22
โครงสร้างภายในของใบ Presented by Miss Nichatcha Aryowong Structure and functions of leaves

คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

  • Upload
    -

  • View
    3.901

  • Download
    10

Embed Size (px)

DESCRIPTION

โครงสร้างของใบพืช,ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช,สื่อการเรียนการสอน,สื่อการเรียนการสอนชีววิทยา

Citation preview

Page 1: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

โครงสร้างภายในของใบ

Presented by

Miss Nichatcha Aryowong

Structure and functions of leaves

Page 2: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

โครงสร้างภายในของใบ

จัดท าโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

1. Upper epidermis

มี cuticle เคลือบ

มีเซลล์คุม (guard cell)

Upper cuticle

มีคลอโรพลาสต์

Page 3: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

โครงสร้างภายในของใบ

จัดท าโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

2. Mesophyll 2.1 Palisade mesophyll

Page 4: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

โครงสร้างภายในของใบ

จัดท าโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

2. Mesophyll

2.2 Spongy mesophyll

Page 5: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

โครงสร้างภายในของใบ

จัดท าโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

3. Lower epidermis

มีเซลล์คุม (guard cell) มี cuticle เคลือบ Lower cuticle

Page 6: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

โครงสร้างภายในของใบ

จัดท าโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

4. Vein ประกอบด้วย Xylem and Phloem ล้อมรอบด้วย Bundle sheath

http://cnx.org/content/m47583/latest/?collection=col11569/latest

Page 7: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

C3 plant คือ พืชทั่วไป

bundle sheath ไม่ม ีchrolophyll

C4 plant คือ พืชเขตร้อน

สังเคราะหด์้วยแสงได้ดีเมื่อความเข้มแสงสูง bundle sheath มี chrolophyll

อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง บานไม่รู้โรย

ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ถั่ว พืชทั่วไป

Page 8: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช
Page 9: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

CAM พืชทะเลทราย (พืชอวบน ้า)

มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ใบมีขนาดเล็ก แวคิวโอลใหญ่ ไม่มีบันเดิลชีท ปากใบหุบเข้าด้านใน (ลดการคายน ้า)

https://sites.google.com/site/biosiwakorn/home/photosyn/co2/calvin/c3c4cam

Page 10: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

ทดสอบความเข้าใจ

Page 11: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

การเข้า – ออกของสารต่างๆ ผ่านทางปากใบ

Page 12: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

การคายน ้าของพืช

การคายน า (transpiration) ปากใบ (gas)

ผิวใบมีการคายน าได้น้อยมาก ………………………..

Page 13: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

ชนิดของปากใบพืช จ ำแนกตำมชนิดของพืชที่เจรญิอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่ำงๆ ได้ 3 แบบ คือ 1. ปากใบแบบธรรมดา (typical stomata) เป็นปำกใบของพืชทั่วไปโดยมีเซลลค์ุมอยู่ในระดับเดียวกับเซลลเ์อพิเดอร์มิส พืชที่ปำกใบเป็นแบบนี้เป็นพวกเจริญอยู่ในที่ๆ มีน้ ำอุดมสมบูรณ์พอสมควร (mesophyte)

http://biodiversity.forest.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=231:2011-12-05-07-19-

05&catid=25:the-project&Itemid=68

Page 14: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

2. ปากใบแบบจม (sunken stomata) เป็นปำกใบที่อยู่ลึกเข้ำไปในเนื้อใบเซลล์คุมอยู่ลึกกว่ำหรือต่ ากว่าชั น เซลล์เอพิเดอร์มิส พบในพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้ง (xerophyte) เช่น พืชทะเลทรำย พวกกระบองเพชร พืชป่ำชำยเลน (halophyte) เชน่ โกงกำง แสม ล ำพู เป็นต้น

Page 15: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

3. ปากใบแบบยกสูง (raised stomata) เป็นปำกใบที่มีเซลล์คุมอยู่สงูกว่าระดับเอพิเดอร์มิสทั่วไป เพื่อช่วยให้น้ ำระเหยออกจำกปำกใบได้เร็วขึ้นพบได้ในพืชที่เจริญอยูใ่นน้ ำที่ ที่มีน้ ำมำกหรือช้ืนแฉะ (hydrophyte)

Page 16: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

พืชคายน ้าได้อย่างไร

การคายน าคือการสูญเสียน าของพืชในรูปของไอน า น าที่พืชดูดขึ นไปจะใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพียงร้อยละ 1-2 เท่านั น น าส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 98-99

จะสูญเสียไปในรูปของการคายน า โดยน าเปลี่ยนเป็นไอและระเหยออกไป

Page 17: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

การเปิดปิดปากใบ

Page 18: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

การเปิดปิดปากใบ

ฮอร์โมนที่เก่ียวข้องกับการเปิดปิดปากใบ คือ ......................

Page 19: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

การทดลองเกี่ยวกับการคายน ้าของพืช

Page 20: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

กัตเตชัน (guttation) = การคายน ้าในรูปของหยดน ้า

ความชื นสัมพัทธ์ สูง หญ้า ใบบอน ใบข้าว มะเขือเทศ

บริเวณรูเปิดที่ผิวใบ (hydrathode)

Page 21: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

รอยแตกที่เปลือกไม้ (lenticel)

Page 22: คลิก Download โครงสร้างของใบพืช และปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช

ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน ้าของพชื 1. ชนิดของพืช พืชท่ีมีปากใบมากก็จะคายน ้าน ้ามาก แต่ถ้าพืชบางชนิดมีปากใบน้อย ก็จะมีการคายน ้าน้อย 2. อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิสูงพืชจะมีการคายน ้าได้ดีกว่าช่วงเวลาที่มีอุณหภูมิต่้า

3. ความชื นของอากาศ ในช่วงที่อากาศมีความชื นมากพืชจะมีการคายน ้าได้น้อย

4. แสงสว่าง ถ้ามีมากเกินไปปากใบพืชจะเปิด ท้าให้มีการคายน ้ามาก 5. ลม เนื่องจากลมจะพัดไอน ้าบริเวณผิวใบไป ท้าให้เพิ่มความแตกต่างของพลังงาน ที่ท้างานได้ของไอน ้า 6. ลักษณะโครงสร้างของใบ 7. ปริมาณน ้าในดิน

ประโยชน์ของการคายน ้า 1. ช่วยให้เกิดการล้าเลียงน ้าและธาตุอาหาร 2. ช่วยลดอณุหภูมิภายในล้าต้น 3. ช่วยเพิ่มความชุ่มชื นภายในผิวใบ