลายอยในกระเพาะ เชน เครื่องดื่มรอนๆ ฯลฯ เพ่ือท่ีสารอาหารจะไดถูกดูดซึมไปหลอเล้ียงเนื้อเยื่อท่ีกําลังตอ

งการพลังงาน

อานมาถึงตรงนี้

เราอาจสงสัยวาพ่ีเขียนเลาเรื่องนี้ทําไม และมันเกี่ยวอะไรกับประเด็นท่ีเรายกมา นั่นนะสิ พ่ีก็สงสัยตัวเองเหมือนกันวาเขียนมาทําไม(ฮา) ลอเลนจา เรื่องของเรื่องก็โยงกับท่ีเราเลาถึงการเขียนบันทึก พ่ีคิดวาหากเราพยายามฝกตัวเองใหฉับไว

ไมวาจะเปนในเรื่องของสายตาท่ีมองทาทาง บุคลิก

วิธีการเคล่ือนไหว ฯลฯ หรือหูท่ีจับน้ําเสียง ฯลฯ เราอาจจะไดขอมูลอะไรบางอยาง จากนั้นควรฉับไวในการคิดหรือตั้งขอสังเกตโดยอยาเพ่ิงรีบสรุ

พ่ีวาถาทําอยางท่ีวาได

เราจะไดแงคิดมุมมองตอผูคน เหตุการณ ซึ่งสามารถเอามาประยุกตใชได อยางนอยๆ ในกรณีของพ่ี สามารถเอามาใชท้ังในเรื่องของการฝกอาสนะของตัวเองและ

การแนะนําคนอื่นๆ ไปจนถึงการดูและพูดคุยกับคนไข

พ่ีมักแลกและย้ํากับพ่ีๆ นองๆ ท่ี(หลงผิด)ไปเขาคลาสวินยาสะวา

หากตองการจะเปนคนแนะนําการฝกอาสนะท่ีดี การฝกฝนตนเองในเรื่องการสังเกตและการตั้งขอสังเกตกับส่ิง

ท่ีเราสังเกตเห็น - จากหลายๆ มุมมอง

จะเปนประโยชนอยางมาก

เอวัง (อีกที) ก็มีดวยประการฉะนี้แล ขอเอาใจชวยใหเราร่ํารวยประสบการณและความรูจ

...........................................................................................

หลังจากไดฝกโยคะ

สวัสดีคะครู..งานยุงมั้ยคะ

กอนอื่นตองขอโทษดวยท่ีเมลลตอบชามาก

พอดีทําเมลลท่ีครูใหไปหาย ประกอบกับกลับตางจังหวัด

Page 7: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 7

ก็เลยเพ่ิงจะใหนองท่ี OPD สงเมลมาใหใหม

จากคําถามขอตอบแบบรวม ๆ แลวกันนะคะ

หลังจากไดฝกโยคะแลวก็รูสึกเกิดความเขาใจศาสตร

ดานนี้มากขึ้น เมื่อกอนเคยหัดเลนโยคะเอง เวลาทําทาใด ๆ

ก็มักจะเกร็งไปดวย เพราะเขาใจวา โยคะคือการฝกดัดตนเอง

ทําใหบางครั้งก็ฝนจุดท่ีรางกายรับได พอมาเรียนจึงทําใหรูวา

แทจริงแลวการฝกโยคะนั้นเปนการฝกท่ีจิตใจมากกวารางกาย

เมื่อจิตใจเขาใจความเปนไปของรางกายแลว

ก็จะปฏิบัติตอรางกายไดอยางเหมาะสม

สวนขอดอยนั้นยังมองไมเห็นคะ และ

หลังจากเขาไปฝกมาก็มีโอกาสนําวิธีการเกร็งคลายแปดจุดไป

เลาใหแมฟงและแนะนําใหแมทํากอนนอน

สวนผลลัพธคงตองรอดูกันตอไป

โดยภาพรวมแลวรูสึกดีมากคะท่ีไดเขาฝก

เหมือนจะเขาใจรางกายของตนเองมากขึ้น ท้ัง ๆ

ท่ีมันก็อยูกับเรามานานแลวแตไมเคยสังเกตมันจริงจังซักที

ขอบคุณมากนะคะ ปุย

......................................................................................................

โดย กองบรรณาธิการ

โยคะกับการพัฒนามนุษย

อ.วีระพงษ ไกรวิทย บรรณาธิการ

ส่ังซื้อไดท่ีสถาบันโยคะฯ

เปนหนังสือรวบรวมบทความ ท่ีวาดวยคุณคา–

ประโยชนของโยคะตอมนุษยอยางเปนองครวม

โดยเนนไปยังกลุมผูอานท่ีเปนครูโยคะ รวมท้ังครู อาจารย

บุคลากรทางดานการศึกษา

โยคะวิชาการท่ีพวกเรากําลังศึกษานี้

มีท่ีมาจากสวามีกุลวัลยนันท (คศ. 1883 – 1966)

ผูกอตั้งสถาบันไกวัลยธรรม ประเทศอินเดีย

พ้ืนเพของทานเปนครูทางดาน physical education

(พลศึกษา)

ตอมาทานมีโอกาสไดเรียนไดฝกโยคะจนตระหนักถึงคุณคาข

องภูมิปญญาโบราณนี้

ก็พยายามท่ีจะผลักดันใหโยคะเขาไปสูระบบการศึกษา

ผลักดันใหโยคะทําหนาท่ีเปนเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนามนุษ

ย ใชโยคะเปนเครื่องมือสรางยุวชนอินเดียใหเคารพตนเอง

อันเปนสวนหนึ่งของการตอสู

เรียกรองอิสรภาพคืนจากอาณานิคมอังกฤษ

โดยส่ิงท่ีสวามีกุลวัลยนันททําคูขนานกันมาตลอดคือ

ศึกษาเจาะลึกลงไปถึงเอกสารอางอิง -

ตําราโบราณภาษาสันสกฤต พรอมๆ

กับความพยายามท่ีจะอธิบายศาสตรโบราณนี้อยางเปนวิทยา

ศาสตร ใชภาษารวมสมัยของศตวรรษท่ี 20

ไมวาจะเปนแพทยศาสตร สรีรวิทยา-กายวิภาค ฯลฯ

เมื่อสวามีกุลวัลยนันทจากไป ศิษยคนสําคัญคือ

ดร.ฆาโรเต (ค.ศ. 1931 – 2005)

ไดสานตอภารกิจของทานกวา 40 ป ดร.ฆาโรเตมีครูฮิโรชิ

ฮิเดโกะ ไอคาตะ เปนศิษยคนสําคัญชวยสืบทอดภารกิจ และ

เปนผูแนะนําใหสังคมไทยใหรูจักโยคะวิชาการ

หนังสือประกอบดวย 16 บทความ

แบงเปนหมวดหมูดังนี้

หมวดวาดวย ดร.ฆาโรเต ครูโยคะชาวอินเดียซึ่งเปนแบบ

อยางของการทําโยะคะวิชาการ knowledge-based yoga

บทท่ี 1 รําลึกถึง ดร.กาโรเต และ บทท่ี 2

ชีวประวัติของทาน

หมวดวาดวย องคกรท่ีทําโยคะวิชาการในบานเรา

บทท่ี 4 ภาควิชาปรัชญาและศาสนา

คณะมนุษยศาสตร มศว บทท่ี 5

สถาบันโยคะวิชาการ

หมวดวาดวย แนวทางการการสอนโยคะในสถาบันการศึกษา

บทท่ี 7 หลักสูตรโยคะในโรงเรียนในมหาวิทยาลัย

บทท่ี 8

การสงเสริมการสอนโยคะในสถาบันการศึกษา และ

บทท่ี 9

การอุดหนุนงบประมาณการสอนโยคะในมหาวิทยาลั

ยของประเทศอินเดีย

หมวดวาดวย คุณคา-ประโยชนของโยคะ

บทท่ี 3 เปนปาฐกถาของนพ.ประเวศ วะสี

เรื่องโยคะกับสุขภาพและปญญา บทท่ี 6

ความจําเปนของโยคะในการพัฒนาคน และบทท่ี 10

โยคะกับการสงเสริมสุขภาพ

หมวดวาดวย เทคนิคโยคะ

Page 8: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 8

บทท่ี 11 หลักการของอาสนะ บทท่ี 12–13

หลักการฝกปราณายามะ

หมวดวาดวย ประวัติศาสตร

บทท่ี 14 ประวัติศาสตรโยคะ

และแนะนําหนังสือโยคะท่ีนาสนใจในบทท่ี 15

บทความท้ังหลายในหนังสือนี้ชวยเปดโลกทัศนของ

ครูโยคะ กลาวคือ

ครูโยคะวิชาการจะมองโยคะกวางกวาแคการฝกทาอาสนะให

สุขภาพแข็งแรง

เพ่ือใหเราไดรับประโยชนจากโยคะอยางท่ีควรจะเปน

การปฏิบัติตองขยายกวางไปยังเรื่องของการมีจิตใจมั่นคง

มีคุณธรรม และ มีวิถีชีวิตท่ีงดงาม โดยถึงท่ีสุด

การฝกโยคะตองเปนไปเพ่ือยกระดับเปาหมายของมนุษยขึ้นสู

จุดสูงสุดคือ เปนอิสระ หลุดพน ในขณะเดียวกัน

หนังสือเลมนี้แนะนําครูโยคะใหชวยกันยกระดับศาสตรนี้ใหเป

นท่ียอมรับของนักวิชาการ

ยกระดับการเรียนการสอนใหเปนระบบ มีมาตรฐาน

อันเปนหนทางเดียวท่ีจะรักษาศาสตรโบราณนี้ใหอยูคูกับการ

พัฒนามนุษยไดอยางยั่งยืน

-------------------------------------------------------------------------------------------

โดย กองบรรณาธิการ

เมื่อฉันไป โครงการ “อาสาเติมใจผูปวย”

ของเครือขายชีวิตสิกขา

ฉบับนี้

เรานําจดหมายจากเครือขายมาแบงปนกันอาน

หากเราตองนอนในโรงพยาบาล

ไหนจะทุกขท่ีเกิดจากรางกาย และยังพาลทําใหใจหมนหมอง

คงเปนการดีไมนอย หากเราไดกําลังใจท่ีดีๆ ท่ีอยูขาง ๆ

เตียงของเรา

โครงการอาสาเติมใจผูปวย

เปนโครงการศิลปะการปกผาแนบชายผาเหลือง

สําหรับใสหนังสือสวดมนตรและหนังสือธรรมะ

เพ่ือนําไปวางขางเตียงผูปวย

เพ่ือใหกําลังใจในยามจิตหมนหมองจากความไมสบายของราง

กาย ซึ่งอักษรท่ีใหกําลังใจ

จะถูกถายทอดผานจากอาสาสมัครท่ีเปนจิตอาสา

มาเติมกําลังใจใหกับผูปวย

ฉันไดไปโครงการนี้

เพราะเพ่ือนกัลยาณมิตรไดสงขอความมาเมื่อตอนดึกใหไปรว

มกิจกรรมขางตน

ซึ่งตัวเองเปนคนท่ีไมถนัดดานเย็บปกถักรอยเอาเสียเลย

แตก็คิดวา อาจจะชวยดานอื่นจึงตกลงใจไปรวมดวย

พอรุงเชาขณะท่ีเตรียมตัวไปนั้น

ก็ไดทราบขาววาคนท่ีเคยมีความรูสึกท่ีดีๆใหตอกัน

กําลังจะแตงงาน ขณะนั้น จับความรูสึกไดวากําลังกระเทือน

และทําใหนึกถึงเหตุการณท่ีผานมา

ท่ีตัวเองเปนฝายท่ีเลือกเดินออกมา และถามตัวเองวา

นี่เรากําลังทุกขหรือเปลานี่...

จากนั้น ฉันรีบโทรตามเพ่ือนๆ ใหมารวมทําบุญกัน

เพ่ือไมใหจมจอมอยูกับความรูสึกนี้

เมื่อมาถึงท่ีสถานท่ีจัดกิจกรรม ไดเห็นผูคนมากหนาหลายตา

กําลังชวยกันสรรสรางศิลปะบนผืนผาอยู

เนื่องจากตัวเองไมไดถนัดดานนี้อยูแลว

ชวงแรกจึงทําไดเพียงแตคอยรอยดายเตรียมไวใหเพ่ือนๆ

แตเมื่อเห็นผูอื่นทําได เราเองก็ควรทําได จึงขอใหเพ่ือนๆ

ชวยสอนปก

แลวฉันก็เริ่มนําถุงผาขาว และชายผาเหลือง

มาคิดพิจารณาวา จะวางในรูปแบบใดดี

จะสรรหาคําท่ีเปนกําลังใจใหผูอื่นอยางไรดี

จึงมองยอนกลับมาท่ีตัวเองวา ตัวเองขณะนี้

ตองการกําลังใจอยางไรบาง ก็ไดคําส้ันๆ

ออกมาผานเสนดายวา “เบิกบาน” “สู”

และภาพคนกําลังยิ้มแทนตัวอักษร

จากนั้นก็เริ่มบรรจงปกอยางตั้งใจ ขณะท่ีกําลังปก

ใจจดจอกับเข็มท่ีแทงขึ้นและลงสูเนื้อผา

เสนดายท่ีรอยออกมาเปนถอยคําส้ันๆ ท่ีใหกําลังใจ

มันทําใหฉันคลายความรูสึกท่ีหนักอึ้งออกไป

เพราะจิตใจจดจอกับงานท่ีอยูตรงหนา

แตบางขณะท่ีความคิดไดแลนออกไปก็ทําใหฉันตอง

เจ็บตัวจากการโดนเข็มท่ิมนิ้วจนเลือดออก 2-3 ครั้งดวยกัน

ซึ่งทําใหตองหันมาอยูกับส่ิงท่ีอยูตรงหนาใหม ตั้งใจปกใหม

ดูความเคล่ือนไหวของส่ิงท่ีเกิดขึ้นขางหนาอยางมีสติ

และเมื่อผลงานท่ีบรรจงสรางใหผูอื่น เสร็จส้ินแลว

จํานวน 4 ชิ้นงาน ฉันก็ยิ้มนอยๆ อยางภูมิใจ

วาตัวเองก็สามารถทําได แมวาเปนงานงายๆ

แตก็ออกมาจากแรงบันดาลใจ ความตั้งใจ

Page 9: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 9

แตส่ิงท่ีตัวเองไดมองเห็นและตระหนัก คือ

การทํางานเพ่ือผูอื่น การทํางานดานศิลปะ

หรือการมีสมาธิจดจอกับส่ิงใดส่ิงหนึ่ง

และรายลอมดวยกัลยาณมิตรท่ีสอนงาน ใหกําลังใจขางๆ

ในขณะท่ีไดรวมกิจกรรมนี้

ทําใหฉันไดดึงตัวเองออกมาจากความคิด การยึดติดตาง ๆ

แทจริงแลว...กลับคิดไดวา

โครงการอาสาเติมใจผูปวยนี้ จริงๆแลว

ตัวเองตางหากท่ีเปนผูปวยในวันนี้

และไดรับการบําบัดจากกิจกรรม ซึ่งมาเติมใจใหหายปวย (ใจ)

ขอขอบคุณกิจกรรมในวันนี้ ขอบคุณเพ่ือนๆ

ขอบคุณผูปวยท่ีทําใหเราสรางสรรคงานคะ

มารวมกันสงความรักเติมกําลังใจผูปวยดวยกัน

ทุกวันอาทิตยท่ี ๑ ของเดือน ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส

สวนโมกขกรุงเทพฯ (ในสวนรถไฟ) ชั้น ๑ โถงกิจกรรม

โดยโครงการชีวิตสิกขาจะจัดเตรียมวัสดุ

อุปกรณในการทําศิลปภาวนา เติมใจผูปวย ตั้งแตเวลา

๑๐.๐๐-๑๕.๐๐ น.

เชิญชวนบริจาคเข็มรูใหญหรือท่ีรอยดาย

เพ่ือใชในกิจกรรม และหนังสือสวดมนต/หนังสือธรรมะ

เลมเล็กขนาดไมเกิน A5

เพ่ือใสในถุงผาและนํามอบใหผูปวยในโครงการคลินิกธรรมะ

ท่ีโรงพบาบาลเด็กและโรงพยาบาลภูมิพล และโครงการอบรม

"ธรรมะและโยคะเพ่ือผูปวย" ไดท่ี : ครูดล ธนวัชร เกตนวิมุต

ชีวิตสิกขา : เครือขายเพ่ือการเรียนรูและเขาใจชีวิต 159/70

ซ.วิภาวดีรังสิต 62 ถ.วิภาวดีรังสิต หลักส่ี กทม. 10210

....................................................................................................

สมดุลย หมั่นเพียรการ

โลกอาสนะ ๓๖๐ องศา..

ประสบการณเรียนรูแบบ East Meets West

บทท่ี ๑๐ ชุดฝกอาสนะดีไซนเนอร

เราไดเรียนรูเทคนิค

รวมถึงผลท่ีเกิดกับโครงสรางรางกาย ลมหายใจ และจิตใจ

ไปตามทิศทางการเหยียดยืดในอาสนะตางๆแลว

ตอนนี้ก็ไดเวลาอันเปนมงคลฤกษท่ีเราจะมาออกแบบตัดเย็บชุ

ดฝก(อาสนะ) ดวยการทําตัวเปนอาสนะดีไซนเนอร ใหกับ

Tailor-made Asana ของเรา

นั่นคือพ่ีเละกําลังจะพาเราเปดมุมมอง

ใหพวกเราดิ่งด่ํากับความหมายของวินยาสะกรม ก็คือ

การจัดวาง หรือเรียงลําดับการฝกอาสนะ

การวางแผนหรือการออกแบบการฝกอาสนะ

อาจแยกพิจารณาไดเปน การวางแผนการฝกระยะยาว เชน

เปนชวงเวลาแรมเดือน แรมป

แรมกี่ค่ําขึ้นกี่ค่ํา(คอยฝกกันสักที)

หรือการวางแผนการฝกเฉพาะครั้ง ก็วากันไป

กอนเริ่มตนการฝกอาจเริ่มจากการสวาธยายะ

หรือนึกทบทวนถึงวิถีชีวิต

เพ่ือคนหาส่ิงแรกท่ีบรรดาอาสนะดีไซนเนอรท้ังหลาย

ตองคํานึงถึงก็คือ เปาหมายในการฝก

ขยายความดวยการยกตัวอยางสักนิด เชน

เราฝกเพ่ือสงเสริมสุขภาพท่ีดี

หรือเพ่ือพัฒนาความแข็งแรงและความยืดหยุนของรางกายแ

ตละสวน เชน คนท่ีตัวออนมาก

มีความยืดหยุนของกลามเนื้อคอนขางสูง

อาจเลือกฝกอาสนะท่ีเนนพัฒนาดานความแข็งแรงของกลามเ

นื้อมากขึ้น

บางครั้ง

เราอาจฝกอาสนะเพ่ือจัดปรับใหเขากับวิถีชีวิต การทํางาน

เชน ออกแบบการฝกอาสนะสําหรับโรคสุดฮิป

ออฟฟศซินโดรม

หรือดีไซนการฝกไปตามการใชงานแตละสวนของรางกายเพ่ือ

แกไขอิริยาบถบางอยางของเรา

รวมถึงอาจตองลองสํารวจตัวเอง ใหลึกซึ้งถองแทวา

ท่ีกําลังฝกหรือคิดจะฝกนั้น

เปนไปเพียงเพ่ือสนองความตองการ อยาก(ทํา)ได

อยากเปนเหมือนเพ่ือนในคลาสหรือภาพท่ีเห็นตามส่ือ

อยากทําทาสวยๆ เริ่ดๆ

โดยอาจลืมนึกถึงศักยภาพท่ีแทจริงในตัวเรา

อารมณท่ีอาจเรียกไดวา แครส่ือ มากกวา แครสุข นั่นเอง..

ยุคนี้แลว อยาไดแคร !

เมื่อเรากําหนดทิศทางการฝกของเราไดแลว

ปจจัยแวดลอมตางๆท่ีควรนํามาพิจารณารวมดวยก็คือ

เวลา ท่ีทําการฝก เชน อาสนะท่ีฝกในตอนเชา

หรือตอนเย็นก็อาจตองการผลท่ีตางกัน รวมถึง

ระยะเวลาในการฝกแตละครั้งเชนฝกครั้งละกี่นาที กี่ชั่วโมง

เราทําอะไรมากอนเริ่มฝก

Page 10: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 10

และหลังจากฝกเสร็จแลวจะไปทําอะไรตอ นอกจากนี้

ยังตองคํานึงถึงชวงเวลาในบริบทของการฝกแบบระยะยาวดว

ศักยภาพของรางกาย และลมหายใจ

เปนอีกปจจัยท่ีอาสนะดีไซนเนอรท้ังหลาย

ไมควรละเลยมองขาม อยางท่ีรูๆกันอยูแลววา ลมหายใจ

นี่แหละท่ีเปนดัชนีชี้วัดสําคัญท่ีจะสะทอนวาวินยาสกรมท่ีเราจั

ดมานั้น

เหมาะสมสอดคลองกับสภาพรางกายของเราหรือไมอยางไร

การใชลมหายใจเปนตัวกําหนดการเคล่ือนไหว

หรือใชการหายใจแบบอุชชายีรวมดวยขณะฝกเพ่ือเพ่ิมความ

ตระหนักรูจดจอ ซึ่งตรงจุดนี้ถารางกายใครท่ียังฟตไมพอ

อาจหอบ(แฮกๆ)เอาไดงายๆ

ความตอเนื่องในการฝก

ท้ังในสวนท่ีเกิดจากการเรียงรอยแตละทวงทาใหสอดประสาน

กลมกลืนกันไป เหมือนฟงดนตรีออเคสตราวงใหญ

ท่ีนัวบรรเลงไดใจซะเหลือเกินในการฝกแตละครั้ง

หรือในบริบทของความตอเนื่องสม่ําเสมอในการฝก

หลายคนแอบสงสัยวา

ถาสม่ําเสมอฝกทุกวันวาเลนไทนตอเนื่องกันทุกป

อยางนี้มันจะเวิรกไหมครับพ่ี(เละ)

นอกจากนั้นแลว สภาวะของลมหายใจ และจิตใจ

บางครั้งก็ตองเก็บมาเปนขอมูลประกอบการดีไซนของเราดวย

สภาวะใจท่ีเต็มไปดวยรชัส หรือไฮเปอร

หรือถูกความเครียดจูโจมถาโถม

อาจลดทอนเวลาฝกอาสนะใหนอยลงแลวเนนการภาวนาหลัง

ฝก หรือฝกเนนเรื่องการหายใจออก

แตในวันท่ีซอกมุมในอารมณ

ถูกความเฉ่ือยเนือยเขามากระชับพ้ืนท่ี

คงตองเลือกดีไซนชุดฝกท่ีเนนการหายใจเขา

เพ่ือเพ่ิมรชัสในตัวขึ้น เชนนี้เปนตน

ดวยความท่ีเปนคนรูปรางไมคอยสมสวน

จึงมักมีปญหากบัการเลือกซื้อเส้ือผาอยูเนืองๆ

ผมเคยไปลองเส้ือยี่หอหนึ่ง

พอลองเสร็จก็หันไปบอกกับเพ่ือนวา “เส้ือตัวนี้ไมสวยวะ"

นองพนักงานขายไดยินดังนั้นสวนกลับมาทันควัน(แบบผมไม

ทันตั้งตัว) ดวยน้ําเสียงกึ่งเหยียดหยามกึ่งตุงติ้งวา

“สวย..แตไมเหมาะ” โชคดีท่ีความกริ้วยังไมทันจะทํางาน

สัจธรรมบางอยางชิงลอยมาปะทะหวงความคิดเขา

(อยางจัง)เสียกอน จึงฉุกคิดขึ้นมาไดวา เออ..จริงแฮะ!

เส้ือเคานะดีไซนมาดีแลว เริ่ดแลว

ผิดอยูท่ีเราหุนมันไมเหมาะกับเส้ือของเขาเอง

ในแงการฝกอาสนะก็คงเชนกัน

แตละคนซึ่งมีขอจํากัดท้ังความแข็งแรง

และความยืดหยุนของรางกายตาง กัน

คงตองอาศัยดีไซนเนอรมาจัดปรับใหเหมาะสมกับตัวเรา

ถาเราเปรียบอาสนะแตละทวงทา เปนเหมือนเส้ือ

กางเกงแตละชิ้น ท่ีประกอบขึ้นมาเปนชุดฝกใหเราสวมใส

ปจจัยตางๆท่ีเลาๆมาก็คงเปนเหมือนองคประกอบ เชน

เนื้อผา ปก กระดุม ตะขอ ตะเข็บ

คัตติ้งตางๆท่ีจะมาตัดเย็บเปนชุดฝกแตละชุด

ซึ่งชุดฝกของเราในวันนี้ อาจจะเหมาะกับเรา ณ

ขณะนี้ แตเมื่อเหตุปจจัยแวดลอม ลมฟาพยากรณ ทิศทางลม

หรือกาลเทศะท่ีแปรเปล่ียนไป

เราก็อาจจะตองปรับลุคแปลงโฉมเสียใหมใหเขากับสถานการ

ณนั้นๆ

อยางนอยผมคงไมเอาผาพันคอวินเทอรคอลเลกชันมาพันผูก

ทามกลางเปลวแดดแผดรอนเพราะเผลอนึกวาตัวเองอินเทรน

ดเปนสาวกเค-ปอป

การเลือกชุดฝก

บางครั้งก็เหมือนเราใสเส้ือยืดไซสเอส

ของยี่หอนี้แลวเหมาะพอดี แตอีกแบบนึงอาจตองไซสเอ็ม

แตก็ลวนเปนเส้ือท่ีมีวางขายอยูแลว

เหมือนฝกอาสนะแตละทาซึ่งมีรูปแบบการทําเปนมาตรฐานอ

ยู ซึ่งสะทอนแงมุมแบบลักษณะรวม หรือสามานยะ

แตบางคราวเราอาจตองจางชางมาวัดตัวตัดใหเปนพิเศษ

หรือวิเศษะ คือดัดแปลงทวงทาใหเหมาะกับเราโดยเฉพาะ

จะมิกซแอนดแมทช ชุดฝกกันอยางไร

เปนศาสตรและศิลปท่ีวากันไมจบในชาตินี้ เอย ฉบับนี้

ขอยกยอดไปตอคราวหนาครับ

......................................................................................................

ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี, สันสนีย นิรามิษ แปลและเรียบเรียง

กลามเน้ือของการหายใจ การหายใจเขาจะเกิดขึ้น

เปนผลจากการท่ีกลามเนื้อทํางานขยายชองซี่โครงใหใหญขึ้น

Page 11: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 11

ไมเหมือนกับการหายใจออกท่ีปอดมีพ้ืนท่ีเล็กลงเพราะกลามเ

นื้อหยุดทํางาน มันคลายตัว ทําใหท้ังปอด

และชองซี่โครงหดตัวเล็กลง อยางท่ีเคยกลาวไว

ขนาดของปอดจะขึ้นอยูกับขนาดของชองทรวงอก

อะไรก็ตามท่ีทําใหทรวงอกขยายและหดตัว

ก็จะทําใหปอดขยายและหดตัวตามไปดวย

ไมวาจะเปนการยกขึ้นหรือบีบอัดของซี่โครง,

ชองกระบังลมต่ําลงหรือยกตัวขึ้น,

การปลอยทองพองหรือทองแฟบ

หรือปอดมีการหดตัวเขาขางในชองอก

วิธีการทํางานของกลามเนื้อหายใจนั้น มีความซับ

ซอนกวาความสัมพันธของกลามเนื้อ ท่ีทําใหเกิดการเคล่ือน

ไหวตามขอตอตางๆ มีกลามเนื้อหลัก 3

ชุดทํางานเมื่อคุณหายใจ นั่นคือ

กลามเนื้อระหวางกระดูกซี่โครง (Intercostal Muscles),

กลามเนื้อทอง (Abdominal Muscles)

และกลามเนื้อกระบังลม (Respiratory Diaphragm)

กลามเน้ือระหวางกระดูกซี่โครง (The Intercostal

Muscles)

ขณะท่ีเราหายใจ โดยเฉพาะเนนการหายใจท่ีชองอก

กลามเนื้อ intercostal (ยึดระหวางกระดูกซี่โครง)

จะเปนสวนหนึ่งท่ีทําใหหนาอกขยายขึ้นหรือหดตัวลง (ตามรูป

2.5 และ 2.9) ประกอบไปดวยกลามเนื้อ 2 ชั้นบนซี่โครง

(กลามเนื้อชุดหนึ่งอยูถัดจากอีกชุดหนึ่ง)

กลามเนื้อยึดระหวางซี่โครงชั้นนอก (External Intercostal

Muscles)

จะอยูระหวางซี่โครงในทิศทางเดียวกับกลามเนื้อหนาทองชั้น

นอก เปนสวนใหญ (ตามรูป 2.7 และ 2.9)

กลามเนื้อนี้จะยกและขยายซี่โครงเพ่ือหายใจออก

การเคล่ือนไหวเหมือนเครื่องสูบน้ําสมัยกอนท่ีจะถูกยกขึ้นจาก

จุดพัก กลามเนื้อยึดระหวางซี่โครงชั้นใน (Internal

Intercostal Muscles)

แนวของกลามเนื้อจะนี้พาดตั้งฉากกับกลามเนื้อ external

intercostal

กลามเนื้อนี้จะดึงซี่โครงเขามาใกลกันขณะหายใจออก

(คือการตั้งใจหายใจออก)

ถาคุณวางมือลงตรงกลางหนาอกใหนิ้วชี้ลง

จะเปนตําแหนงโดยประมาณของแนวกลามเนื้อ external

intercostal ถาคุณวางมือลงตรงกลางหนาอกใหนิ้วชี้ขึ้น

จะเปนตําแหนงโดยประมาณของแนวกลามเนื้อ internal

intercostal (ตามรูป 2.5) กลามเนื้อ external intercostal

ไมไดทําหนาท่ีในการขยับเคล่ือนซี่โครงเสมอไป

ระหวางท่ีหายใจเบาๆ กลามเนื้อ external intercostal

จะคอยพยุงซี่โครงจากการยุบเขาขางในขณะท่ีกระบังลมสราง

พ้ืนท่ีเพ่ือนําอากาศเขาสูปอด

กลามเน้ือทอง (The Abdominal Muscles)

ขณะท่ีเราหายใจ

หนาท่ีหลักของกลามเนื้อทองจะเกี่ยวของกับการยุบเขาเพ่ือห

ายใจออก

ดังเชนเวลาท่ีคุณพยายามเปาลูกโปงใหไดภายในลมหายใจเดี

ยว กลามเนื้อจะรวมตรงท่ีศูนยกลางอยางรวดเร็ว

กดผนังทองเขาขางในซึ่งทําใหอวัยวะภายในทองดันขึ้น

ไปตานกระบังลมท่ีผอนคลายอยู

ถารวมกันกับปฏิกิริยาของกลามเนื้อ internal intercostal

แลว การออกแรงนี้จะลดขนาดของโพรงหนาอก

ทําใหไลอากาศออกจากปอด

คุณสามารถรับรูถึงการทํางานของกลามเนื้อทองไดดวยการห

อปากใหเล็กลง

พรอมท้ังหายใจออกใหอากาศผานรูปากเล็กๆท่ีเหลืออยู

กลามเนื้อทองนั้นมีความสําคัญตอการฝกโยคะเพ่ือการหายใจ

อยางสงบ

และยังเปนปจจัยสําคัญของการฝกหายใจในหลายๆแบบอีกด

วย

กะบังลม

เพราะวาการหายใจดวยกะบังลมนั้น

จะถูกซอนอยูขางในตัวเรา

คนสวนมากเขาใจเพียงพ้ืนฐานวามันมีรูปรางอยางไรหรือมีกา

รทํางานอยางไร วิธีท่ีจะอธิบายไดงายท่ีสุดคือ

กระบังลมจะมีลักษณะเปนแผนทรงกลมท่ีประกอบไปดวยกลา

มเนื้อและเอ็นยึดซึ่งสามารถขยายไปไดท้ังตัว

และเปนสวนกั้นของโพรงหนาอกกับโพรงชองทอง (ตามรูป

2.6-2.9) ขอบของกระบังลมดานหนาจะติดกับฐานของซี่โครง

และดาน หลังจะติดกับกระเบนหน็บ

กระบังลมมีลักษณะคลายรม หรือถวยท่ีคว่ําลง

ยกเวนจะมีสวนท่ีเวาเขาไปอยูในตําแหนงท่ีเหมาะสม

กับแนวกระดูกสันหลัง กะบังลมประกอบไปดวย central

tendon, costal portion และ crural portion central tendon

จะอยูดานบนสุดของกะบังลมซึ่งจะลอยอยูอิสระ

จะมีแคเนื้อเยื่อกลามเนื้อของ costal และ crural portion

เทานั้นท่ีติดอยูกับซี่โครง ดังนั้น central tendon

เปนเพียงเอ็นเดียวในรางกายท่ีไมมีการยึดติดโดยตรงกับโครง

Page 12: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 12

กระดูก สวนท่ีใหญท่ีสุดของกะบังลมคือสวน costal portion

ซึ่งเนื้อเยื่อกลามเนื้อกระจายออกมาจาก central tendon

และมีสวนท่ีติดอยูรอบๆขอบดานลางของซี่โครง (ตามรูป 2.7-

2.9) crural portion ของกะบังลมประกอบดวย right crus

และ left crus

ซึ่งติดอยูกับสวนโคงดานหนาของกระเบนเหน็บ (ตามรูป 2.7-

2.8)

ถูกแบงโดยเสนเลือดแดงใหญท่ีผานจากชองอกจนถึงชองทอง

ดังนั้นสถาปตยกรรมของกะบังลม ทําใหเกิดการเคล่ือน ณ

สวนบนของ central tendon, ฐานของซึ่โครง และ

กระเบนเหน็บ หรือการผสมผสานของท้ังสามสวนนี้

รูป 2.6

ภาพดานหนาของหนาอกผาใหเห็นถึงกร

ะดูกซ่ีโครง 6 ซ่ีแรก, กระดูกไหปลารา

และกระดูกสันอก

ซ่ึงเห็นถึงอวัยวะภายในประกอบไปดวย

กลองเสียง, หลอดลม, ปอด

และโพรงเยื่อหุมปอด

ที่มีเสนเลือดสําคัญ ขางใน, โพรงเยื่อหุมหัวใจ, และเสนใยของเยื่อหุมหัวใจ

เปนภาพสวนบนดานหนาของระบบการหายใจ

และดานซายและขวาของเสนประสาทกะบังลม

โพรงเยื่อหุมปอดเปรียบเหมือนแผนบางๆสีขาวระหวางปอดและผนังขอ

งรางกาย และระหวางปอดและกะบังลม

คุณสามารถหาตําแหนงของ costal portion

ท่ีติดอยูไดโดยการเกี่ยวนิ้วของคุณไปท่ีใตซี่โครง costal

portion จะอยูท่ีขอบดานลาง costal portion

ดานหนาท่ีติดกับกระดูกสันอกจะอยูตําแหนงท่ีสูง

ซึ่งหากลองเล่ือนมือจับไปตามแนวขางของซี่โครง

ก็จะสัมผัสกับ costal portion ไดเชนกัน แตคุณจะไมรูสึกถึง

costal portion ทางดานหลัง

เพราะมีกลามเนื้อหลังสวนลึกบังอยู

เปนครั้งคราวท่ีคุณอาจจะรูสึกไดถึง crus

ท้ังสองขางของกะบังลม

ท่ีติดอยูกับกระดูกสันหลังสวนเอวขณะท่ีหายใจ

โดยเฉพาะคนท่ีมีรูปรางผอมจะรูสึกไดเมื่อนอนราบอยูกับพ้ืน

เพราะบางครั้งเอวจะโคงงอประมาณ 1 นิ้ว

หรือไมก็รูสึกท่ีผนังหนาทอง

นี่แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวากะบังลม

สามารถเวาเขาไปหาแนวกระดูกสันหลังไดมากเทาไร

รูป 2.7

แสดงถึงภาพของระบบหายใจดว

ยกะบังลม มันเปรียบเสมือน

ชามที่คว่ําลง ที่ดันเขาไปดานหน่ึง ดานที่ถูกดันเขาไปจะเปนรอยยุบ

ของลํากระดูกสันหลัง สวนกน

ชามจะเปนชองโหวที่เปดไวสําหรับหลอดอาหาร, หลอดเลอืดดํา

และหลอดเลือดแดง ตําแหนงชองวางใหญของโคงตรงกลางคือ Central

tendon ของกะบังลม เสนใยกลามเน้ือของกะบังลมจะอยูรอบๆ central

tendon เสนใยของ costal จะติดอยูรอบฐานของกระดูกซ่ีโครง

ดานซายและขวาของ crura จะติดอยูกับกระดูกสันหลังชวงเอว

(ระหวางและดานหนาของจุดเกาะตนของกลามเน้ือ Psoas)

กะบังลมเปนหนึ่งในกลามเนื้อท่ีนาสนใจและซับซอน

มากท่ีสุดของรางกาย เพราะมันเปนแผนกลามเนื้อบางๆ

สามารถรองรับอวัยวะรอบขาง เชน กระดูกซี่โครง, หัวใจ,

ปอด และอวัยวะภายในชองทอง

ท้ังการทํางานของกะบังลมยังขึ้นตออวัยวะตางๆ เหลานี้

เชนในกรณีของความสัมพันธระหวางกะบังลมกับผนังหนาอก

ฯลฯ ถึงแมวา costal portion

ของกะบังลมขยายไปจนถึงฐานของกระดูกซี่โครง ปอดท้ัง 2

ขางก็ไมเคยถูกดึงใหต่ําลงมาก

พ้ืนท่ีท่ีปอดไมเคยไหลลงมาเรียกวา เขตปรปกษ zone of

apposition (ตามรูป 2.9) พ้ืนท่ีสวนใหญของ costal portion

จะสัมผัสตรงกับพ้ืนผิวภายในของกระดูกซี่โครง

โดยมีเพียงแนวเล็กๆของโพรงเยื่อหุมปอดท่ีขวางระหวางกลา

ง หากพ้ืนผิวของกะบังลมไมล่ืน

มันจะไมสามารถขยับเคล่ือนไปตามกระดูกซี่โครงไดโดยงาย

และหลังคาของกะบังลมก็ไมสามารถเคล่ือนขึ้นหรือลงไดอยา

งราบล่ืนขณะท่ีเราหายใจ

รูป 2.8

แสดงถึงกะบังลมและกลามเน้ือชั้นลึกของ

รางกาย ผูวาดดึงเอาอวัยวะภายในออก

ตัดลิ้นปและซ่ีโครงสวนลางออก

ทําใหเห็นลักษณะโคง

คลายชามคว่ําอยางชัดเจน

การทํางานของกะบังลม

ในการวิเคราะหจุดเกาะตน

และจุดเกาะปลายของกลามเนื้อท่ีมีลักษณะคลายรมท่ีเวาเขาไ

ปอาจจะเปนเรื่องยากสักนิด

Page 13: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 13

แตเปนส่ิงท่ีเราตองทําเพ่ือใหเขาใจวาการทํางานของกะบังลม

ขณะท่ีหายใจและฝกอยูในทาเปนอยางไร

เราจะเริ่มจากเหตุการณท่ีงายท่ีสุดซึ่งจะเห็นไดจากทานอนหง

าย

ฐานของกระดูกซี่โครงและกระดูกบริเวณเอวเปรียบเสมือนจุดเ

กาะตนท่ีเคล่ือนไหวไมไดของกะบังลม สวน central tendon

จะเปรียบเสมือนจุดเกาะปลายท่ีเคล่ือนไหวได

หลังคาของถวย (รวมถึง central tendon)

จะเคล่ือนลงมาและอยูในแนวราบขณะท่ีหายใจเขา

มีแรงกดลงไปท่ีทองและสรางท่ีวางเล็กๆในชองอกเพ่ือท่ีจะเอ

าอากาศเขาไปในปอด

ในทางกลับกันหลังคาของกะบังลมจะดึงขึ้นขณะท่ีมีการหายใ

จออก

โดยมีการยืดหยุนของปอดเพ่ือขับอากาศออกสูภายนอก

รูป 2.9

แสดงถึงอวัยวะภายในทอง

กะบังลม

และกระดูกซ่ีโครงที่ถูกตัดออก

แสดงใหเห็นถึงเขตปรปกษ

ซ่ึงปอด

จะไมเคลื่อนลงมาจนถึงฐานซ่ีโ

ครง

แมจะสูดหายใจเขาเต็มปอด

เมื่อไหรก็ตาม ท่ีหนาอกและกระดูกสันหลังอยูกับท่ี

ซึ่งจะเกิดขึ้นขณะหายใจอยางสงบในทานอนหงาย

ขณะหายใจเขา

ดานโคงบนของกะบังลมจะถูกดึงลงตรงๆเหมือนลูกสูบ

ในขณะท่ีผนังหนาอกเปรียบเสมือนกระบอกสูบ

เนื้อเยื่อของกะบังลมจะหดตัวเขาสูศูนยกลางและ central

tendon ถูกดึงลง

ขณะท่ีนอนหงายหายใจออกเนื้อเยื่อกลามเนื้อคลายออกจากศู

นยกลาง ขนาดจะยาวขึ้น central tendon

จะถูกดันจากดานลาง พรอมๆกับมีแรงดึงจากดานบน

แรงดันจากดานลางนั้น มาจากอวัยวะภายในชองทอง

สวนแรงดึงจากดานบน

มาจากความยืดหยุนตัวของปอดท่ีดึงตัวกลับ

ผนังหนาทองท่ีผอนคลายอยูนั้น เมื่อเราหายใจเขา

หนาทองจะพองขึ้นเพราะกะบังลมเคล่ือนตัวลง

เมื่อเราหายใจออก หนาทองจะแฟบเขาหาตัว

เพราะกะบังลมผอนคลาย เคล่ือนตัวขึ้น

มีเพียงทานอนหงายและทากลับหัวเทานั้นท่ีจะทําใหเราเห็นก

ารทํางานของกะบังลมไดอยางชัดเจน

การหายใจเปนไปไดเพราะกะบังลม

แตคนเรียกชื่อมันวา การหายใจดวยทอง (abdominal

breathing) หรือ การหายใจดวยหนาทอง

เพราะเราเห็นและรูสึกไดถึงการเคล่ือนไหวของทอง

บางเรียกวา การหายใจอยางลึกดวยกะบังลม (deep

diaphragmatic breathing)

สอดคลองกับผลท่ีเกิดขึ้นบริเวณทองนอย หรือ

เราอาจจะเรียกวาเปน การหายใจดวยหนาทองและกะบังลม

(abdomino-diaphragmatic breathing)

เพ่ือบงบอกถึงการเคล่ือนลงของกะบังลม

ซึ่งไมใชเพียงการสูดอากาศเขาสูปอดเทานั้น

แตยังเปนการดันผนังทองดานลางใหพองขึ้นดวย

การหายใจดวยกะบังลมอีกชนิดหนึ่ง

จะทํางานแตกตางกันอยางมาก Galen

(แพทยโรมันในศตวรรษแรกและผูศึกษากลไกชีวภาพ)

ไดอธิบายกลไกการหายใจแบบนี้ไวเมื่อเกือบ 200

ปท่ีแลวไดอยางแมนยํา

ระหวางท่ีหายใจเขาการทํางานแรกของการหายใจแบบนี ้

ไมใชการดึงของกะบังลมเพ่ือขยายปอด

แตฐานของหนาอกจะยกขึ้นและขยายออก ท้ังทางดานขาง,

ดานหลัง และดานหนา

ซึ่งหากมีการตึงท่ีผนังหนาทองลางแมเพียงเล็กนอย

ความตึงนี้จะกีดขวางการเคล่ือนลงของกะบังลม

ความตึงนี้จะขัดขวางการบีบตัวของอวัยวะในทอง

แทนท่ีอวัยวะภายในทองจะหลีกทางใหกับกะบัลง

มันกลับทําหนาท่ีเปนจุดคานงัด

เปนคานบังคับกะบังลมใหดันกระดูกซี่โครงเคล่ือนออกไปดาน

นอก เคล่ือนฐานซี่โครงไปดานหนา, ดานหลัง และดานขาง

ในเวลาเดียวกันก็จะดึงอากาศเขาสูปอดสวนลาง

เราเคยเปรียบการหายใจดวยกลามเนื้อซี่โครงเสมือนกับปม

น้ําท่ีมีแขนโยก

การหายใจดวยกะบังลมจะเหมือนกับการหิ้วหูจับของถังน้ําขึ้น

จากเดิมท่ีมันพิงพักอยูขางถัง

ถาไมมีแรงตานจากอวัยวะของชองทอง

กะบังลมจะไมสามารถทํางานในลักษณะนี้ได โดยกลามเนื้อ

intercostal

จะทําหนาท่ีเพียงแคสนับสนุนการเคล่ือนไหวของกะบังลม

ไมถึงกับยกและขยายหนาอก

แตพยุงไมใหกรงซี่โครงปลอยลงระหวางการหายใจเขา

Page 14: Yoga Saratta -March 2554 (Vol.1103)

InputFile.doc 14

จุดเกาะตน

และจุดเกาะปลายของกะบังลมสําหรับการหายใจเขาดวยหนา

ทอง จะตางกันกับการหายใจเขาดวยกะบังลม

ถาจะเขาใจถึงความละเอียดออนของการทํางานเหลานี้

จะตองอธิบายความแตกตางระหวางการหายใจของท้ัง 2

ประเภท การหายใจดวยทองในทาศพและทาหกกลับ

จุดเชื่อมตอของ costal ท้ังสองขางจะอยูท่ีกระดูกซี่โครง

สวนจุดเชื่อมตอของ crural

จะอยูท่ีกระดูกสันหลังซึ่งเปรียบเสมือนตําแหนงจุดเกาะตน

มีเพียงบางสวนของกะบังลมท่ีสามารถเคล่ือนได

(ซึ่งหมายถึงจุดเกาะปลาย) คือ central tendon ของกะบังลม

ซึ่งสามารถเคล่ือนลงมาระหวางหายใจเขา

และเคล่ือนขึ้นไปทางศีรษะระหวางหายใจออก

เทียบกับการหายใจดวยกะบังลม central tendon

จะอยูกับท่ีเพราะมีแรงตึงของผนังหนาทองอยู

และทําหนาท่ีหลักเหมือนเปนจุดเชื่อมตอระหวางจุดเชื่อมของ

crura ท่ีกระดูกสันหลัง ซึ่งจะทําหนาท่ีเปนจุดเกาะตนท่ีอยูนิ่ง

สวนจุดเชื่อมของ costal

ท่ีฐานของซี่โครงจะทําหนาท่ีเปนจุดเกาะปลายท่ีเคล่ือนไหวได

โดยสรุปแลว

การหายใจเขาดวยกะบังลมจะทําใหกระดูกซี่โครงขยายขึ้นจา

กฐานลาง ตางกับการหายใจดวยหนาทองและกะบังลม

กระดูกซี่โครงจะอยูกับท่ี เราอาจเรียกการหายใจแบบนี้วา

การหายใจดวยอกและกะบังลม (thoraco-diaphragmatic

breathing) พึงระลึกวา ชื่อเรียก

การหายใจดวยกลามเนื้อทอง, การหายใจดวยหนาทอง,

การหายใจดวยกะบังลมอยางลึก และการหายใจดวยกะบังลม

นั้น ใชเรียกการหายใจตามปกติท่ัวไปมาเปนเวลานานแลว

แตชื่อเรียก การหายใจทอง-กะบังลม การหายใจทรวงอก-

กะบังลม ไมเคยมีปรากฏมากอนหนานี้

......................................................................................................

เดือน กุมภาพันธ 2554 มีผูบริจาคสนับสนุนการทํางานของสถาบันฯ ดังน้ี

ครูปญญวีร ชัยยะศิริสุวรรณ โรงพยาบาลจุฬา 1,000.- บาท

คุณอุบลพรรณ ฉัตรเจริญชัยกุล 1,000.- บาท

คุณพรทิพย อึงคเดชา เปล รุน 10 บริจาครายไดจากการจําหนายผาพันคอ 1,430.- บาท

ผูเขารวมฟงบรรยาย กิจกรรมของสวามีเวทะ ภาราตี รวมบริจาค 17,050.- บาท

เพ่ือนครู ท่ีเขารวมกิจกรรมจิตสิกขาประจําเดือนกุมภาพันธ 500.- บาท

ทีมงานสํานักงาน บริจาคใหสถาบันฯ 10,000.- บาท

สรุปยอดบริจาคประจําเดือนกุมภาพันธ 2554 ท้ังส้ิน 30,980.- บาท

สถาบันฯ รวมกับ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มศว จัด

หลักสูตรครูโยคะ 250 ชั่วโมง ป 2554 (รุนท่ี 11)

ทําความเขาใจวิชาการโยคะ ตําราดั้งเดิมวาไวอยางไร ทาอาสนะท่ีเราฝกมาจากไหน อาสนะในมุมมองของสรีรวิทยากายวิภาค

ปฏิบัติวิถีโยคะ โยคะบนเส่ือ และ โยคะนอกเส่ือ เพ่ือเขาถึงหัวใจแหงโยคะคือ การพัฒนาจิต ใหเปนสมาธิ

ศึกษาวิจัยโยคะ ทําความเขาใจโยคะผานหัวขอ คําถามวิจัย ของตนเอง การสอน การถายทอด การเผยแพรโยคะ ฯลฯ

พุธ 29 มิ.ย.17.30 – 20.00 น. ปฐมนิเทศ ท่ี มศว คณะมนุษยศาสตร ชั้น 6 หอง 262

ศุกร เสาร อาทิตย 1 – 3 ก.ค. เขาคายวิถีแหงโยคะ ท่ีสวนสันติธรรม ลําลูกกา คลอง 11

จันทร พุธ พฤหัส เสาร 4 ก.ค. – 26 ต.ค. ฝกปฏิบัติ เรียนทฤษฎี ท่ี มศว วันธรรมดา 17.30 – 20.00 เสาร 800-1300 น.

ศุกร เสาร อาทิตย 28 – 30 ต.ค. เขาคายกริยาโยคะ ท่ีสวนสันติธรรม

รับผูเรียนไมเกิน 28 คน คาลงทะเบียน 29,000 บาท (รวมคาคายท้ัง 2 ครั้ง และ ตําราเรียน)