12
การแนะนาบทเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (ว31104) ภาคเรียนที1 ปีการศึกษา 2558

การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

การแนะน าบทเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (ว31104)

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558

Page 2: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

ครูผู้สอน

นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ต าแหน่งคร ูคศ.1 วิชาเอกชีววิทยา ประวัติการศึกษา :

พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหิดล

พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ปัจจุบันก าลังศึกษาระดับปริญญาโทสาขาวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง

Page 3: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

เนื้อหาบทเรียน

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

บทที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

และความหลากหลายทางชีวภาพ

กลางภาค

ปลายภาค

Page 4: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ไบโอม ไบโอมบนบก/ไบโอมในน้ า

ความหลายหลากของระบบนิเวศ การศึกษาระบบนิเวศ/ระบบนิเวศแบบต่างๆ

ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ/สิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ

การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต/วัฏจักรสารในระบบนิเวศ

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ/ภาวะโลกร้อน/การท าลายโอโซนในบรรยากาศ

Page 5: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

โครงสร้างของเซลล ์ ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์/ไซโทพลาสซึม/นิวเคลียส

กล้องจุลทรรศน ์ กล้องจุลทรรศน์ใชแ้สง/กล้องจุลทรรศน์อเิล็กตรอน

การล าเลียงสารผ่านเซลล ์ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์/การสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์

กลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต น้ าในพืช/น้ าและสารต่างๆในร่างกาย/กรด-เบสในร่างกาย/น้ าและแร่ธาตุใน

สิ่งมีชีวิตอื่น/อุณหภูมิภายในร่างกาย ภูมิคุ้มกันของร่างกาย

การป้องกัน ท าลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม/ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

Page 6: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

บทที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความหลากหลายทางชีวภาพ ลักษณะทางพันธกุรรม โครโมโซมและสารพันธกุรรม การแบ่งเซลล ์

แบบไมโทซิส/แบบไมโอซิส

โครโมโซมกับการถ่ายทอดลักษณะทางพนัธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทางพนัธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

มิวเทชัน/การคัดเลือกโดยธรรมชาติ/การคัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โดยมนุษย์

เทคโนโลยีชีวภาพ พันธุวิศวกรรม/การโคลน/ลายพิมพ์ DNA

ความหลากหลายทางชีวภาพ สปีชีสข์องส่ิงมีชีวิต/ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

Page 7: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

เกณฑ์การประเมินผลการเรียน

คะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งเป็น กลางภาค 40 คะแนน : ปลายภาค 60 คะแนน กลางภาค 40 คะแนน แบ่งเป็น เก็บ 20 คะแนน : สอบ 20 คะแนน (open) ปลายภาค 60 คะแนน แบ่งเป็น เก็บ 40 คะแนน : สอบ 20 คะแนน (close) การตัดเกรด คะแนน

4.0 80 ขึ้นไป

3.5 75-79

3.0 70-74

2.5 65-69

2.0 60-64

1.5 55-59

1.0 50-54

0.0 49 ลงมา

Page 8: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

คะแนนเก็บ 60 คะแนน (กลาง open 20 : ปลาย close 40)

สมุดจดบันทึกในชั้นเรียน (5 คะแนน/คาบเรียน) ครูผู้สอนจะตรวจให้คะแนนทุกคร้ังภายหลังการสอนเสรจ็สิ้นโดยนักเรยีนทีส่่ง

ทันเวลาจะได้ 3-5 คะแนน แต่ถ้าส่งล่าช้าจะได้อย่างมากสุด 3 คะแนน

ชิ้นงานกลุ่ม/เดี่ยว (10 คะแนน) Mind map/สรุปเนื้อหา (5 คะแนน/บทเรียน) แบบเรียนส าเร็จรูป/ใบงาน/ใบกิจกรรมปฏิบัติการ (5 คะแนน/ชิ้น)

บทท่ี 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิง่มีชีวิต

บทท่ี 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

และความหลากหลายทางชีวภาพ

กลางภาค

ปลายภาค

Page 9: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

เทคนิคการจดบันทึกในสมุด

นักเรียนไม่จ าเป็นตอ้งลอกเนื้อหาบน Power point ทุกตัวแต่ขอให้ครบทุกหัวข้อที่เป็นประเดน็ส าคัญก็จะได้คะแนนสมุดเต็มเช่นเดียวกัน (สามารถใช้สัญลักษณ์ช่วยได้) ตัวอย่างเช่น

สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน แบง่เป็น 1. ผู้ผลิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะหด์้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะหเ์คมี เช่น แบคทเีรียสีเขียว 2. ผู้บริโภค หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหาร ไดแ้ก่ ผู้บริโภคสัตว์ ผูบ้ริโภคพืช ผูบ้ริโภคพืชและสัตว์ และ 3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร หมายถึง สิ่งมีชีวิตไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็นประโยชน์แก่พืช โดยการปล่อยน้ าย่อยออกมา และดดูซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์

สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธก์ัน

ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้โดยสังเคราะห์ด้วยแสง (พชื สหร่าย) /เคมี (แบคทีเรียสีเขียว)

ผู้บริโภค = ไมส่ามารถสรา้งอาหาร (ผู้บริโภคสตัว์ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว)์

ผู้ย่อยสลาย = ไมส่ามารถสร้างอาหาร (ปล่อยน้ าย่อยและดูดซึมสารเข้าสู่เซลล์)

การใช้สีจะช่วยในเรื่องการจดจ าและท าให้การจดบันทึด/วาดรูปน่าสนใจและมีความสวยงาม

Page 10: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

คะแนนสอบ 40 คะแนน (กลาง open 20 : ปลาย close 20)

ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือก : 0.5 คะแนน / ข้อ การออกข้อสอบส่วนใหญ่จะถามว่าข้อใดถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ,ถามว่ามีข้อความที่

ถูกต้องหรือไม่ถูกต้องกี่ข้อ ข้อสอบอัตนัยแบบเขียนบรรยาย : 5 คะแนน / ข้อ (ถ้าม)ี

การออกข้อสอบส่วนใหญ่จะถามถึงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาของแต่ละบทเรียนที่สอน

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต บทที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความหลากหลายทางชีวภาพ

กลางภาค

ปลายภาค

Page 11: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

ค าถาม/ข้อสงสัย ?

Page 12: การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์

ขอใหน้กัเรยีนทกุคนโชคดี !

ประสบความส าเรจ็ทางการเรยีนอย่างที่มุ่งหวงัไว ้

กล้วยไม้ออกดอกช้า ฉันใด การศึกษาเป็นไป เช่นนั้น แต่ดอกออกคราใด งามเด่น งานสั่งสอนปลูกปั้น เสร็จแล้ว แสนงาม หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล