55
บทที 1 พันธุศาสตร์ เนื้อหา 3. คาศัพท์ทางพันธุศาสตร์ 2. การศึกษาของเมนเดล 1. ประวัติของเมนเดล จัดทาโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4. โจทย์พันธุศาสตร์ ภาพจาก http://midnight-midnight02.blogspot.com/2010/01/1_19.html

คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

  • Upload
    -

  • View
    9.269

  • Download
    5

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

บทท่ี 1 พันธุศาสตร ์

เนื้อหา

3. ค าศัพท์ทางพันธุศาสตร์

2. การศึกษาของเมนเดล

1. ประวัติของเมนเดล

จัดท าโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

4. โจทย์พันธุศาสตร ์

ภาพจาก http://midnight-midnight02.blogspot.com/2010/01/1_19.html

Page 2: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

จุดประสงค์การเรียนรู้

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/science04/27/contents/genetics-0735.html

ผลการเรียนรู้

1. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปราย อธิบาย และสรุปการค้นพบกฎการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของเมนเดล

Page 3: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

เพิ่มเติมรายละเอียด

ประวัติของเมนเดล

เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2427) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่ เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจ านวนพี่น้อง 3 คน ของครอบครัวชาวนาที่ยากจน โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับต าแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390

Page 4: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

เพิ่มเติมรายละเอียด

MENDEL AND THE GENE IDEA

เมนเดลไดศ้ึกษาการถ่ายทอดพันธุกรรม ซึ่งเป็นพื้นฐานส าคัญของสิ่งมีชีวิตโดยวิธกีารทางวิทยาศาสตร์ (Scientific methods) ทุกขั้นตอน ท าให้เกิดสาขาวิชาชวีวิทยาแขนงใหม่ เรียกว่า วิชาพันธุศาสตร ์(Genetics)

Page 5: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

เพิ่มเติมรายละเอียด

เมนเดลศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่ว 3 รุ่น คอืรุ่นพ่อแม่ ดอกสีม่วง และดอกสีขาว รุ่นลูกผสม F1 ดอกม่วงทั้งหมด และเมื่อ F1 ผสมกันเอง จะได้รุ่น F2 ซึ่งมีอัตราส่วนของดอกสีม่วง : สีขาว = 3:1

MENDEL’S EXPERIMENT

Page 6: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

เพิ่มเติมรายละเอียด

ตารางแสดงผลการทดลองของเมนเดล MENDEL’S EXPERIMENT

Page 7: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

เพิ่มเติมรายละเอียด

MENDEL’S CONCLUTION

1. การถ่ายทอดลักษณะหนึ่งลักษณะใดของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยปัจจัย (factor) เป็นคู่ๆ ต่อมาปัจจัยเหล่านั้นถูกเรียกว่า ยีน (gene) 2. ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ จะอยู่กันเป็นคู่ๆ และสามารถถา่ยทอดไปยัง รุ่นต่อไปได้ 3. ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียนีควบคุม 1 คู ่โดยมียีนหนึ่งมาจากพ่อและ อีกยีนมาจากแม่ 4. เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (gamete) ยีนที่อยู่เป็นคู่ๆจะแยกออกจาก กันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธ์ุของแต่ละเซลล์และ ยีนเหล่านั้นจะเข้าคู่กันได้

ใหม่อีกในไซโกต

Page 8: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

เพิ่มเติมรายละเอียด

MENDEL’S CONCLUTION

5. ลักษณะทีไ่ม่ปรากฏในรุน่ F1 ไม่ได้สญูหายไปไหนเพียงแต่ไม่สามารถ แสดงออกมาได ้6. ลักษณะทีป่รากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรียกวา่ ลักษณะเด่น (dominant) ส่วนลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 และ มีโอกาสปรากฏในรุ่นตอ่ไปได้นอ้ยกว่า เรียกว่า ลักษณะด้อย

(recessive) 7. ในรุ่น F2 จะได้ลักษณะเดน่และลักษณะด้อยปรากฏออกมาเป็น อัตราส่วน เด่น : ดอ้ย = 3 : 1

Page 9: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

• กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล (Mendel’s Law of Segregation)

มีใจความว่า “ ยีนแต่ละคู่ที่ควบคุมแต่ละลักษณะทางพันธุกรรม ของสิ่งมีชีวิต จะแยกตัวจากกันเป็นอิสระไปสู่เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์ ”

กฎของเมนเดล

Page 10: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

• กฎข้อที่ 2 ของเมนเดล (Mendel’s Law of Independent Assortment)

มีใจความว่า “ ในการสร้างเซลล์สบืพันธุ์ จะมีการรวมกลุ่มของหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม (ยีนเดียวของทุกยีน) ซึ่งการรวมกลุ่มนีเ้กดิขึ้นอย่างอิสระ ”

Page 11: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์
Page 12: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

กฎการถา่ยทอดทางพนัธุกรรม มี 2 ข้อ ได้แก ่• Law of segregation • Law of independent assortment

สรุป

Page 13: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

จีโนไทป์ และ ฟีโนไทป์

ลักษณะทั้ง 7 ของถั่วลันเตา

สีเมล็ด = สีเหลือง (เด่น) - สีเขียว (ด้อย)

ฟีโนไทป์

สีเมล็ด = YY , Yy - yy จีโนไทป์

homozygous dominant homozygous dominant heterozygous dominant homozygous dominant homozygous recessive heterozygous dominant

Page 14: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

วิธีการหาเซลล์สืบพันธุ์

ถั่วลันเตาต้นสูงพันธุ์แท ้ TT

ถั่วลันเตาต้นสูงพันธุท์าง Tt

ถั่วลันเตาต้นเตี้ย tt

สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 1 ชนิด คือ T

สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 2 ชนิด คือ

½ T และ ½ t

สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 1 ชนิด คือ t

Page 15: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ทดสอบความเข้าใจ

จงหาเซลล์สืบพันธุ์ของสิง่มีชีวิตที่มีจีโนไทป์ต่อไปนี ้

1. AA

2. Ff

3. gg

4. AABB

Page 16: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

วิธีการหาเซลล์สืบพันธุ์ วิธีการแตกกิ่ง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม สีเหลือง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม สีเหลือง พันธุ์แท ้

RRYY R Y RY

สรุป ...................................................

Page 17: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

วิธีการหาเซลล์สืบพันธุ์ วิธีการแตกกิ่ง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม สีเหลือง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม (พันธุแ์ท)้ สีเหลือง (พันธุท์าง)

RRYy R

½Y

½y

½ RY

½ Ry

สรุป ...................................................

Page 18: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

วิธีการหาเซลล์สืบพันธุ์ วิธีการแตกกิ่ง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม สีเหลือง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม (พันธุท์าง) สีเหลือง (พันธุ์แท)้

RrYY ½R

½r

½ RY

½ rY

สรุป ...................................................

Y

Y

Page 19: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

วิธีการหาเซลล์สืบพันธุ์ วิธีการแตกกิ่ง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม สีเหลือง

ถั่วลันเตาเมล็ดกลม (พันธุท์าง) สีเหลือง (พันธุ์ทาง)

RrYy ½ R

½ r

½Y

½y

½Y

1/4 RY

½y

1/4 Ry

1/4 rY

1/4 ry

สรุป ...................................................

Page 20: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

วิธีการหาเซลล์สืบพันธุ์ แบบใช้ตารางพันเนตต ์(Punnett’s Square)

Page 21: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ทดสอบความเข้าใจ

จงหาเซลล์สืบพันธุ์ของสิง่มีชีวิตที่มีจีโนไทปต์่อไปนี้

1. AABB

2. WwXX

3. ggMm

4. AABBCC

5. AABbCCDd

Page 22: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ความรู้เพิ่มเติม ตัวอย่างข้อสอบ O net

1. ข้อใดจัดเป็น Complete homozygous Dominant

ก. WwXX

ข. ggmm

ค. AABBCC

ง. AABbCCDd

Page 23: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ความรู้เพิ่มเติม ตัวอย่างข้อสอบ O net

2. ข้อใดจัดเป็น Complete heterozygous

ก. eeffgg

ข. AABbCC

ค. XxYyZz

ง. AaBBCc

Page 24: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ความรู้เพิ่มเติม ตัวอย่างข้อสอบ O net

3. สิง่มีชีวิตชนิดหนึ่งมีจโีนไทป์เป็น MMnnOoPp จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์

ได้กี่ชนิด ก. 4

ข. 6

ค. 8

ง. 16

Page 25: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ความรู้เพิ่มเติม (สูตรลัด)

สูตรการหาจ านวนชนิดของเซลล์สืบพันธุ์

จ านวนชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ = 2n

เมื่อ n คือ จ านวนคู่ของยีนที่มสีภาพเฮเทอโลไซกัส

Page 26: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์ การผสมโดยพิจารณา 1 ลักษณะ

เมนเดลท าการผสมถั่วลันเตา ฝักอวบ กับ ฝักแฟบ ซ่ึงมีสภาพเป็นโฮโมไซกัสทั้งคู่ จงหาอัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F2

(monohybrid cross)

วิธีท า ก าหนดให้ F แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะฝักอวบ f แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะฝักแฟบ

P : FF (ฝักอวบ) x ff (ฝักแฟบ) G : F f

F1 : Ff (ฝักอวบ)

Page 27: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์ การผสมโดยพิจารณา 1 ลักษณะ

ตัวอย่างที่ 1 เมนเดลท าการผสมถั่วลันเตา ฝักอวบ กับ ฝักแฟบ ซ่ึงมีสภาพเป็น โฮโมไซกัสทั้งคู่ จงหาอัตราสว่นจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกรุน่ F2

(monohybrid cross)

วิธีท า F1 : x Ff (ฝักอวบ) Ff (ฝักอวบ)

G : ½ F, ½ f ½ F, ½ f

F2 : ¼ FF, ¼ Ff, ¼ Ff, ¼ ff ¼ FF, 2/4 Ff, ¼ ff

Page 28: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์ การผสมโดยพิจารณา 1 ลักษณะ (monohybrid cross)

วิธีท า F2 : ¼ FF, 2/4 Ff, ¼ ff

ดังนั้น อตัราส่วนจีโนไทป์ของ F2 คือ FF : Ff : ff = 1 : 2 : 1

ดังนั้น อตัราส่วนฟีโนไทป์ของ F2 คือ ฝักอวบ : ฝักแฟบ = 3 : 1

ตัวอย่างที่ 1 เมนเดลท าการผสมถั่วลันเตา ฝักอวบ กับ ฝักแฟบ ซ่ึงมีสภาพเป็น โฮโมไซกัสทั้งคู่ จงหาอัตราสว่นจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกรุน่ F2

Page 29: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์ การผสมโดยพิจารณา 2 ลักษณะ

เมนเดลท าการผสมถั่วลันเตา เมล็ดกลม สีเหลือง กับ เมล็ดขรุขระ สีเขียว ซึ่งมีสภาพเป็นโฮโมไซกัสทัง้คู ่จงหาอัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F2

(dihybrid cross)

วิธีท า ก าหนดให้ R แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะเมล็ดกลม (เด่น) r แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะเมล็ดขรุขระ (ด้วย)

P : RRYY (กลม,เหลือง) x rryy (ขรุขระ,เขียว) G : RY ry

F1 : RrYy (กลม,เหลือง)

Y แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเหลือง (เด่น) y แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเขียว (ด้อย)

Page 30: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์ การผสมโดยพิจารณา 2 ลักษณะ (dihybrid cross)

วิธีท า F1 : x RrYy (กลม,เหลือง) RrYy (กลม,เหลือง)

G : ¼ RY, ¼ Ry, ¼ rY, ¼ ry ¼ RY, ¼ Ry, ¼ rY, ¼ ry

F2 :

เมนเดลท าการผสมถั่วลันเตา เมล็ดกลม สีเหลือง กับ เมล็ดขรุขระ สีเขียว ซึ่งมีสภาพเป็นโฮโมไซกัสทัง้คู ่จงหาอัตราส่วนจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F2

ใช้ตารางพันเนตต์ (Punnett’s Square)

Page 31: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

¼ RY

¼ Ry ¼ rY ¼ ry ¼ RY

¼ Ry

¼ rY

¼ ry

1/16 RRYY 1/16 RRYy 1/16 RrYY 1/16 RrYy

1/16 RRYy 1/16 RRyy 1/16 RrYy 1/16 Rryy

1/16 RrYY 1/16 RrYy 1/16 rrYY 1/16 rrYy

1/16 RrYy 1/16 Rryy 1/16 rrYy 1/16 rryy

Page 32: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

R_Y_

สรุป

กลม,เหลือง = 9 R_yy กลม,เขียว = 3 rrY_ ขรุขระ,เหลือง = 3 rryy ขรุขระ,เขียว = 1

อัตราส่วนจีโนไทป์ของ F2 มี 16 แบบ คือ อัตราส่วนฟีโนไทป์ของ F2 มี 4 แบบ คือ

Page 33: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือ

กฏของเมนเดล

1. ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)

หมายถึง ยีนเด่น ข่ม ยีนด้อยไม่สมบูรณ์

Page 34: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์

ในการผสมดอกลิ้นมังกร ดอกสีแดง กับดอกสีขาว พันธุ์แท้ทั้งคู ่จงหาอัตราส่วน จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกรุ่น F2 เมื่อก าหนดให้อัลลีนที่ควบคุมลักษณะสีดอก มีลักษณะ incomplete dominant

วิธีท า ก าหนดให้ R แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะดอกสีแดง r แทน อัลลีนที่ควบคุมลักษณะดอกสีขาว

P : RR (แดง) x rr (ขาว) G : R r

F1 : Rr (ชมพู)

Page 35: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์

วิธีท า F1 : x Rr (ชมพ)ู Rr (ชมพู)

G : ½ R, ½ r ½ R, ½ r

F2 : ¼ RR, ¼ Rr, ¼ Rr, ¼ rr ¼ RR, 2/4 Rr, ¼ rr

Page 36: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

โจทย์พันธุศาสตร์

F2 : ¼ RR, 2/4 Rr, ¼ rr

ดังนั้น อตัราส่วนจีโนไทป์ของ F2 คือ RR : Rr : rr = 1 : 2 : 1

ดังนั้น อตัราส่วนฟีโนไทป์ของ F2 คือ

สีแดง : สีชมพ ู: สีขาว = 1 : 2 : 1

Page 37: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือ

กฏของเมนเดล

2. การข่มร่วมกัน (Co-dominant)

หมายถึง อัลลีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันเป็นลักษณะ

เด่นทั้งคู่

เช่น หมู่เลือดระบบ ABO

Page 38: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

หมู่เลือดระบบ ABO

มีอัลลีน 3 ชนิด คือ IA IB และ i

IA คือ อัลลีนที่ควบคุมการสร้างแอนติเจนชนิด A บน RBC

IB คือ อัลลีนที่ควบคุมการสร้างแอนติเจนชนิด B บน RBC

i คือ อัลลีนที่ไม่มีการสร้างแอนติเจนชนิด A และ B

บน RBC

Page 39: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

IA

IB

IAIB

Page 40: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

IA

i

IAi

Page 41: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

i

IB

IBi

Page 42: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

i

i

ii

IA = IB > i

Page 43: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

หมู่เลือด (ฟีโนไทป)์ จีโนไทป์

A

B

AB

O

IAIA IAi IBIB IBi IAIB ii

Page 44: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ตัวอย่างโจทย์ พ่อ หมู่เลือด เอบี แม่หมู่เลือด โอ จงหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูก

วิธีท า

P : IA IB G : ½ IA , ½ IB

F1 : ½ IAi , ½ IBi

x

ก าหนดให้ IA แทน อัลลีนที่ควบคุมการสร้างแอนติเจนชนิด A บน RBC ก าหนดให้ IB แทน อัลลีนที่ควบคุมการสร้างแอนติเจนชนิด B บน RBC ก าหนดให ้i แทน อัลลีนที่ไม่มีการสร้างแอนติเจนชนิด A และ B

ii i

ดังนั้น จีโนไทป์ของลูก คือ IAi : IBi = 1 : 1

ดังนั้น ฟีโนไทป์ของลูก คือ A : B = 1 : 1

Page 45: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ตัวอย่างโจทย์ จงหาจีโนไทป์ของพ่อและแม่ เมื่อพบว่าลูก 4 คน มีหมู่เลือดไม่เหมือนกันเลย

วิธีท า หมู่เลือดของพ่อ หมู่เลือดของแม ่ หมู่เลือดของลูก

IAIA IAIA

IAi

IAIA IBIB IBIB IBIB

ii ½IAi , ½ii IBi ii ½IBi , ½ii IAIA IBi ½IAIB , ½IAi IAi IBi ¼IAIB , ¼IAi, ¼IBi , ¼ii

Page 46: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ดังนั้น จีโนไทป์ของพ่อและแม่ คือ IAi และ IBi

Page 47: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

มัลติเปิลอัลลีน (Multiple alleles)

หมายถึง

อัลลีน มากกว่า 2 ตัว ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมเดียวกัน

เช่น ยีนที่ควบคุมระบบหมู่เลือด ABO มีอัลลีน 3 ตัว คือ IA IB และ i

Page 48: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

พอลิยีน (Polygene)

หมายถึง

ยีนตั้งแต่ 2 คู่ขึ้นไป ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมเดียวกัน

เป็นการควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม

ทีมีความแปรผันต่อเนื่อง

เช่น สีผิว สีตา น้ าหนัก ความสูง สีเมล็ด

ปริมาณการให้น้ านม

Page 49: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

หมายถึง

ยีนตั้งแต่ 2 คู่ขึ้นไป ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมเดียวกัน

Page 50: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ตัวอย่างโจทย์ จงหาอัตราส่วนฟีโนไทป์และจีโนไทป์ของ Bพ่อ หมู่เลือด เอบี แม่หมู่เลือด โอ จงหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูก

วิธีท า

P : IA IB G : ½ IA , ½ IB

F1 : ½ IAi , ½ IBi

x

ก าหนดให้ IA แทน อัลลีนที่ควบคุมการสร้างแอนติเจนชนิด A บน RBC ก าหนดให้ IB แทน อัลลีนที่ควบคุมการสร้างแอนติเจนชนิด B บน RBC ก าหนดให ้i แทน อัลลีนที่ไม่มีการสร้างแอนติเจนชนิด A และ B

ii i

ดังนั้น จีโนไทป์ของลูก คือ IAi , ½ IBi = 1 : 1

ดังนั้น ฟีโนไทป์ของลูก คือ A : B = 1 : 1

Page 51: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ยีนที่อยู่บนโครโมโซมเดียวกัน

ผสมพืชตระกูลถ่ัว

ดอกสีม่วง ละอองเรณูรี (ลักษณะเด่น)

ดอกสีแดง ละอองเรณูกลม (ลักษณะด้อย)

อัตราส่วนฟีโนไทป์ของ F2 ?

Page 52: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ม่วง,ร ี = 9 ม่วง,กลม = 3 แดง,ร ี = 3 แดง,กลม = 1

อัตราส่วนฟีโนไทป์ของ F2 มี 4 แบบ

Page 53: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ยีนที่อยู่ติดกันบนโครโมโซมเดียวกัน เรียกว่า ลิงค์ยีน(linked gene)

ผลไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล

โดยผลที่ได้ คือ 13.5 : 1 : 1 : 2.6

สภาพการณ์ของยีนที่อยู่ติดกันบนโครโมโซมเดียวกัน มีแนวโน้มเคลื่อนย้ายไปด้วยกัน เรียกว่า ลิงเกจ

(linkage)

Page 54: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์

ยีนที่เป็นลิงเกจกัน จะเคลื่อนย้ายไปด้วยกัน ตลอดเวลา แต่ไม่ถาวรเสมอไป

ปรากฏการณ์ครอสซิงโอเวอร์

(Crossing over)

Page 55: คลิก Download บทที่ 1 พันธุศาสตร์