69
Faculty of Science and Technology Rajamangala University of Technology Phra Nakhon Organic Chemistry เคมีอินทรีย์เบื้องต้น สารประกอบไฮโดรคาร์บอน การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก 1 Woravith Chansuvarn http://uhost.rmutp.ac.th/woravith.c

Basic of Organic Chemistry

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

Faculty of Science and Technology

Rajamangala University of Technology Phra Nakhon

Organic Chemistry เคมีอินทรีย์เบื้องต้น

• สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

• การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์

• สารประกอบอะโรมาติก

1

Woravith Chansuvarn http://uhost.rmutp.ac.th/woravith.c

Page 2: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 2

ก่อนศตวรรษที่ 18 นักเคมีได้แบ่งสารประกอบออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ สารประกอบอินทรีย ์และสารประกอบอนินทรีย์ เดิมนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสารประกอบอินทรีย์ได้มาจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น และไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได ้ ในปี ค.ศ.1828 Friedrich Wohler นักเคมีชาวเยอรมันสามารถเตรียมยูเรียได้ในห้องปฏิบัติการจากแอมโมเนียมไซยาเนต ซึ่งยูเรียเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่พบในปัสสาวะ ปัจจุบันมีสารอินทรีย์ที่รู้จักมากกว่า 2 ล้านชนิด ซึ่งเกือบทั้งหมดประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน นอกจากนั้นยังมีธาตุอื่นที่เป็นองค์ประกอบเช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน ก ามะถัน คลอรีน เป็นต้น

Page 3: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 3

การจ าแนกสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

Hydrocarbons

Aliphatics

Alkanes Cycloalkanes Alkenes Alkynes

Aromatics

เคมีอินทรีย์ เป็นการศึกษาสารที่พบในสิ่งมีชีวิต ในปัจจุบันเป็นการศึกษาสารประกอบของธาตุคาร์บอนทั้งหมด มีสารประกอบอินทรีย์มากกว่า 2 ล้านชนิด ซึ่งมากกว่าสารประกอบเคมีอื่นรวมกัน

Page 4: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

การแบ่งสารประกอบอินทรีย ์

4

• อะลิเฟติก (Aliphatic compounds) : เป็นสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีโครงสร้างเป็นโซ่เปิดโดยที่อะตอมคาร์บอนต่อกันเป็น โซ่ตรง หรือเรียกว่า โซ่หลัก (main chain) และโซ่แขนง (branch) ซึ่งอาจเป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามก็ได้

Page 5: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 5

โมเลกุลไซโคลเฮกเซน เป็นตัวอย่างของโมเลกุลที่มีวงแหวนของอะตอมคาร์บอน

• อะลิไซคลิก (Alicyclics) เป็นสารประกอบที่โครงสร้างคาร์บอนต่อกันเป็นวง (ring) โดยที่อะตอมคาร์บอนต่อกันด้วยพันธะโควาเลนต์ซึ่งอาจเป็นพันธะเดี่ยวหรือพันธะคู่ ก็ได้

• อะโรเมติก (Aromatic compounds) : เป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งโมเลกุลประกอบด้วยวงแหวน เบนซีน (benzene)

Page 6: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 6

• เฮทเทอโรไซคลิก (Heterocyclic) เป็นสารประกอบที่มีอะตอมคาร์บอนต่อกันโดยมีอะตอมของธาตุอื่น เช่น N, S, O มาคั่น

Page 7: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 7

สารประกอบอินทรีย์ทั้งหมดอาจแบ่งเป็นชนิดต่างๆตามหมู่ฟังก์ชันนัล ซึ่งหมู่ฟังก์ชันนัลท่ีพบบ่อยๆ มี 11 ชนิดด้วยกันคือ ไฮโดรคาร์บอน (แอลคีนและแอลไคน์), แอลกอฮอล์, อัลคิลเฮไลด์, อีเทอร์, แอลดีไฮด์, คีโตน, กรดคาร์บอกซิลิก, เอสเทอร์, เอมีน และเอไมด์

“หมู่ฟังก์ชันนัล คืออะตอมหรือหมู่ของอะตอมที่มีอยูใ่นโมเลกุลซึ่งท าให้โมเลกุลนั้นมีสมบัติทางเคมีเฉพาะตัว”

ดังนั้นสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีอยู่ในกลุ่มหรือชนิดเดียวกันจะมีหมู่ฟังก์ชันนัลที่เหมือนกัน จึงท าให้มีสมบัติทางเคมีที่คล้ายกัน

หมู่ฟังก์ชันนัล (Functional Groups)

Page 8: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 8

Functional group : หมู่ฟังก์ชันนัล คือ อะตอมหรือกลุ่มของอะตอม ซึ่งเป็นส่วนแสดงสมบัติทางเคมีของโมเลกุลส่วนใหญ่ โมเลกุลสารอินทรีย์สามารถมีหมู่ฟังก์ชันได้หลายกลุ่ม

Page 9: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 9

Functional Groups

Page 10: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 10

Page 11: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 11

1. ชื่อสามัญ (Common name)

IUPAC = International Union of Pure and Applied Chemistry

• prefix tells the number of carbon atoms in the parent • infix tells the nature of the carbon-carbon bonds • suffix tells the class of compound

2. ชื่อ IUPAC (ค.ศ. 1892)

ชื่อที่เรียกตามแหล่งก าเนิด เช่น acetic acid มาจากภาษาละตินว่า acetum แปลว่า vinegar

การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์

Page 12: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 12

• เลือกโซ่อะตอมคาร์บอนท่ียาวที่สุดเป็น โซ่หลัก (ในกรณีท่ีมีหมู่ฟังก์ชันนัล โซ่หลักจะต้องมีหมู่ฟังก์ชันนัลอยู่ด้วย)

• จ านวนอะตอมคาร์บอนในโซ่หลักใช้ค าน าหน้าตามจ านวนอะตอมคาร์บอน

CH3-CH2-CH-CH2-CH2-CH3

CH2-CH2-OH

undec-

dodec-

tetradec-

pentadec-

hexadec-

heptadec-

nonadec-

eicos-

tridec-

11

12

13

14

15

16

17

octadec- 18

19

20

Prefix

meth-

eth-prop-

but-

pent-

hex-

oct-non-

dec-

1

2

3

4

5

6

7hept-

8

9

10

Carbons CarbonsPrefix

IUPAC

Page 13: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 13

• ชื่อลงท้ายเป็นตามชนิดของหมู่ฟังก์ชันนัล เช่น 1) ไฮโดรคาร์บอน - แอลเคน ลงท้ายด้วย -ane - แอลคีน ลงท้ายด้วย -ene - แอลไคน์ ลงท้ายด้วย -yne 2) แอลกอฮอล์ ลงท้ายด้วย -ol 3) แอลดีไฮด์ ลงท้ายด้วย -al 4) คีโตน ลงท้ายด้วย -one 5) กรดคาร์บอกซิลิก ลงท้ายด้วย -oic acid 6) เอมีน ลงท้ายด้วย -mine 7) เอสเทอร์ ลงท้ายด้วย -ate

Page 14: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 14

• ก าหนดต าแหน่งอะตอมคาร์บอนในโซ่หลักมีหมู่ฟังก์ชันนัลหรือหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงหรือพันธะชนิดไม่อิ่มตัวมาเกาะอยู่ด้วย ให้นับจากปลายด้านท่ีมีหมู่ฟังก์ชันนัลหรือหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงหรือพันธะชนิดไม่อิ่มตัว ให้ก าหนดมีตัวเลขน้อยที่สุด

Function group

Function group alkyl group

alkyl group

alkyl group

Page 15: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 15

หมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนง คือหมู่อะตอมของแอลเคนที่ขาดไฮโดรเจนไปหนึ่งอะตอม เรียกว่า หมู่แอลคิล (alkyl group) เขียนย่อด้วย R-

CH4 = methane -CH3 = methyl

• ส่วนอะโรเมติกท่ีขาดไฮโดรเจนหายไป 1 อะตอมเรียกว่า หมู่เอริล (aryl group) เขียนแทนด้วย Ar-

หลักการเรียกชื่อยังคงเหมือนการเรียกจ านวนคาร์บอนอะตอมในโซ่ตรง แต่ให้มีค าลงท้ายเป็น –yl เช่น

• ส่วนเบนซีนที่ขาดไฮโดรเจนหายไป 1 อะตอม เรียกว่า หมู่ฟีนิล (phenyl group) เขียนแทนด้วย Ph-

หมู่แอลคิล (alkyl group)

Page 16: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 16

1-methylethyl (isopropyl)

propyl

ethyl

methyl

CondensedStructural FormulaName

CH3

- CH2 CH3

- CH3

- CH2 CH2 CH3

- CHCH3

1,1-dimethylethyl

(tert- butyl)

1-methylpropyl

(sec- butyl)

2-methylpropyl (isobutyl)

butyl

CH3

CH3

CH3

CH3

- CH2 CH2 CH2 CH3

- CH2 CHCH3

- CHCH2 CH3

- CCH3

CondensedStructural FormulaNameชื่อหมู่แอลคิล (Alkyl groups)

นอกจากหมู่แอลคิลแล้ว ยังมีอะตอมอื่นที่เกาะโซ่หลัก เช่น - F เรียกว่า fluoro - Cl เรียกว่า chloro - Br เรียกว่า bromo - I เรียกว่า iodo - NO2 เรียกว่า nitro

1-methylethyl (isopropyl)

propyl

ethyl

methyl

CondensedStructural FormulaName

CH3

- CH2 CH3

- CH3

- CH2 CH2 CH3

- CHCH3

1,1-dimethylethyl

(tert- butyl)

1-methylpropyl

(sec- butyl)

2-methylpropyl (isobutyl)

butyl

CH3

CH3

CH3

CH3

- CH2 CH2 CH2 CH3

- CH2 CHCH3

- CHCH2 CH3

- CCH3

CondensedStructural FormulaName

Page 17: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 17

• ถ้ามีหมู่ฟังก์ชันนัลหรือหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงที่ซ้ ากัน (มากกว่า 1 หมู่) มาเกาะกับโซ่หลัก ให้ใช้ค าน าหน้าชื่อหมู่ท่ีซ้ าเพ่ือบอกจ านวนที่ซ้ ากันดงันี้ - ซ้ ากัน 2 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย ได (di-) - ซ้ ากัน 3 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย ไตร (tri-) - ซ้ ากัน 4 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย เตตระ (tetra-) - ซ้ ากัน 5 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย เพนตะ (penta-) และให้ระบุต าแหน่งของคาร์บอนที่มีหมู่นั้นมาเกาะทุกๆหมู่ ด้วย

Page 18: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 18

No. C 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

name Meth- Eth- Prop- But- Pent- Hex- Hep- Oct- Non- Dec-

-e hydrocarbon -ol alcohol -al aldehyde -amine amine -one ketone -oic acid carboxylic acid

Infix Nature of C-C bonds in the Parent Chains -an- all single bonds (C-C) -en- one or more double bonds (C=C) -yn- one or more triple bonds (C=C)

Suffix Class

Page 19: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 19

CH3 CH=CH 2

CH3 CH2 OH

CH3 CH2 CH2 CH2 COH

O

HC CH

OH

CH3 CH2 CH2 CH

OCH3 CCH2 CH3

O

CH3 CH2 NH2

IUPAC - General

prop-en-e = propene

eth-an-ol = ethanol

but-an-one = butanone

but-an-al = butanal

pent-an-oic acid = pentanoic acid

cyclohex-an-ol = cyclohexanol

eth-yn-e = ethyne

eth-an-amine = ethanamine

Page 20: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 20

b)

a)

c)

d)

Page 21: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย ์

21

แอลเคนท าปฏิกิริยากับแฮโลเจน โดยการเกิดปฏิกิริยาการแทนที่ ดังตัวอย่าง

1. ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) เป็นปฏิกิริยาที่อะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันของโมเลกุลหนึ่งถูกแทนที่โดยอะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันอื่นที่ต่างออกไป โมเลกุลของสารประกอบอิ่มตัว เช่น แอลเคน สามารถเกิดปฏิกิริยาการแทนท่ี แต่ไม่เกิดปฏิกิริยาการเติม

Page 22: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 22

2. ปฏิกิริยาการเติม (Addition reaction) เป็นปฏิกิริยาที่สารสองโมเลกุลท าปฏิกิริยากันเกิดเป็สารที่มีโมเลกุลใหญ่ขึ้น สารที่เข้าท าปฏิกิริยาตัวใดตัวหนึ่งต้องเป็นสารไม่อิ่มตัว (มีพันธะคู่ หรือ พันธะสาม)

• ไฮโดรจิเนชัน (Hydrogenation) • แฮโลจิเนชัน (Halogenation) • ไฮเดรชัน (Hydration)

Page 23: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 23

2. ปฏิกิริยาการเตมิ (Addition reaction) เป็นปฏิกิริยาท่ีสารสองโมเลกลุท าปฏิกิริยากนัเกิดเป็สารท่ีมีโมเลกลุใหญ่ขึน้ สารท่ีเข้าท าปฏิกิริยาตวัใดตวัหนึง่ต้องเป็นสารไมอ่ิ่มตวั (มีพนัธะคู ่หรือ พนัธะสาม)

• ไฮโดรจิเนชนั (Hydrogenation) • แฮโลจิเนชนั (Halogenation) • ไฮเดรชนั (Hydration)

Page 24: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 24

• ไฮโดรจิเนชัน (Hydrogenation) - เป็นปฏิกิริยาการเติมอะตอมไฮโดรเจนเพิ่มเข้าในโมเลกุลของสารประกอบไม่อิ่มตัว

CH2

HC

H3C+ H2

CH3

H2C

H3C

Page 25: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 25

• ปฏิกิริยาแฮโลจิเนชัน (Halogenation Reaction) – เป็นปฏิกิริยาการเติมอะตอมธาตุแฮโลเจนเข้าในโมเลกุลของสารประกอบไม่อิ่มตัว โดยแฮโลเจนอะตอมจะเติมเข้าต าแหน่งพันธะคู่หรือพันธะสาม

Page 26: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 26

• ปฏิกิริยาไฮเดรชัน (Hydration Reaction) เป็นปฏิกิริยาการเติม โมเลกุลของน้ า (H2O) เข้าในโมเลกุลของสารประกอบไม่อิ่มตัว เช่น แอลคีน แอลไคน์ เป็นต้น

Page 27: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 27

• ไฮโดรแฮโลจิเนชัน (Hydrohalogenation) เป็นปฏิกิริยาการเติมอะตอมไฮโดรเจนและแฮโลเจน เพิ่มเข้าในโมเลกุลของสารประกอบไม่อิ่มตัว

• Markovnikov's rule (1870)

Page 28: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 28

3. ปฏิกิริยาการก าจัด (Elimination reaction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการก าจัดโมเลกุลเล็กๆ ออกจากโมเลกุลสารตั้งต้น โดยอะตอมหรือโมเลกุลที่หลุดออกต้องอยู่ที่คาร์บอนที่ติดกัน

• ปฏิกิริยาการก าจัด Br

• ปฏิกิริยาการก าจัดน้ า (Dehydration)

Page 29: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 29

4. ปฏิกิริยาการจัดเรียงตัวใหม่ (Rearrangement reaction) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดเนื่องจากการจัดเรียงตัวใหม่ของสารตั้งต้นโดยมีการถ่ายโอน (transfer) หมู่เล็กๆ ภายในโมเลกุล การจัดเรียงตัวใหม่ภายในโมเลกุลจะเป็นการสร้างสภาวะที่เสถียรท่ีสุดของโมเลกุลก่อนเกิดปฏิกิริยาต่างๆ ต่อไป ตัวอย่างเช่น

2 carbocation 3 carbocation

CH3 H CH3 H

H3C – C – C+-- CH3 H3C – C+-- C – CH3

CH3 CH3

Page 30: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 30

hexane

a)

b)

2-methylpentane

c)

d)

2,2-dimethylbutane

3-methylpentane

e)

2,3-dimethylbutane

Page 31: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 31

a)

b)

2-methylbutane

1-bromo-2-chloroethane

1,1,1,2,2-pentachloropropane

c)

d)

2,2-dimethylpropane

e)

2,2,3-trimethylbutane

Page 32: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 32

a)

b)

c)

e)

f)

d) g)

Page 33: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

แอลเคนและไซโคลแอลเคน

แอลเคน มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…

• มีพันธะเดี่ยวเท่านั้น (Single covalent bonds) • เป็นสารประกอบประเภทไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว (Saturated hydrocarbons)

33

Page 34: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

Methane Ethane Propane

n-butane iso-butane

34

Page 35: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

• เพนเทน (pentane, C2H12) มีจ านวนไอโซเมอร์โครงสร้างคือ

pentane

2-methylbutane

2,2-dimethylpropane

35

Page 36: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 36

Page 37: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

• เลือกโซ่อะตอมคาร์บอนท่ียาวที่สุดเป็น โซ่หลัก (ในกรณีท่ีมีหมู่ฟังก์ชันนัล โซหลักจะต้องมีหมู่ฟังก์ชันนัลอยู่ด้วย)

undec-

dodec-

tetradec-

pentadec-

hexadec-

heptadec-

nonadec-

eicos-

tridec-

11

12

13

14

15

16

17

octadec- 18

19

20

Prefix

meth-

eth-prop-

but-

pent-

hex-

oct-non-

dec-

1

2

3

4

5

6

7hept-

8

9

10

Carbons CarbonsPrefix

• ชื่อลงท้ายลงท้ายด้วย –ane

• ก าหนดต าแหน่งอะตอมคาร์บอนในโซ่หลักมีหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงอยู่ด้วย ให้นับจากปลายด้านที่มีหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงให้ก าหนดมีตัวเลขน้อยที่สุด

37

Alkane Nomenclature

Page 38: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

• ถ้ามีหมู่ฟังก์ชันนัลหรือหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงที่ซ้ ากัน (มากกว่า 1 หมู)่ มาเกาะกับโซ่หลัก ให้ใช้ค าน าหน้าชื่อหมู่ที่ซ้ าเพื่อบอกจ านวนท่ีซ้ ากันดังน้ี - ซ้ ากัน 2 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย ได (di-) - ซ้ ากัน 3 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย ไตร (tri-) - ซ้ ากัน 4 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย เตตระ (tetra-) - ซ้ ากัน 5 หมู่ ให้ค าน าหน้าด้วย เพนตะ (penta-) และให้ระบุต าแหน่งของคาร์บอนท่ีมีหมู่นั้นมาเกาะทุกๆหมู่ ด้วย

38

Page 39: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

3. เมื่อมีหมู่อื่นมาต่อกับแอลเคนสายหลัก (ที่ยาวที่สุด) ให้ก าหนดต าแหน่งของหมู่ที่มาต่อเป็นตัวเลขที่น้อยที่สุด

39

Page 40: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

Methyl group

Carbon chains ที่ยาวท่ีสุด C4 = butane

2-Methylbutane

ต าแหน่ง C ต่ าสุด = 2

40

Page 41: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

4. ใช้ค าน าหน้าเมื่อมีหมู่ที่เหมือนกันมาต่อกับแอลเคนสายหลัก

ได (di-) = 2 ไตร (tri-) = 3 เตตระ (tetra-) = 4 เพนตะ (penta-)= 5

41

Page 42: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

5. เมื่อมีหมู่แทนที่อื่นๆ การเรียกชื่อใช้กฎเดียวกัน

ชื่อหมู่แทนที -NH2 = amino -I = iodo -F = fluoro -NO2 = nitro -Cl = chloro -CH=CH2 = vinyl -Br = bromo -C6H5 = phenyl

42

Page 43: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 43

Page 44: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาของแอลเคน (Alkane reactions)

1. การเผาไหม้ (Combustion reactions)

CH4 (g) + 2 O2 (g) ----> CO2 (g) + 2 H2O (l) ΔH0 = -890.4 kJ

2. การแทนทีด้วยแฮโลเจน (Halogenation)

CH4 (g) + Cl2 (g) --------> CH3Cl (g) + HCl (l) light, hv

3. การขจัดไฮโดรเจน (Dehydrogenation)

CH3CH3 (g) --------> CH2=CH2 (g) + H2 (g) 500 C

Cr2O3

44

Page 45: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

CH3 CH2 CH2 CH3CH3 CH2 CH3CH3CH2CH2 CH2 CH3

PentaneButanePropane PentanePropane

Structuralformula

Line-angle formula

Ball-and-stickmodel

การเขียนโครงสร้างแอลเคน (Drawing Alkanes)

45

Page 46: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

CH3 CH2CH2CH3

Butane(bp -0.5°C)

CH3

CH3 CHCH3

2-Methylpropane(bp -11.6°C)

Structural isomers: สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน เช่น : C4H10

4,111,846,763

4,347

75

3

1

Constitutional Isomers

MolecularFormula

CH4

C5 H1 2

C1 0 H2 2

C1 5 H3 2

C3 0 H6 2

36,797,588C2 5 H5 2

46

Page 47: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ไซโคลแอลเคน (Cycloalkanes)

• แอลเคนที่มีโครงสร้างต่อเป็นวง มีสูตรโมเลกุลทั่วไป CnH2n

- 5 และ 6 เหลี่ยม (five- and six-member rings) เป็นส่วนใหญ่และเสถียร • โครงสร้างและการเรียกชื่อ

- การเรียกชื่อเหมือนกับแอลเคนแต่ให้เรียกน าหน้าชื่อด้วย Cyclo-

C6H12 : Cyclohexane

47

Page 48: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

C

CC

C

C

C

C

C H2 C

H2 CCH2

CH

CH2

CH

CH3

CH3

C8 H1 6

(a) (b)

(c) (d)

48

Page 49: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

Bicyclo[4.4.0]decane (Decalin)

Bicyclo[4.3.0]nonane (Hydrindane)

Bicyclo[2.2.1]heptane (Norbornane)

an alkane that contains two rings that share two carbons

Bicycloalkanes

Bicyclo[2.2.1]heptane

1

2

3

4

5

67

Bicyclo [2,2,1]heptane

49

Page 50: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

CH3

CH2

CH CH2 CH2 C

CH3

CH2

CH3

CH3

CH3

CH3

ฉันชื่ออะไรเอ่ย ?

50

Page 51: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

แอลคีน (Alkene)

• แอลคีน มีสูตรโมเลกุลทั่วไป คือ CnH2n เมื่อ n = 2, 3, 4,… • เป็นไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ประกอบด้วยพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนอะตอม (double bond) • เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โอเลฟิน (Olefin) • เรียกชื่อตาม parent compound (เหมือนแอลเคน) แต่ลงท้ายเสียงด้วย –ene (-อีน) • ระบุต าแหน่งของ double bond ด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุด

H2C=CH-CH2-CH3 1-Butene H3C-CH=CH-CH3 2-Butene

51

Page 52: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

Geometric Isomers

• cis-isomer : มีหมู่ที่เหมือนกันอยู่ด้านเดียวกันของ double bond • trans-isomer : มีหมู่ที่เหมือนกันอยู่ด้านตรงข้ามกันของ double bond

cis-2-Butene trans-2-Butene

52

Page 53: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาของแอลคีน (Alkene reactions)

1. การแตก (Cracking)

C2H6 (g) --------------> CH2=CH2 (g) + H2 (g) Pt catalyst

2. ปฏิกิริยาการเติม (Addition reactions)

CH3 CH=CHCH3 Br2 CH2Cl2CH3CH-CHCH3

Br Br

2,3-Dibromobutane2-Butene

+

53

Page 54: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

Markovnikov’s rule

“ปฏิกิริยาการเติมในแอลคีน (double bonds) โปรตอน (H+) จะเติมลงที่คาร์บอนตัวท่ีมี H เกาะอยู่มากที่สุด”

+ H-Br

H Br

1-Bromopropane

H Br

2-Bromopropane

54

Page 55: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาการเติมของแอลคีน

1. การเติมแฮโลเจน (Halogenation)

2. การเติมไฮโดรเจน (Hydrogenation)

Br2CH2 Cl2

Br

Br

Br

Br

+

trans-1,2-Dibromocyclohexane(a racemic mixture)

Cyclohexene

+

CH3 CH=CHCH3 Br2 CH2Cl2CH3CH-CHCH3

Br Br

2,3-Dibromobutane2-Butene

+

+ H2

55

Page 56: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาการเติมของแอลคีน

3. การเติมไฮโดรเจน-แฮโลเจน (Hydrohalogenation)

4. ปฏิกิริยาไฮเดรชัน (Hydration)

CH3CH=CH2 H2OH2SO4

CH3CH-CH2

HOH

Propene 2-Propanol

+

CH3C=CH2

CH3

H2OH2SO4

HO

CH3

H

CH3C-CH2

2-Methyl-2-propanol2-Methylpropene

+

+ HCl

Cl

56

Page 57: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาการออกซิเดชันของแอลคีน

2-methyl-2-pentene

C H 3 O O

C H 3 C = C H C H 2 C H 3 C H 3 C C H 3 + H C C H 2 C H 3 1. O3 2. (CH3)2S

propanone (ketone)

propanal (aldehyde)

57

Page 58: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

CC

C C

C C

Br2

( HX)HCl

H2O

( X2 )

C C Br2

( X2 )

H2 O

(X)

C C

H

OH

C C

Br

Br (X)

C C

HO

Br (X)

C C

H

Cl (X)

Descriptive Name(s )React ion

+

+

+

Bromination

(halogenation)

Hydrochlorination

(hydrohalogenation)

Hydration

+ Bromo(halo)hydrin

formation

Alkene reactions

58

Page 59: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

CC

C C

CC

BH3

OsO4

H2

C C Hg(OAc) 2

H2 O

C C

BH2H

C C

HO OH

C C

HH

C C

HO

HgOAc

+

+

+

Hydroboration

Diol formation

(oxidation)

Hydrogenation

(reduction)

+ Oxymercuration

Alkene reactions (continued)

59

Page 60: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 60

Page 61: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

แอลไคน์ (Alkynes)

• แอลไคน์ มีสูตรโมเลกุลทั่วไป คือ CnH2n-2 เมื่อ n = 2, 3, 4,… • เป็นไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ประกอบด้วยพันธะสามระหว่างคาร์บอนอะตอม (C-C triple bond) • เรียกชื่อตาม parent compound (เหมือนแอลเคน) แต่ลงท้ายเสียงด้วย –yne (-อาย) • ระบุต าแหน่งของ triple bond ด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุด

HC ≡ C-CH2-CH3 1-Butyne H3C-C ≡ C-CH3 2-Butyne

61

Page 62: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาของแอลไคน์ (Alkyne reactions)

1. การเผาไหม้ (Combustion reactions)

C2H2 (g) + 5O2 (g) ----> 4CO2 (g) + 2H2O (l) ΔH0 = 2599.2 kJ

2. ปฏิกิริยาการเติม (Addition reactions)

มีลักษณะเหมือนกับปฏิกิริยาการเติมแอลคีน แต่สามารถเกิดการเติมได้หลายขั้นตอน

62

Page 63: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

อะโรมาติก (Aromatic hydrocarbons)

• เป็นสารประกอบที่มีอะตอมคาร์บอนต่อกันเป็นวงมีจ านวน อิเล็กตรอนเป็น 4n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…

โครงสร้างเบนซีน (Benzene)

63

Page 64: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

การเรียกชื่อสารประกอบอะโรมาติก

• มีหมู่แทนที่ 1 หมู ่ • มีหมู่แทนที่มากกว่า 1 หมู ่

64

Page 65: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

• สารประกอบอะโรมาติกบางตัวมีชื่อเฉพาะ

65

Page 66: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

ปฏิกิริยาของสารประกอบอะโรมาติก

1. Hydrogenation (เติม H) --> เกิดยาก

2. Substitution (ปฏิกิริยาการแทนที่)

• ปฏิกิริยาการแทนท่ีด้วยหมู่แฮโลเจน

66

Page 67: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

• ปฏิกิริยาการแทนท่ีด้วยหมู่ไนโตร (Nitration)

2. Substitution (ปฏิกิริยาการแทนที่)

• ปฏิกิริยาการแทนท่ีด้วยหมู่แอลคิล (Alkylation)

67

Page 68: Basic of Organic Chemistry

RMUTP 68

Page 69: Basic of Organic Chemistry

RMUTP

Oxidation (ปฏิกิริยาออกซิเดชัน)

69