29
Business Research Method 100-009 วิธีการวิจัยทางธุรกิจ [.นิธินพ ทองวาสนาสง] การกําหนดปญหาและ การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย

4 การทบทวนเอกสาร

Embed Size (px)

Citation preview

Business Research Method

100-009

วิธีการวิจัยทางธุรกิจ

[อ.นิธินพ ทองวาสนาสง]

การกําหนดปญหาและ

การทบทวนวรรณกรรมในการวจิยั

หัวขอสําคัญในบท

2

• แหลงที่มาของปญหาการวิจัย

• หลักเกณฑในการเลือกปญหาการวิจัย

• การต้ังชื่อโครงการวิจัย

• การกําหนดวัตถุประสงคสําหรับการวิจัย

• สาระที่สําคัญในการทบทวนวรรณกรรม

• ความหมายของวรรณกรรม

• การทบทวนวรรณกรรม (Review literature)

• ประโยชนของการทบทวนวรรณกรรม

• แหลงของวรรณกรรมที่เก่ียวของ

• ขอเสนอแนะในการทบทวนวรรณกรรม

• หลักการเขียนวรรณกรรมที่เก่ียวของ

• สรุปการทบทวนวรรณกรรม

• การเขียนเอกสารอางอิง

• เอกสารตาง ๆ เชน ตํารา บทความ

• งานวิจัยของผูอื่น

• บทคัดยอ

• ประสบการณ

• ขอเสนอของผูรู

• การวิเคราะหแนวโนมของเหตุการณในสังคม

• การจัดสัมมนา

• จากสถาบันตาง ๆ

3

แหลงท่ีมาของปญหาการวิจัย

3

• คํานึงถึงความสนใจของตนเอง

• ใหตรงกับความสามารถของตนเอง

• ใหเปนปญหาใหม ๆ

• คํานึงถึงเวลา

• สภาพแวดลอม

4

หลักเกณฑในการเลือกปญหาการวิจัย

4

• ตรงประเด็น

• สั้น ๆ ใชภาษาเขาใจงาย

• ใชคําท่ีบงบอกวาเปนการวิจัยลักษณะใด

• ใชคํานาม เชน การเปรยีบเทียบ การสํารวจ การวิเคราะห

• ขอความควรเรียงใหไดคําท่ีสละสลวย

5

การตั้งชื่อโครงการวิจัย

5

• เขียนเปนประโยคคาํถาม

• เขียนเปนประโยคบอกเลา

• เขียนเปนประโยคบอกเลาแลวตามดวยประโยคคําถาม

• เขียนเปนสมมุติฐาน

6

การกําหนดวัตถุประสงคสําหรับการวิจัย

6

• ความหมายของวรรณกรรม

• จุดมุงหมายของการทบทวนวรรณกรรม

• ประโยชนที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรม

• แหลงของวรรณกรรมที่เก่ียวของ

• ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวของ

• หลักการเขียนวรรณกรรมที่เก่ียวของ

7

สาระท่ีสําคัญในการทบทวนวรรณกรรม

7

• วรรณกรรม (Literature) หมายถึง สื่อสิ่ งพิมพต างๆ ท่ี

รวบรวมไวอยางเปนระเบียบ เปนประโยชนในการศึกษา โดย

สิ่งพิมพตองเปนท่ีนาเชื่อถือได เชน หนังสือ วารสาร จดหมาย

เหตุ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ Encyclopedia เอกสารท่ี

เก่ียวกับทฤษฎีท่ีใชในการวิจัย เปนตน

8

ความหมายของวรรณกรรม

8

• เพ่ือจะอางอิงทฤษฎีผลการวิจัยที่เปนพ้ืนฐานในการศึกษาเพ่ือการวิจัย

• วรรณกรรมท่ีเก่ียวของเปนกรอบของคําถามการวิจัยหรือสมมติฐานการวิจัย ซ่ึงเกี่ยวของกับ 4 เรื่องใหญคือ

o ทฤษฎี (Theory): ทฤษฎีหลัก (Grand Theory) และทฤษฎีท่ีทดสอบกับสภาพจริงแลว (Grounded Theory)

o รูปแบบ (Model): ถาไมมีทฤษฎีรองรับ อาจหารูปแบบ (Model) มารองรับได

o การวิจัยเริ่มแรก (Empirical research): นําผลสรุปจากการวิจัยมาเปนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ

o ความเกี่ยวของของทฤษฎีและการวิจัย แบงเปน 2 ประเภท

• Theory-then-Research

• Research-then-Theory

9

การทบทวนวรรณกรรม (Review literature)

9

Theory-then-Research ประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ มีโครงสรางทฤษฎีหรือรูปแบบอยูแลว อาจเปน Grand theory หรือ Grounded theory

โดยระบุทฤษฎีใหชัดเจนวามีรายละเอียดอยางไร

เลือกทดสอบวาปรากฏการณที่มีอยูนั้นสอดคลองกับทฤษฎีหรือไม หากไมสอดคลองใหระบุวา

อะไรแตกตางออกไป (ผูวิจัยอาจไดขอคนพบใหม)

การออกแบบการวิจัย เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูลและเพ่ือสรุปผล

ตรวจสอบวาจะยอมรับหรือปฏิเสธทฤษฎีนั้น พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ

ทําการพัฒนาทฤษฎีตอไปดวยกระบวนการวิจัย

10

การทบทวนวรรณกรรม (Review literature)

10

Research-then-Theory ขั้นตอนมีดังนี้ ศึกษาปรากฏการณที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยการวิจัยเชิงสํารวจ หรือการสืบคนเชิง

ธรรมชาติ

ทําการวัดและประเมินผลปรากฏการณที่เกิดขึ้นโดยอาศัยกระบวนการวิจัยต้ังแตการกําหนด

ตัวแปร และออกแบบเคร่ืองมือชี้วัด

วิเคราะหผลที่เกิดขึ้น

นําผลสรุปไปสรางเปนทฤษฎีตอไป ซึ่งอาจเปน Grounded theory แลวพัฒนาเปน Grand

theory ในที่สุดก็ได

11

การทบทวนวรรณกรรม (Review literature)

11

จุดมุงหมายของการทบทวนวรรณกรรม เพื่อใหทราบวามีทฤษฎี แนวคิด Model และงานวิจัยอะไรที่เกี่ยวของกับ

ประเด็นปญหาของการวิจัยบาง มีตัวแปรอะไรที่เกี่ยวของบาง

เปนแนวทางใหผูวิจัยสามารถกําหนดกรอบแนวคิด (Conceptual framework) หรือ กรอบทฤษฎี (Theory framework) ของการวิจัยได นําไปสูการตั้งสมมติฐานตอไป

เพื่อใหทราบวามีใครทําวิจัยในเรื่องที่จะศึกษาอยูบาง เพื่อปองกันการทําซ้ําซอนกัน ทั้งวิธีการ กลุมตัวอยาง และเครื่องมือ

เพื่อศึกษางานวิจัยของผูอื่น จะไดทราบวิธีการศึกษา กลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใช วิธีการ รวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล ซึ่งทําใหผูวิจัยไดแนวคิดมาประยุกตใชกับการวิจัยที่จะจัดทําได

เพื่อชวยในการอภิปรายผลไดมากขึ้น

12

การทบทวนวรรณกรรม (Review literature)

12

เพ่ือใหทราบปญหาอุปสรรคของการทํางานวิจัยของผูอ่ืนที่ผานมา จะได

เพ่ิมความระมัดระวังมากขึ้น

เพ่ือใหผูวิจัยไดขอสรุปในการขยายแนวคิดตาง ๆ ที่ไดอานมาไปศึกษา

เพ่ิมเติม หรือศึกษาในสวนที่ยังไมสมบูรณ

13

การทบทวนวรรณกรรม (Review literature)

13

จุดมุงหมายของการทบทวนวรรณกรรม

ไดหัวขอการวิจัยที่เหมาะสม ไมลาสมัย เปนเรื่องที่อยูในความสนใจของ

สังคม ของศาสตรที่กําลังศึกษา

ทําใหไดหัวขอไมซ้ํากับผูวิจัยอ่ืนๆ

ทําใหผูวิจัยเกิดแนวคิดในการทําวิจัยที่มีประโยชนตอศาสตร ตอสังคม

โดยรวม มีการเช่ือมโยงความรูจากทฤษฎี งานวิจัย และจากศาสตรตางๆ

เขาดวยกัน

ทําใหผูวิจัยไดแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการวิจัย ต้ังแตเครื่องมือการ

วิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การแปลผล

14

ประโยชนของการทบทวนวรรณกรรม

14

เอกสารตํารา (Text book) ที่เก่ียวของกับเรื่องที่กําลังวิจัย

บทความจากวารสารตางๆ ทั้งในและตางประเทศ

รายงานการวิจัยจากสถาบันการศึกษา และหนวยงานตางๆ

สารานุกรมทางการวิจัย หนังสือรวบรวมบทคัดยอการวิจัย ทั้งในและ

ตางประเทศ

วิทยานิพนธ

CD-ROM และ Internet

15

แหลงของวรรณกรรมท่ีเก่ียวของ

15

กําหนดขอบเขตของการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวของ ใหกระชับเฉพาะหัวขอที่ตองการศึกษา โดยพิจารณาคําสําคัญ (Key word)

คนหาจากเอกสารที่ตองการ ทั้ งหนังสือ วารสาร พจนานุกรม Encyclopedia จากหองสมุด CD-ROM Internet

หลักเกณฑการเลือกเอกสารดังนี ้

พิจารณาจากเนื้อหาท่ีเกี่ยวของเทานั้น

พิจารณาความทันสมัย ตองเปนความรูใหม สาระใหมๆ ทฤษฎีท่ีเปนท่ียอมรับแพรหลาย มีความเปนปจจุบัน

ประวัติผูเขียนหรือผูวิจัย

16

ขอเสนอแนะในการทบทวนวรรณกรรม

16

สํานักพิมพตองเปนสํานักพิมพท่ีเชื่อถือได มีการคัดผลงานท่ีจะพิมพ

ความนาเชื่อถือของขอมูล

การจดบันทึกรายละเอียดเพื่อปองกันการลืม กรณีเปนหนังสือ: ชื่อ-สกุลผูแตง ชื่อหนังสือ วารสาร บทความ สถานท่ีพิมพ ปท่ี

พิมพ เลมท่ี เลขหนา เลขหมูหนังสือ/สถานท่ีคนหนังสือ

กรณีเปนผลงานวิจัย: ชื่อหัวขอการวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย สมมติฐาน

ระเบียบวิธีวิจัยท่ีใช สรุปผลการวิจัย

17

ขอเสนอแนะในการทบทวนวรรณกรรม

17

การนําเสนอสาระในวรรณกรรมที่เก่ียวของ มักนิยมจัดเปนหมวดๆ ดังนี้

ความหมายของคําสําคัญท่ีปรากฏ โดยสรุปวาใครกลาวใหความหมายไวอยางไร

บาง ซ่ึงอาจจะเหมือนกัน คลายคลึงกัน แลวผู วิจัยสรุปวาในงานวิจัยนี้จะ

หมายความวาอยางไร

แนวคิดในเรื่องท่ีทําการวิจัย เชน กรอบแนวคิดอะไรบาง

ทฤษฏีท่ีเกี่ยวของกับเร่ืองท่ีศึกษามีอะไรบาง มีการยืนยันทฤษฎีหรือไม ถาใชจะ

ยืนยันทฤษฎีอะไร หากมีหลายทฤษฎี ตองสรุปวาจะนําทฤษฎีอะไรมาสนับสนุน

บาง ถาไมมี ตองมี Model หรืองานวิจัยมาสนับสนุน

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ท้ังงานวิจัยในและตางประเทศ เพ่ือใหไดทราบวามีงานวิจัย

ใดบางท่ีเกี่ยวของกับเร่ืองท่ีจะวิจัย ขอคนพบของงานวิจัยแตละเร่ือง ตองสรุปให

เปนหมวดหมูชัดเจน 18

หลักการเขียนวรรณกรรมท่ีเก่ียวของ

18

เพ่ือใหไดหัวขอการวิจัยที่เหมาะสม ไมซ้ํากับการวิจัยของผูอ่ืน และทําให

เกิดแนวคิดที่เปนกรอบสําหรับการวิจัย

ชวยในการออกแบบการวิจัย สรางเครื่องมือสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูล

การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผลของการวิจัย

19

สรุปการทบทวนวรรณกรรม

19

• อางอิงตามแนวความคิด

• อางอิงเชิงทฤษฎี

• อางอิงบทความทางวิชาการ

• อางอิงผลการวิจัย

20

การเขียนเอกสารอางอิง

20

APA

การเขียนเอกสารอางอิง

21

การเขียนเอกสารอางอิง

22

การเขียนเอกสารอางอิง

23

การเขียนเอกสารอางอิง

24

การเขียนเอกสารอางอิง

25

การเขียนเอกสารอางอิง

26

การเขียนเอกสารอางอิง

27

• ทําไมจึงตองมีการทบทวนวรรณกรรมในงานวิจัย

• ใหนักศึกษาต้ังชื่อและกําหนดวัตถุประสงคในงานวิจัยที่ตองการจะ

ศึกษามาอยางนอย 3 ขอ

• ใหนักศึกษาคนหางานวิจัยที่ใกลเคยีงหรือคลายคลึงจากหวัของานวิจัย

จากแหลงใดก็ได และใหเขียนอางอิงตามหลกัวิชาการ โดยงานวิจัยที่

คนความานั้นจะตองเปนงานวิจัยที่แลวเสรจ็ ต้ังแตป 55 เปนตนไป

(เฉพาะขอนีส้งสปัดาหหนา)

28

คําถามและอภิปราย

28

Q&A อาจารย นิธินพ ทองวาสนาสง

E-mail: [email protected]

Tel: 085-352-1050