27
การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation)

การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

การปฏริ ูปศาสนา(Religious Reformation)

Page 2: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

จ ัดท ำาโดย1. นางสาวณภาภัช ประชาอนุวงศ์

ม.6.5 เลขที่ 12. นางสาววรินธร ลิมปนากร ม.

6.5 เลขที่ 33เสนอ

อาจารย์ปรางคส์วุรรณศักด์ิโสภณกุล

วิชา ส33101 สงัคมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปกีารศึกษา

2557โรงเรียนสตรีวิทยา

Page 3: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

การปฏิร ูปศาสนา มีสาเหตุ สำาคญัมาจากความเสือ่มความนิยมในผูน้ำาทางศาสนา

และการเกิดแนวคดิใหม่เก่ียวกับศาสนา เนื่องจากมี การศึกษาคมัภีร์ไบเบิลและแปลออกเปน็ภาษาต่างๆ

เชน่ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ทำาให้คริสต์ ศาสนิกชนมีความรู้ความเข้าใจใหม่ การปฏิรูป

ศาสนาจึงเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศ โดยมีผูน้ำาการปฏิรูปหลายคนและใชช้ือ่แตกต่างกัน

Page 4: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

การปฏิรูปคริสต์ศาสนา หมายถึง ขบวนการ ในยุโรปตะวันตกที่ปจัเจกชนและสถาบนัต่างๆ

แสดงความเห็นคดัคา้นการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตาม หลักในคัมภีร์ไบเบลิ การปฏิรูปเปน็ไปอย่าง ต่อ

เนื่อง จนในที่สุดคริสต์ศาสนาในยุโรปได้แตกแยก เป็น 2 นิกาย คือโรมันคาทอลิกและ โปรเตสแตนต์

Page 5: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

การปฏิร ูปศาสนา (Religious Reformation) การปฏิรูปศาสนาเริ่มขึ้นประมาณ ค.ศ. 1500 มี

ผลให้อิทธิพลของศาสนาคริสต์ที่ครอบงำาดินแดน ต่างๆ ในยุโรปนานหลายศตวรรษเสือ่มสลาย จุดเริ่ม

ต้นของการปฏิรูปศาสนาเกิดจากนักมนษุย์นิยมในดินแดนยุโรปกลุ่มหนึ่งได้วิพากย์ถึงความเสือ่มของ

สถาบนัศาสนา และเสนอแนวทางแก้ไข แต่ศาสนจักร ไม่ยอมรับความคดิและข้อเสนอแนะ จึงเกิดความ

แตกแยกและนำาไปสูก่ารปฏิรูปศาสนา

Page 6: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

สาเหต ุของการปฏิร ูปศาสนา ปลายสมัยกลาง ศาสนาคริสต์ถึงแก่ความเสื่อม

เนื่องจากประชาชนเบือ่หนา่ยวิธีดำารงชีวิตด้วยความ ฟุ้งเฟ้อและการซื้อขายตำาแหน่งของพระชั้นผูใ้หญ่ นอกจากนี้กลุ่มชาตินิยมที่ก่อตัวขึ้นในดินแดนต่างๆ

ในช่วงปลายสมัยฟิวดัลก็ดำาเนินการต่อต้านอำานาจทางการเมืองของสันตะปาปาที่ครอบงำากษัตริย์และผู้

ปกครองดินแดนต่างๆ ในยุโรป

Page 7: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

การแสดงความคดิต่อต้านอำานาจของสันตะปาปาและ คริสตจักรเริ่มขึ้นในดินแดนเยอรมณี ซึ่งขณะนั้นอยู่

ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธิท์ี่กำาลังเสื่อมอำานาจและมีการก่อตัวของกลุ่มชาตินิยม

ในแคว้นต่างๆ กลุ่มชาตินิยมเยอรมันได้วิพากย์วิธกีารเรี่ยไรเงินของสันตะปาปาเพื่อนำาเงินไปก่อสร้างวิหารเซนต์ปเีตอร์ (St. Peter) ในกรุงโรม โดยวิธกีารขาย

บตัรไถ่บาปว่าเปน็สิง่ที่ไม่ถูกต้อง ผู้นำาในการต่อต้าน คอืมาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther) นักบวชชาว

เยอรมันซึ่งเป็นผู้ที่เคร่งศาสนาและเห็นว่าวิธีการจ่าย เงินเพื่อไถ่บาปเปน็สิง่หลอกลวงประชาชน

Page 8: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

มหาวิหารนักบญุเปโตรจากภาพเขียนโดยวิวีอา

โน โกดัซซี (Viviano Codazzi) เมื่อ ค.ศ. 1630 หอสองหอที่เห็นในภาพถูกรี้อภายหลัง

รูปจากทางอากาศของ

มหาวิหารนักบุญเปโตร

Page 9: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

ใน ค.ศ. 1520 ลูเธอร์ ได้พิมพ์หนังสือเผยแพร่ความคิดต่อต้านพฤติกรรมของสันตะปาปาถึง 3 เล่ม

แนวคิดของเขาได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางเป็นเหตุให้สันตะปาปาลีโอที่ 10 (Leo X) ประกาศขับ

ไล่เขาออกจากศาสนา และให้จักรวรรดิชาลล์ที่ 5 (Charles V) แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธิ์ลงโทษลูเธอร์ว่าเปน็บคุคลนอกกฎหมาย

Page 10: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

แต่ลูเธอร์ได้รับการคุม้ครองจาก เจ้าชายเฟรเดอริก ผู้ ปกครองแคว้นแซกซอนี (Saxony) ซึ่งมีแนวคิดแบบ

ชาตินิยม จึงรอดพ้นจากการลงโทษ และสามารถ เผยแผ่คริสต์ศาสนาตามแนวทางของเขา โดยการ

แปลคมัภีร์ไบเบิ้ลเป็นภาษาเยอรมันทำาให้ความรู้ด้าน ศาสนาแพร่หลายและแยกเปน็นิกายใหม่ เรียกว่า

“โปรเตสแตนต์” (Protestant)

Page 12: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

แนวความคดิถูกแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วและเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิรูปศาสนาไปทั่วยุโรปปฏิกิริยาตอบโต้ของศาสนจักรโรมันคาธอลิก1. การจัดตั้งสมาคมเยซูอิทซ์ ให้ศึกษาให้แก่บตุร

หลานชาวคาธอลิก เพื่อจะได้ไม่เปลี่ยนไปเป็น Protesstant

2. การจัดตั้งศาลพิเศษทางศาสนา เพื่อต่อต้านการกระทำาของพวกนอกรีต

มีการลงโทษอย่างรุนแรง เช่นการเผาทั้งเปน็

Page 13: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

3. การประชมุทางศาสนาที่เมืองเทรนท์ มีผลดังนี้คือ- สนัตะปาปาคือประมุขของศาสนา- คำาภีร์ไบเบลิต้องเขียนเปน็ภาษาละติน- ห้ามขายตำาแหนง่ทางศาสนาและห้ามขายใบไถ่บาป- ไม่ให้คนที่ไมม่ีความรู้มารับตำาแหนง่ราชาคณะ- ขึ้นบญัชหีนังสือต้องห้ามซึ่งเป็นของพวกนอก

ศาสนา หนังสอืต้องห้ามจะถูกทำาลายผู้แต่งจะถูกเผาทั้งเปน็

Page 14: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

กองฟืนที่เตรียมไว้เผาทั้งเป็น

พวกโปรเตสแตนต์ที่ยอมตาย

เพื่อรักษาความเชือ่ตน

มาร์ติน ลูเธอร์(Martin Luther)

Page 15: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

การปฏิร ูปศาสนจักร เมื่อเกิดการปฏิรูปศาสนาในดินแดนสว่นต่าง ๆ

ของยุโรป คริสตจักร ที่กรุงโรมได้พยายาม ต่อต้านปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยวิธีต่าง ๆ ได้แก่

1. ศาสนจักรได้จัดการประชุมดังกล่าวใชร้ะยะเวลา ถึง 18 ปี สิ้นสดุใน

ค.ศ.1563 โดยมีบทสรุปดังนี้

Page 16: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

1) สันตะปาปาทรงเปน็ประมุขของคริสต์ศาสนา2) การประกาศหลักธรรมทางศาสนาต้องใช้

ศาสนจักรเป็นผู้ประกาศ แก่ศาสนกิชน

3) คัมภีร์ไบเบลิต้องเปน็ภาษาละติน4) ยกเลิกการขายใบยกโทษบาปและตำาแหน่ง

ทางศาสนา มีการกำาหนด ระเบยีบวินัย มาตรฐานการศึกษาของพระ และให้ใช้ภาษาพื้นเมืองในการสอน ศาสนา

Page 17: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

2. ศาสนจักรได้ตั้งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอก ศาสนา โดยศาลศาสนาพิจารณาความผดิของพวก

นอกศาสนาคาทอลิก และชาวคาทอลิกที่มีความคิด เห็นแตกต่างจากศาสจักร ซึ่งมีการลงโทษโดยการเผา

คนผิดทั้งเป็นการต่อต้านการปฏิรูปศาสนาของคริสตจักรที่

กรุงโรมกระทำาได้ผล คอื นิกายโรมันคาทอลิกสามารถป้องกันไม่ให้ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกหันไป

นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดึงศาสนกิชนโปรเตสแตนต์ให้กลับมานับถือนิกายโรมันคาทอลิกได้

Page 18: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

3. การปรับปรุงระเบยีบวินยัของนกับวชและตั้งคณะ นักบวชเพื่อการปฏิรูป เชน่ คณะเยซูอิต ตั้งขึ้นใน

ค.ศ. 1534 เพื่อจัดตั้งโรงเรียนสอนศาสนาและเผยแผ่ศาสนาไปยังประเทศต่างๆ

Page 19: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

การประชุมสงัคายนาแห่งเทรนต์(Council of Trent) ระหว่าง ค.ศ. 1545-1547 และ ค.ศ. 1562-1563 เพื่อ กำาหนดระเบียบวินัยภายในคริสตจักร

Page 20: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

คณะเยซูอิต (The Jesuit) ก่อตั้งโดย ชาวสเปนชือ่ Ignatius Loyolaและได้รับ

การรับรองโดยพระสนัตะปาปาพอลที่ 3 เป็นสุดยอดของสมาคมลับในคริสตจักรคาทอลิคที่จะเข้าไปแทรกซึมกลุ่มโปรเตสแตนต์

Page 21: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

ผลกระทบของการปฏิร ูปศาสนาต่อพัฒนาการของย ุโรป

1. การประกาศแยกตัวของกลุ่มโปรเตสแตนด์ในดินแดนเยอรมณีก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำาคญั

ต่อพัฒนาการของยุโรป คือ เกิดการแตกแยกของ ศาสนาคริสต์ และการพัฒนารัฐชาติในยุโรป

คริสต์ศาสนาแบ่งออกเป็น 2 นิกาย คอื นิกาย โรมันคาทอลิก และ นิกายโปรเตสแตนต์

Page 22: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

- นิกายโรมนัคาทอลิก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มี สันตะปาปาเป็นประมุข

- นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนกิายต่างๆ ได้แก่ นิกายลูเธอร์แรน นิกายคาลวิน นิกายแอ งกลิคนั เป็นต้น ( ส่วนนกิายออร์ทอดอกซ์ แยกตัว

ไม่ขึ้นกับสนัตะปาปา ใน ค.ศ. 1045 โดยมีสังฆราช ที่เรียกว่า PATRIARCH เปน็ประมุข ซึ่งแพร่หลาย

ในกรีซ รัสเซีย เซอร์เบยี โรมาเนีย บัลแกเรีย) ทำาให้ความเปน็เอกภาพทางศาสนาสิน้สุดลง

Page 23: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

2. เกิดการกระตุ้นให้ศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนา มากยิ่งขึ้นในหมู่สามัญชน มีการ เผยแผ่คริสต์ศาสนา

ไปยังดินแดนต่างๆนอกทวีปยุโรป เชน่ อเมริกา เอเชียและแอฟริกา3. เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆ เนื่องจาก

นิกายโปรเตสแตนต์ส่งเสริมวัฒนธรรม ท้องถ่ิน และส่งเสริมให้อำานาจแก่ผูป้กครองในท้องถ่ินเปน็ตัวแทน

ของพระเจ้าในการปกครอง ประเทศ4. เกิดสงครามศาสนาในยุโรปหลายครั้ง ส่งผลให้

สถาบนักษัตริย์มีอำานาจเหนือคริสตจักร ในที่สุด

Page 24: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

สร ุปสาเหตุการปฏิร ูปศาสนา1. ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปาที่กรุงโรม พระ

และบาทหลวงที่มีความเป็นอยู่อย่าง ฟุ่มเฟือย หรูหรา ทั้งยังเรียกเก็บภาษีบำารุงศาสนาสูงขึ้น เพื่อ

นำาเงินไปใชจ้่ายในคริสตจักรใน กรุงโรม รวมทั้งการซื้อขายตำาแหน่งของพวกบาทหลวงและความ

เสื่อมเสียในจริยวัตรของ สันตะปาปาที่ครองอำานาจ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15-16

Page 25: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

2. เจ้าผูค้รองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเปน็อิสระ จากคริสตจักรที่มีสันตะปาปาเปน็ ผู้ปกครอง และ

จากจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธิ์ เนื่องจากสันตะปาปาเข้าไปยุ่งเก่ียว และใช้อำานาจ

ทางการเมือง3. การศึกษาในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทำาให้ชาว

ยุโรปเห็นว่ามนุษย์สามารถทำาความ เข้าใจคมัภีร์ไบเบิลได้ด้วยตนเองมากกว่าที่จะผ่านพิธีกรรมของศาสนจักร

Page 26: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

4. สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 (JULIUS II) และ สันตะปาปาลีโอที่ 1 ต้องการหาเงินในการ ก่อสร้าง

มหาวิหารเซนต์ปเีตอร์ที่กรุงโรม จึงส่งคณะสมณทูต มาขาย “ใบไถ่บาป” ในดินแดน เยอรมนี เนื่องจาก

เปน็แนวคดิของชาวคริสต์ว่า พระเปน็เจ้าส่งพระเยซู คริสต์มาชว่ยมนุษย์ให้พ้น จากบาป เรียกว่า การ

ไถ่บาป (REDEMPTION) ด้วยการเสียสละพระชนม์ ชีพ การไถ่บาปจะเปน็การ เปดิทางให้มนุษย์ได้รับ

การอภัยโทษ และกลับมามีความสัมพันธ์กับพระเจ้า และเพื่อนมนุษย์ได้ อย่างถูกต้อง

Page 27: การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation

จบการนำาเสนอขอบคณุคะ่