94
บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการ ปฏิบัติงาน อาจารย์มัลลิกา ผ่องแผ้ว

Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงานอาจารย์มัลลิกา ผ่องแผ้ว

Page 2: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

รายละเอียดเนื้อหาที่จะเรียนในบทเรียนนี้ ความหมายของการวางแผน

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน

ความส าคัญของแผน

ลักษณะของแผนที่ดี

ประเภทของการวางแผน

คุณลักษณะของแผนทีด่ี

เทคนิคในการวางแผน

โครงการกับการวางแผน

การวางแผนโครงการ

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ

Page 3: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

บทน า

การด าเนินการทางธุรกิจในปัจจุบันมีการแข่งขันกันสูง สิ่งที่นักบริหารจะต้องเผชิญคือการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกองค์การ ดังนั้นการวางแผนอย่างรัดกุมจะช่วยผ่อนคลายหรือแก้ปัญหาต่างๆ ไปได้มาก และสามารถชนะคู่แข่งขันได้ในที่สุด ในปัจจุบันการวางแผนเป็นหน้าที่หลักของการบริหารที่ขาดไม่ได้ จากการศึกษาพบว่านักวิชาการด้านการบริหารทุกคนต่างจัดเอาการวางแผนเป็นหน้าที่หลัก และเป็นอันดับแรกของผู้บริหารที่จะต้องคิดและต้องท าก่อนลงมือด าเนินธุรกิจใดๆ

Page 4: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ความหมายของการวางแผนนักวิชาการด้านการบริหารได้ให้ความหมายของการวางแผนไว้ต่างๆ กันแต่ในเนื้อหา

สาระไม่แตกต่างกันมากนัก ดังนี้

เดล ให้ความหมายไว้ว่า การวางแผนคือการก าหนดวัตถุประสงค์ที่จะท ากิจการงานไว้ล่วงหน้าโดยก าหนดวิธีและแนวปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงความส าเร็จตามความมุ่งหมาย

คูนตซ์และโอ ดอนเนลล์ (Koontz and O’Donnell) ให้ความหมายว่าการวางแผนคือการตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะท าอะไร ท าท าไม ท าเมื่อไร และใครเป็นคนท า

Page 5: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ความหมายของการวางแผน (ต่อ)คาสต์และโรเซนซ์วีก (Kast and Roseenzwieg) ได้กล่าวไว้ว่า การวางแผนคือ

กระบวนการในการตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะท าอะไร อย่างไร มีการเลือกวัตถุประสงค์ นโยบาย โครงการ และแนวปฏิบัติ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์นั้น

ผู้เขียน (สมคิด บางโม) มีความเห็นว่า การวางแผนคือการก าหนดเป้าหมายและแนวทางปฏิบัติไว้ล่วงหน้า โดยการศึกษาข้อมูลต่างๆ และเลือกแนวทางปฏิบัติที่จะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ

Page 6: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ความหมายของการวางแผน (ต่อ)จากค าจ ากัดความดังกล่าว จะพบว่าการวางแผนมีลักษณะส าคัญดังนี้

1. เป็นเรื่องสมมติฐานในอนาคต โดยอาศัยข้อมูลในปัจจุบัน2. ก าหนดเป้าหมายและวิธีการไปสู่เป้าหมาย3. เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการกระท าหรือกิจกรรม4. เป็นเรื่องของการตัดสินใจของผู้บริหาร

Page 7: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน แผนภูมิกระบวนการวางแผน

ภารกิจ“อะไรเป็น

เหตุผลที่บริษัทต้องด าเนินกิจการอยู”่

วิสัยทัศน์“อยากจะเป็น

แบบไหน”

การวางแผนกลยุทธ์

โดยผู้บริหารระดับสูง

ส าหรับ 1-5 ปี

เป้าหมาย

ปฏิบัติการ

เทคนิคการวางแผน

ท าโดยผู้บริหารระดับกลาง

ส าหรับ ภายใน66-24 เดือน

เป้าหมาย

ปฏิบัติการ

การวางแผนปฏิบัติการ

ท าโดยผู้บริหารระดับล่าง

ภายใน 1-52 สัปดาห์

เป้าหมาย

ปฏิบัติการ

Page 8: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)

กระบวนการวางแผนมักจะเริ่มต้นด้วย 2 องค์ประกอบคือ วิสัยทัศน์และพันธกิจ

Page 9: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)วิสัยทัศน์ (The Vision Statement) หมายถึงการก าหนดความต้องการหรือภาพในอนาคตระยะยาว โดยมองไปในอนาคตข้างหน้า 5 ปี หรือ 10 ปี ว่าต้องการให้องค์การหรือบริษัทของตนเป็นอย่างไร หรือพูดให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือ เราอยากไปถึงไหน วิสัยทัศน์ขององค์การจะเป็นข้อความเชิงปรัชญาที่แสดงเจตนารมณ์ของเจ้าของ ผู้ก่อตั้ง ผู้บริหารปัจจุบัน เช่น

การเป็นผู้น าของตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าเราจะเป็นผู้น าในตลาดค้าปลีกการเป็นผู้น าร้านค้าสะดวกซื้อความรู้คู่คุณธรรมน าสังคม

Page 10: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)

การก าหนดวิสัยทัศน์ขององค์การจะต้องสัมพันธ์กับการเปลี่ ยนไปของสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจและสังคม การเมือง กฎหมาย เทคโนโลยี ฯลฯ การวางแผนในทุกระดับจะต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์การ บุคลากรทุกคนทุกระดับจะต้องรู้ว่าวิสัยทัศน์ขององค์การคืออะไร ดังนั้นระบบสื่อสารภายในองค์การจึงมีความส าคัญมาก ผู้บริหารจะต้องพูดถึงวิสัยทัศน์บ่อยๆ หรือทุกครั้งที่มีโอกาส

Page 11: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)

การได้มาซึ่งวิสัยทัศน์ขององค์การในภาคธุรกิจเอกชนอาจได้มาจากการก าหนดของเจ้าของกิจการ (ผู้ถือหุ้น) และกรรมการบริษัทหรืออาจให้บุคลากรทุกระดับร่วมออกความเห็นด้วย ในภาคราชการอาจได้วิสัยทัศน์ขององค์การโดยการสัมมนาบุคลากรทุกระดับและอาจให้ตัวแทนของประชาชนมีส่วนร่วมก็จะดีมาก

Page 12: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)ตัวอย่างของวิสัยทัศน์ Amazon.comJeff Bezos เริ่มต้นธุรกิจออนไลน์ โดยการขายหนังสือเป็นสินค้าชนิดแรก เนื่องจากหนังสือบางเล่มก็ไม่สามารถหาตามร้านหนังสือทั่วไป นอกจากนี้ยังมีที่ต้นสังกัดไม่ได้เป็นผู้จัด จัดจ าหน่าย ซึ่งเป็นทางเลือกของเขา อย่างไรก็ตาม วิสัยทัศน์ของ Bezos เริ่มมาจากการขายหนังสือเป็นหลักนั้นต้องการครอบคลุมไปยังการให้บริการในส่วนอื่นด้วย คือ ต้องการสร้างสถานที่ๆ ลูกค้าสามารถค้นหาสิ่งที่ต้องการซื้อได้ทุกอย่างแม้กระทั่ง อะไหล่รถยนต์ ทางบริษัทเองก็ได้พยายามขยายไปในส่วนต่างๆ เช่น CD เพลง VDO DVD การประมูลทางธุรกิจ การให้บริการส่ง Electronic card ฟรี ข้อมูลภาพยนตร์ และการบริการทาง Websites ให้เฉพาะประเทศอังกฤษและเยอรมนี

Page 13: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)ตัวอย่างของวิสัยทัศน์ Amazon.com (ต่อ)

รวมไปถึงการลงทุนในการขายปลีกทาง Internet เช่น Drugstore.com, Pet.com และ Homegrocer.com อย่างไรก็ตาม การขยายขอบเขตของวิสัยทัศน์นี้ก็เพื่อต้องการให้บริษัทเป็นศูนย์กลางของโลกส าหรับลูกค้า โดยสร้างความแตกต่างผ่านนวัตกรรมและการยึดมั่นต่อการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า

Page 14: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)พันธกิจ (The Mission Statement) คือ “เหตุผลในการด ารงอยู”่ ซึ่งการก าหนดภารกิจเป็นหน้าที่ของผู้บริหารและคณะกรรมการ ซึ่ง Dr. Peter Crucker แนะน าว่า “เฉพาะองค์การที่มีภารกิจและวัตถุประสงค์ชัดเจนเท่านั้นจึงจะสามารถมีเป้าหมายที่ชัดเจนและมีความเป็นไปได”้ ดังนั้น ไม่ว่าองค์การนั้นจะต้องการผลก าไรหรือไม่ก็ตาม พันธกิจจะเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงสินค้าและการบริการที่องค์การเป็นผู้จัดจ าหน่ายหรือก าลังจะท า พร้อมกับเหตุผลในการเลือกท าธุรกิจหรือกิจกรรมนั้นๆ

Page 15: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)ตัวอย่างของพันธกิจ Amazon.comเป็นเวลาน้อยกว่า 4 ปี คือตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม 1995 ถึง เดือนมิถุนายน 1999 ที่ Amazon.com เริ่มต้นธุรกิจครั้งแรกจากไม่มีลูกค้าเลย จนมีลูกค้าเป็นจ านวนมากถึง 10 ล้านคน แน่นอนว่านี่คือชัยชนะมากกว่าเป็นแค่พันธกิจของบริษัทที่เกี่ยวกับเวบไซต์ โดยการใช้อินเตอร์เน็ต เพื่อการน าเสนอสินค้าที่ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆ บริษัทจึงก่อตั้งร้านค้าออนไลน์ที่สามารถใช้งานง่ายและมีสินค้าต่างๆ มากมายให้เลือก ซึ่งท าให้ Amazon.com เป็นมากกว่าองค์การที่หวังผลก าไร เพราะเชื่อว่าความส าเร็จพื้นฐานมาจากความให้ความส าคัญกับผู้ถือหุ้นเป็นเวลานาน ซึ่งเป็นการแสดงถึงความสามารถของบริษัทโดยตรง และยังสร้างความแข็งแกร่งให้กับบริษัทในฐานะผู้น าในตลาดที่ท าธุรกิจนี้ ดังนั้นการเป็นผู้น าทางการตลาดท าให้ได้ค่าตอบแทนสูงขึ้น

Page 16: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

หลักการวางแผนขั้นพื้นฐาน (ต่อ)

Page 17: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ความส าคัญของแผนองค์การทางธุรกิจจะประสบความส าเร็จตามเป้าหมายได้หากมีการวางแผนไว้เป็น

อย่างดี เช่นได้ก าหนดงาน ก าหนดนโยบายในการด าเนินงาน ก าหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรและการใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่จ าเป็นในการด าเนินการ ฯลฯ การวางแผนจะอ านวยประโยชน์แก่การประกอบธุรกิจ ดังนี้1. ช่วยลดการท างานตามยถากรรม2. ช่วยให้การท างานประสานสัมพันธ์กัน รวมทั้งลดการท างานซ้ าซ้อน3. การปฏิบัติงานตามแผนงานย่อมก่อให้เกิดการประหยัดทั้งเงินทุนและเวลา4. ช่วยให้การตรวจสอบและการควบคุมงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

Page 18: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ความส าคัญของแผน (ต่อ)5. ช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่การงานของผู้บริหารให้ลดน้อยลง6. ช่วยให้ผู้บริหารมีความเชื่อมั่นในการบริหารมากขึ้น7. ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตรวจสอบความส าเร็จของเป้าหมายได้8. แผนงานที่ดีจะสามารถระดมก าลังคนและทรัพยากรต่างๆ ขององค์การมาใช้อย่าง

ทั่วถึง

Page 19: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ลักษณะของแผนที่ดี

ลักษณะของแผนที่ดีซึ่งเป็นที่ดีซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปนั้นควรมีลักษณะดังนี้1. มีความคล่องตัว (Flexibility) ลักษณะของแผนที่ดีต้องมีความคล่องตัวสูง สามารถเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาวะแวดล้อม ตลอดจนโอกาสใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นได้2. มีความครอบคลุม (Comprehensiveness ) ลักษณะของแผนมีทั้งที่เฉพาะเจาะจง และแผนรวมกิจกรรมทั้งมวลในองค์การ ดังนั้น แผนหลักหรือแผนระยะยาวควรเป็นที่รวมของกิจกรรมย่อยๆ ทั้งหลายในองค์การ หรือแผนระยะสั้นทั้งหมดเข้าไว้โดยมุ่งให้บรรลุเป้าหมาย หรือวัตถุประสงคห์ลักขององค์การ

Page 20: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ)

3. ระยะเวลาแผน (Time Spam) แผนที่ดีควรมีก าหนดระยะเวลาการเริ่มต้นและ การสิ้นสุดของแผนไว้อย่างชัดเจนว่า จะท าอะไร เมื่อไร และจะสิ้นสุดกิจกรรมนั้นเมื่อไร4. มีความคุ้มค่า (Cost Effectiveness) แผนที่ดีควรมีต้นทุนต่ ากว่าผลที่จะได้รับจากการใชแ้ผนนั้น โดยยึดหลักการประหยัด และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด5. มีความชัดเจน (Celerity or Specificity) แผนที่ดีต้องก าหนดไว้อย่างชัดเจนว่า ใคร จะเป็นผู้รับผิดชอบ ท าอะไร ท าเมื่อไร ท าที่ ไหน ท าอย่างไร และท าเพื่ออะไร อย่างละเอียด เพื่อให้การวางแผนไปใช้ปฏิบัติสามารถกระท าได้ประสานสอดคล้องกันอย่างต่อเนื่อง

Page 21: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ)

6. เป็นรูปแบบตามพิธีการ (Formality) แผนที่ดีต้องจัดวางขึ้นโดยผ่านขั้นตอนกระบวนการต่างๆ อย่างครบถ้วนซึ่งจะท าให้เป็นที่ยอมรับของคนในองค์การ7. มีเหตุมีผล (Rationality) แผนที่ดีจะต้องถูกก าหนดขึ้นอย่างมีเหตุมีผลเป็นที่ยอมรับของบุคลากรทุกคนในองค์การ และสามารถปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้จริง8. มีความสอดคล้อง (Relevance) แผนที่ดีจะต้องอยู่ในกรอบของวัตถุประสงค์ และนโยบายที่ก าหนดไว้

Page 22: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ)

9. มีลักษณะปกปิด (Confidentiality) แผนที่ดีจะต้องเปิดเผยรายละเอียดเฉพาะผู้ที่รับผิดชอบในการปฏิบัติ และผู้ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น เพื่อป้องกันคู่แข่งขันทางธุรกิจ10. มีลักษณะเน้นอนาคต (Future Oriented) เพราะว่าการวางแผนคือการะบวนการต่างๆ ในการตัดสินใจในปัจจุบัน เพื่อการปฏิบัติการในอนาคต ดังนั้นแผนที่ดีจึงต้องมุ่งเน้นการตอบสนองการปฏิบัติภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ11. มีความต่อเนื่อง (Continuous Process) แผนที่ดีต้องมุ่งเน้นการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตลอดจนการต่อเนื่องของแผน และการบริหารเพื่อให้องค์การก้าวไปข้างหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 23: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน

การจ าแนกประเภทของแผน ขึ้นอยู่กับบรรทัดฐานที่น ามาใช้ในการจ าแนกและจัดแบ่งประเภท เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานและง่ายต่อการท าความเข้าใจ การวางแผนอาจจ าแนกเป็นประเภทต่างๆ โดยอาศัยหลักเกณฑ์ที่แตกต่างกันไป การจ าแนกประเภทของแผนที่ส าคัญๆ มีดังนี้

Page 24: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระดับหน่วยงาน จ าแนกตามวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมาย จ าแนกตามระยะเวลา จ าแนกตามลักษณะการใช้

Page 25: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระดับหน่วยงานเป็นแผนซึง่ระบุถึงระดับหน่วยงานที่ก าหนดแผนและก าหนดวิธีการในการปฏิบัติตาม

แผน แผนประเภทนี้ได้แก่ แผนระดับชาติ แผนระดับกระทรวง แผนระดับกรม แผนระดับจังหวัด แผนระดับเขตพื้นที่การศึกษา แผนระดับโรงเรียน เป็นต้น

จ าแนกตามวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมาย

เป็นแผนซึ่งจัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายโดยเฉพาะ เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาชนบท แผนพัฒนาแหล่งอุตสาหกรรมภาคตะวันออก เป็นต้น

Page 26: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระยะเวลาแผนประเภทนี้ อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้

แผนระยะสั้น (Short-Range Plan) คือ แผนที่ใช้ระยะเวลาด าเนินการประมาณ 1 ปี แต่ไม่เกิน 2 ปี เช่น แผนปฏิบัติการประจ าปี (Action Plan or Operation Plan) ในแผนจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการด าเนินการ สถานที่ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ การวางแผนระยะสั้นอาจท าในรูปของแผนงาน (Program) หรือ โครงการ (Project) ซึ่งมีกิจกรรมไม่สลับซับซ้อน

Page 27: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระยะเวลา (ต่อ) แผนระยะปานกลาง (Intermediate-Range Plan) คือ แผนที่ใช้

ระยะเวลาในการด าเนินการตั้งแต่ 3-4 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี เป็นต้น แผนระยะยาว (Long-Range Plan) คือ แผนที่ใช้ระยะเวลาในการ

ด าเนินการมากกว่า 5 ปี ขึ้นไป ในแผนจะก าหนดขอบเขตแนวทางไว้กว้างๆ เช่น แผนการศึกษาแห่งชาติ 15 ปี เป็นต้น

Page 28: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระยะเวลา

- แผนระยะสั้น (Short-Range Plan)

- แผนระยะปานกลาง (Intermediate-Range Plan)

- แผนระยะยาว (Long-Range Plan)

Page 29: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามลักษณะการใช้โดยปกติองค์การหรือหน่วยงานต่างๆ จะมีแผนที่ใช้อยู่ 2 ประเภท คือ

แผนที่มีวัตถุประสงค์เดียว (Single-Purpose planning) เป็นแผนที่ใช้ส าหรับเป็นแนวทางในการปฏิบัติเฉพาะงานหรือเฉพาะความรับผิดชอบหรือเป็นไปตามสภาวการณ์ ครั้นเมื่องานส าเร็จลุล่วงไปแล้วหรือสภาวการณ์เปลี่ยนแปลงไป แผนนั้นก็จะถูกยกเลิกไม่ใช้อีกต่อไป หรืออาจเรียกว่า “แผนชั่วคราว” เช่น แผนลดค่าเงินบาท แผนป้องกันน้ าท่วม โครงการแพทย์อาสาสมัครเคลื่อนที่และอื่นๆ เป็นต้น

Page 30: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามลักษณะการใช้ (ต่อ) แผนที่ใช้อย่างต่อเนื่อง (Continuous-Use Planning) เป็นแผนที่ใช้ส าหรับเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องและเป็นประจ าด้วยระยะเวลาที่ยาวนาน แม้จะมีผลกระทบต่างๆ เกิดขึ้นในขณะด าเนินงาน แผนชนิดนี้จะไม่เปลี่ยนโครงสร้างแต่จะปรับปรุงรายละเอียดให้สามารถด าเนินการต่อไปได้ หรืออาจเรียกได้ว่า “แผนถาวร” หรือ “แผนงานหลัก”ได้แก่นโยบายต่างๆ เช่น นโยบายการพัฒนาชนบท นโยบายการป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์ นโยบายการลดอัตราการเกิด เป็นต้น

Page 31: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามลักษณะการใช้

- แผนที่มีวัตถุประสงค์เดียว (Single-Purpose planning)

- แผนที่ใช้อย่างต่อเนื่อง (Continuous-Use Planning)

Page 32: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระดับการบริหารงานหน่วยงานแผนประเภทนี้ อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้

แผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) เป็นแผนที่ถูกจัดท าขึ้นโดยผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายกลยุทธ์ของหน่วยงานแล้วประสานไปยังผู้บริหารระดับกลาง และระดับล่าง ท าให้การวางแผนกลยุทธ์มีลักษณะการบริหารแบบลงล่าง (Top-Dow Planning) ที่ผู้บริหารระดับสูงมีบทบาทส าคัญที่สุด

Page 33: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระดับการบริหารงานหน่วยงาน (ต่อ) แผนยุทธวิธี (Tactical Planning) เป็นแผนที่เกิดจากการกระท าร่วมกันระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับผู้บริหารระดับกลางเพื่อให้หน่วยงานธุรกิจก้าวไปสู่ผลส าเร็จที่วางไว้ ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายยุทธวิธีและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ แผนยุทธวิธี จะมีลักษณะเฉพาะเจาะจงและเป็นกิจกรรมที่ต้องกระท าโดยหน่วยงานย่อยซึ่งอยู่ภายในหน่วยงาน การวางแผนยุทธวิธีต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตก าหนดของแผนกลยุทธ์ แต่แผนยุทธวิธีจะท าหน้าที่ในการผสมผสานสอดคล้องระหว่างแผนกลยุทธ์

Page 34: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระดับการบริหารงานหน่วยงาน (ต่อ)

แผนปฏิบัตกิาร (Operational Plans) ใช้อธิบายเป้าหมายใน การปฏิบัติงานของหน่วยงานในลักษณะที่เป็นหน้าที่เฉพาะของหน่วยงาน หรือ มลีักษณะที่เป็นงานที่ต้องท าเป็นประจ าวันต่อวัน การวางแผนปฏิบัติการเป็นหน้าที่ของผู้บริหารระดับล่างที่จะต้องกระท าตามเป้าหมายปฏิบัติการ และให้สอดคล้องกับแผนยุทธวิธี และแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการจึงมลีักษณะการวางแผนระยะสั้น ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ภายในหน่วยงาน ซึ่งเป็นทรัพยากรที่ผู้บริหารสามารถควบคุมได้

Page 35: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามระดับการบริหารงานหน่วยงาน

- แผนกลยุทธ์ (Strategic Planning)

- แผนยุทธวิธี (Tactical Planning)

- แผนปฏิบัติการ (Operational Plans)

Page 36: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

การจ าแนกแผนตามหน้าที่ด าเนินงานการวางแผนโดยจ าแนกตามหน้าที่ด าเนินงาน สามารถจ าแนกแผนออกได้

เป็น 5 ชนิด ได้แก่ แผนแม่บท (Master Plan) เป็นแผนที่เกิดจากการรวมแผนทั้งหมดภายในหน่วยงานเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เห็นถึงโครงสร้างโดยรวมของการปฏิบัติงานภายในหน่วยงาน และใช้เป็นแม่แบบในการวางแผนระดับรองลงไปของกิจการ

Page 37: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

การจ าแนกแผนตามหน้าที่ด าเนินงาน (ต่อ) แผนหน้าที่ (Functional Plan) เป็นแผนที่ถูกวางขึ้นเพื่อเฉพาะเจาะจงใช้กับกลุ่มงาน แผนปฏิบัติงานจะเป็นแผนย่อยที่อยู่ในแผนใหญ่ที่เรียกว่าแผนแม่บท แผนปฏิบัติงานจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติทราบว่า หน่วยงานจะต้องท าอะไร ท าอย่างไร และท าเพื่ออะไร ตลอดจนแสดงเป้าหมายสุดท้ายที่คาดหวัง เมื่อปฏิบัติตามแผนทุกอย่างหมดแล้ว การจ าแนกการวางแผนตามหน้าที่นี้ สามารถจ าแนกแผนย่อยออกได้เป็นแผนด้านบุคลากร แผนด้านการผลิต แผนด้านการตลาด และแผนด้านการเงิน

Page 38: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

การจ าแนกแผนตามหน้าที่ด าเนินงาน (ต่อ) แผนงานโครงการ (Project) เป็นแผนที่หน่วยงานท าขึ้นเพื่อตอบสนองนโยบาย เกี่ยวกับกิจกรรมใหญ่ของหน่วยงานเฉพาะครั้ง (เป็นกิจกรรมที่นานๆ ท าที มิใช่ท าเป็นประจ าสม่ าเสมอ) ซึ่งต้องใช้ปัจจัยเป็นจ านวนมาก จากหน่วยงานต่างๆ หลายๆ หน่วยงาน การวางแผนงานโครงการจะช่วยให้หน่วยงานย่อยแต่ละหน่วยงานรู้หน้าที่ และความรับผิดชอบของตนมี การประสานสัมพันธ์อันดี ซึ่งจะท าให้งานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

Page 39: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

การจ าแนกแผนตามหน้าที่ด าเนินงาน (ต่อ) แผนสรุป (Comprehensive Plan) เป็นแผนที่จัดท าขึ้นเพื่อสรุปรวมแผนหน้าที่ตลอดจนแผนงานโครงงานที่หน่วยงานกระท า โดยอาจจ าแนกเป็นหมวดหมู่ หรือจ าแนกตามขอบเขตของงานหรือระดับความซับซ้อนในการปฏิบัติ เพื่อให้ง่ายต่อการท าความเข้าใจ การวางแผนประเภทนี้ จะเห็นได้ชัดในการวางแผนบริหารประเทศของรัฐบาล ตัวอย่างเช่น แผนสาธารณสุข แผนการจัดการศึกษา เป็นต้น

Page 40: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

การจ าแนกแผนตามหน้าที่ด าเนินงาน (ต่อ) แผนกิจกรรม (Activity Planning) เป็นแผนที่จัดท าขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นตารางเวลาของการปฏิบัติงาน (Schedule) แผนกิจกรรมจะแสดงให้เห็นว่า แต่ละหน่วยงานย่อยในหน่วยงานมีหน้าที่รับผิดชอบในการด าเนินกิจกรรมอะไร ในช่วงเวลาใดบ้าง กิจกรรมนั้นจะเริ่มต้นเมื่อไร และจะต้องด าเนินกิจกรรมต่อเนื่องกับหน่วยงานใดบ้างหรือไม่ เพื่อให้งานนั้นแล้วเสร็จ บรรลุผลส าเร็จ ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 41: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

การจ าแนกแผนตามหน้าที่ด าเนินงาน

- แผนแม่บท (Master Plan)

- แผนหน้าที่ (Functional Plan)

- แผนงานโครงการ (Project)

- แผนสรุป (Comprehensive Plan)

- แผนกิจกรรม (Activity Planning)

Page 42: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ) จ าแนกตามความถี่ของการน าแผนไปใช้

การจ าแนกประเภทของแผนวิธีนี้ จะแบ่งแผนออกได้ เป็น 2 ประเภท ดังนี้

แผนหลัก (Standing Plan) (หรืออาจเรียกได้ว่าแผนยืนพื้น แผนถาวร หรือแผนประจ า) เป็นแนวคิด หลักการ หรือแนวทางปฏิบัติในการกระท ากิจกรรมบางอย่างภายในหน่วยงาน ซึ่งต้องมีการกระท าซ้ าบ่อยๆ แผนหลักหรือแผนประจ านี้ จะถูกน ามาใช้ได้หลายๆครั้งโดยไม่มีการก าหนดอายุ(ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงสภาวการณ์ทั้งภายในและภายนอกเป็นเกณฑ์) แผนหลักหรือแผนประจ าจึงต้องเป็นเครื่องมือส าหรับผู้บริหารในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาระหว่างฝ่ายต่างๆ

Page 43: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ) จ าแนกตามความถี่ของการน าแผนไปใช้ (ต่อ)

แผนใช้เฉพาะครั้ง (Single-Use Plan) หมายถึง แผนที่เตรียมขึ้นอย่างเฉพาะเจาะจงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวแล้วจะไม่มีโอกาสเกิดขึ้นอีก (one time Goal) เมื่อบรรลุผลตามที่ก าหนดแล้วจะเลิกใช้แผนนั้นๆ แต่ถ้าสถานการณ์เอื้ออ านวยจะน ากลับมาใช้ใหม่อีกก็ได้

Page 44: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ประเภทของการวางแผน (ต่อ)

จ าแนกตามความถี่ของการน าแผนไปใช้

- แผนหลัก (Standing Plan)

- แผนใช้เฉพาะครั้ง (Single-Use Plan)

Page 45: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

สรุป ประเภทของการวางแผนจากการจ าแนกประเภทของแผน หากพิจารณาแผนที่หน่วยงานทางการศึกษาใน

ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนต้องด าเนินการแล้ว แผนที่มีความส าคัญและจ าเป็นต้องด าเนินการไม่ว่าจะค านึงถึงบริบทของหน่วยงาน วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ระยะเวลา คือแผนกลยุทธ์ที่ต้องมุ่งพัฒนาหน่วยงานไปสู่อนาคตที่สอดคล้องกับนโยบายหน่วยเหนือและตามความต้องการของหน่วยงาน รวมถึงบริบทที่เปลี่ยนไปโดยใช้ศักยภาพภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก ช่วยหนุนเสริมผลักดันให้หน่วยงานบรรลุวัตถุประสงค์และภารกิจที่ก าหนดไว้

Page 46: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

คุณลักษณะของแผนทีด่ี

แผนต้องมีความจ าเพาะเจาะจง แผนต้องสามารถประเมินผลเปน็ตัวเลขได้ แผนต้องเป็นที่ยอมรับขององค์การ แผนต้องมีแนวโน้มของความส าเร็จ แผนต้องมีการก าหนดระยะเวลาที่ชัดเจน

Page 47: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

คุณลักษณะของแผนทีด่ี (ต่อ) แผนต้องมีความจ าเพาะเจาะจง

ความจ าเพราะเจาะจงในที่นี้หมายถึง ความสามารถของแผนที่ก าหนดขึ้นส าหรับโครงการนั้น สามารถที่จะแจกแจงการปฏิบัติงานของโครงการได้อย่างเจาะจงหรือไม่ เช่น โครงการจัดสัมมนา ควรมีการวางแผนตั้งแต่การก าหนดวัน, ก าหนดสถานที่จัดประชุม, ก าหนดผู้ด าเนินการ, วิทยากร, คณะท างาน, การจัดเอกสาร, หนังสือเชิญเข้าร่วมสัมมนา, จัดสรรงบประมาณ, การจัดรายการอาหาร ฯลฯ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่จะต้องพิจารณาอันดับแรกของแผน เพราะหากไม่มีการระบุให้เฉพาะเจาะจงลงไปตรงตามรูปแบบและลักษณะของโครงการเราก็อาจมองข้ามปัญหาที่ยากต่อการแก้ไขหากด าเนินการตามแผนที่ไม่รัดกุม

Page 48: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

คุณลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ) แผนต้องสามารถประเมินผลเปน็ตัวเลขได้

แผนที่ดีจะต้องสามารถประเมินหรือวัดค่าของงานต่าง ๆ ออกมาได้ เช่น การด าเนินการของโครงการแบ่งเป็น 4 ช่วง ช่วงแรกของการด าเนินการคิดเป็น 20 % ช่วงที่ 2 คิดเป็น 50 % ช่วงที่ 3 คิดเป็น 75 % และช่วงสุดท้ายคิดเป็น 100 % หากเริ่มปฏิบัติงานตามแผนจริง แล้ววัดค่าของการด าเนินงานได้ตามเปอร์เซ็นต์ที่ก าหนด ก็เชื่อได้ว่ามีการวางแผนไปในทิศทางที่ถูกต้อง

Page 49: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

คุณลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ) แผนต้องเป็นที่ยอมรับขององค์การ

แผนที่วางไว้ส าหรับโครงการนั้น ถึงแม้จะเลิศหรูเพียงใด แต่หากขาดการยอมรับจากองค์การก็ถือเป็นแผนที่ไม่ดีขึ้นมาได้เช่นกัน ส าหรับการยอมรับหรือไม่ยอมรับขององค์การนั้น นอกจากจะเป็นเรื่องการตัดสินใจของคณะผู้บริหารและทีมงานแล้ว ยังเกี่ยวเนื่องกับผู้วางแผนโดยตรง

Page 50: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

คุณลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ) แผนต้องเป็นที่ยอมรับขององค์กร (ต่อ)

ในการอธิบายถึงวิธีการและรูปแบบของแผนต้องชัดเจนแจ่มแจ้ง เพื่อให้องค์การนั้นเกิดความเข้าใจและยอมรับโครงการนั้นๆ ผู้วางแผนโครงการจะต้องให้ความส าคัญต่อการอธิบายถึงแผนการด้วย การน าเสนอต่อบอร์ดหรือที่ประชุมด้วยเทคนิคและข้อมูลที่พรั่งพร้อม เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริหารระดับสูงและแจกแจงงานต่อผู้ร่วมทีมที่มีหน้าที่รับผิดชอบให้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่เพื่อเกิดความเข้าใจในงานและยอมรับแผนการท างาน

Page 51: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

คุณลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ) แผนต้องมีแนวโน้มของความส าเร็จ

โครงการต่างๆ โดยหลักจะต้องมีการก าหนดเป้าหมายของโครงการไว้ตั้งแต่แรกเริ่ม เพราะฉะนั้นแผนที่ดีจะต้องมีแนวโน้มมุ่งไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ เช่น การจะรณรงค์ให้ผู้ใช้รถใช้ถนนนั้นขับรถด้วยความระมัดระวัง ก็จะต้องวางแผนทั้งการรณรงค์ทางสื่อ ต่างๆ เช่น ประกาศทางโทรทัศน์ วิทยุ เดินรณรงค์อย่างต่อเนื่องและชัดเจน หรือหากด าเนินธุรกิจด้านการผลิตสินค้าเพื่อส่งออกต่างประเทศ ก็จะต้องมีแผนการด าเนินการ ระบุกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการจัดส่งสินค้าว่าสามารถด าเนินการได้หรือไม่ เพราะหากเราเพียงแค่วางแผนแล้วพบว่า จะไม่ประสบผลส าเร็จ ก็อาจจะพักหรือยกเลิกโครงการนั้นไปก่อน

Page 52: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

คุณลักษณะของแผนที่ดี (ต่อ) แผนต้องมีการก าหนดระยะเวลาที่ชัดเจน

โครงการต่างๆ นั้นจะต้องมีวงจรชีวิตของโครงการ คือ มีเริ่มและมีจบ เพราะฉะนั้นในช่วงอายุของโครงการจะต้องมีการวางแผนที่ก าหนดเวลาอย่างชัดเจน แผนที่ดีจะต้องบอกได้ว่าจะเริ่มต้นงานในช่วงเวลาใดเสร็จสิ้นงานในเวลาใด ช่วงใดของโครงการที่จะเป็นช่วงเริ่ม ช่วงด าเนินการ ช่วงตรวจสอบ และช่วงสรุปผล การก าหนดระยะเวลาที่ชัดเจนนี้ นอกจากจะส่งผลให้ทราบถึงการด าเนินการของโครงการที่เป็นระบบ ยังเป็นการแจกแจงงานให้ผู้ร่วมงานนั้น สามารถปฏิบัติงานได้อย่างตรงตามเวลาและตรงเป้าหมายของแผน

Page 53: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผนในการวางแผนนั้น นอกจากที่จะใช้แนวทางจากแนวคิดหลักในเบื้องต้น ยังต้อง

ผสมผสานไปกับความช านาญและประสบการณ์ของผู้วางแผน นอกจากนี้ยังสามารถใช้เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ออกแบบ และสามารถถ่ายทอดแผนที่ก าหนดขึ้นมาให้ผู้ร่วมทีมสามารถเข้าใจและรับงานไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

ส าหรับเครื่องมือที่ถือเป็นเทคนิคหลักในการออกแบบการวางแผน โดยส่วนใหญ่ก็จะต้องใช้แผนภูมิ ผังงาน ตารางงาน ซ่ึงมีรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามลักษณะของการเก็บข้อมูลงานประเภทต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์งาน การจัดกระบวนการงาน การมอบหมายงาน หรือแม้กระทั่งการน าเสนอและใช้ในการควบคุม การท างานให้ตรงตามแผนได้อย่างดีเยี่ยม

Page 54: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ)ส าหรับเทคนิคที่จะช่วยให้การวางแผนนั้นสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ

จะต้องมีการจัดล าดับของการท างานดังต่อไปนี้วิเคราะหแ์ละแยกแยะงานทั้งหมดของโครงการ ปรับโครงสร้างการจ าแนกงานลงรายละเอียดข้อมูลในแผนภูมิการท างานจัดล าดับงานส าหรับแผนปฏบิัติการ

Page 55: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) วิเคราะหแ์ละแยกแยะงานทั้งหมดของโครงการ

อันดับแรกสุดในกระบวนการวางแผนนั้นจะต้องมีการก าหนดงานที่จะเกิดขึ้นในโครงการให้เด่นชัดก่อน เพื่อที่เราจะสามารถแยกแยะหรือจัดกระบวนการของงานได้ โดยส่วนใหญ่การวิเคราะห์งานที่จะต้องปฏิบัตินั้น ควรที่จะมีการระดมความคิดจากผู้เชี่ยวชาญหลายๆ ด้านที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะครอบคลุมงานทุกด้านของโครงการ และเป็นที่ยอมรับในทุกส่วน ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า องค์กร หรือผู้ร่วมงาน

Page 56: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) ปรับโครงสร้างการจ าแนกงาน

เพื่อให้เห็นถึงโครงสร้างของงานที่ชัดเจน จะต้องน าเอาข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์งานมาจัดในรูปแบบของโครงสร้างการจ าแนกงาน ซึ่งมีลักษณะของแผนภาพ ที่อธิบายถึงงานและหน้าที่ตลอดจนผู้รับผิดชอบในสายการปฏิบัติงาน

Page 57: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ)

Page 58: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) ปรับโครงสร้างการจ าแนกงาน (ต่อ)

เป็นแผนภาพโครงสร้างการจ าแนกงาน ที่ได้มีการแยกแยะงานออกเป็นส่วนต่างๆ ลักษณะของแผนภาพจะเป็นการระบุถึงงานต่าง ๆ ของโครงการ โดยเริ่มก าหนดเป้าหมายที่ต้องการไว้ในระดับบนสุด ซึ่งก็คือ ระดับ 0 เป็นการส ารวจความคิดเป็นของสุภาพสตรีที่มีต่อผลิตภัณฑ์เสริมความงาม จากนั้นจะมีการแบ่งแยกงานที่ท าออกเป็น 2 รายการหลัก ที่ระดับ 1 คือ งานทางด้านแบบสอบถาม และงานด้านการรายงาน หากมีงานที่สามารถแยกย่อยออกมาได้อีก จะถูกก าหนดระดับเป็นระดับ 2 ส าหรับงานในระดับนี้ จากตัวอย่างก็คือ การออกแบบสอบถาม กับการเก็บข้อมูลในด้านของแบบสอบถาม

Page 59: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) ปรับโครงสร้างการจ าแนกงาน (ต่อ)

ส่วนด้านการรายงาน จะประกอบไปด้วยงานทางด้านโปรแกรมกับรายงาน จะเห็นได้ว่า เมื่อน าข้อมูลด้านการปฏิบัติงานมาเขียนในรูปแบบของโครงสร้างการจ าแนกงาน จะช่วยให้เราทราบถึง กระบวนการหรือโครงสร้างของงานที่เป็นภาพรวมทั้งหมด หากมีจุดใดที่ต้องการก าหนด หรือควบคุมในด้านงบประมาณ หรือการสลับสับเปลี่ยนต าแหน่งงานก็สามารถท าได้โดยง่าย

Page 60: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน

จากโครงสร้างจ าแนกงาน ถึงแม้จะช่วยให้เราทราบถึงภาพรวมของงานของโครงการที่เข้าใจง่าย แต่ก็ยังต้องมีการปรับรายละเอียดของการน าเสนอที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในรายละเอียดของงานและผู้รับผิดชอบ นอกจากนี้ยังต้องมีการแสดงถึงก าหนดของเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานด้วยจึงจะท าให้การวางแผนนั้นแสดงรายละเอียดได้อย่างครบถ้วน

Page 61: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

ดังนั้น การลงรายละเอียดจะอาศัยข้อมูลที่ก าหนดจากโครงสร้างจ าแนกงาน มาจัดรูปแบบของการน าเสนอใหม่ ให้ประกอบไปด้วย ลักษณะการท างานของผู้รับผิดชอบ และระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานต่าง ๆ โดยจะได้แนะน าถึง

1. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบเมตริกซ์2. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบแกนต์

Page 62: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

1. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบเมตริกซ์

แผนภูมิแบบเมตริกซ์ของการส ารวจความคิดเห็นของสุภาพสตรีต่อผลิตภัณฑ์ความงาม

Page 63: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

1. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบเมตริกซ์ (ต่อ)ในการอ่านรายละเอียดของแผนภูมิ จะเห็นว่า ดนุพลมีหน้าที่หลักในการ

รับผิดชอบงานที่ 2 และ 2.2 ซึ่งก็คือการรายงานและการจัดเตรียมรายงาน นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ที่ต้องคอยสนับสนุนงาน 1.0 แบบสอบถาม ที่มี นพวรรณ เป็นผู้รับผิดชอบหลัก

Page 64: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

2. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบแกนต์

แผนภูมิแบบแกนต์ เป็นแผนภูมิที่ใช้งานกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีการลงรายละเอียดที่ง่าย และสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว โดยรูปแบบของแผนภูมิก็จะประกอบไปด้วย ข้อมูลที่เกี่ยวกับงานที่ต้องปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาของการด าเนินการ ดังนั้นก่อนที่จะมีการเขียนแผนภูมิแบบแกนต์ขึ้นมาส าหรับการวางแผนจะต้อง ก าหนดงานหรือกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติให้ได้ก่อน พร้อมทั้งระบุระยะเวลาของงาน เช่น จากโครงการส ารวจความคิดเห็นของสุภาพสตรีต่อผลิตภัณฑ์ความงาม สามารถระบุรายละเอียดลงในแผนภูมิแบบแกนต์

Page 65: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

2. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบแกนต์

แผนภูมิแบบแกนตข์องการส ารวจความคิดเห็นของสุภาพสตรีต่อผลิตภัณฑ์ความงาม

Page 66: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

2. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบแกนต์

จากรูปเป็นการแสดงรายละเอียดที่บ่งบอกให้ทราบถึงการด าเนินการ: แสดงรายการของกิจกรรมหรืองานที่ต้องปฏิบัติในโครงการ การลง

ข้อมูลในแผนภูมิจะต้องลงรายละเอียดในส่วนนี้ให้ครบถ้วนก่อน เพื่อที่จะได้พิจารณาการจัดเวลา โดยรวมให้เห็นเด่นชัด ก่อนที่จะระบุรายละเอียดจริง เช่น มีงานทั้งหมด 13 งาน แต่ภายในระยะเวลา 30 วัน งานในล าดับที่ 8 ควรที่จะใช้เวลามากเนื่องจากต้องออกเก็บข้อมูล ก็สามารถก าหนดระยะเวลาก่อนได้

Page 67: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

2. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบแกนต์

จากรูปเป็นการแสดงรายละเอียดที่บ่งบอกให้ทราบถึงผู้รับผิดชอบ: ระบุถึงผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในงานต่างๆระยะเวลา: แสดงระยะเวลาทั้งหมดของโครงการหรืออายุของโครงการเมื่อต้องการระบุรายละเอียดของเวลาที่ใช้ไปในการปฏิบัติงาน ก็ใช้การลากเส้นให้

สัมพันธ์กันกับเวลาที่ได้ก าหนดให้งานแต่ละงาน โดยรายละเอียดของเส้นก็จะบอกให้เราทราบถึงการเริ่มต้นของงานและสิ้นสุด ใช้เวลาไปมากน้อยเท่าใด

Page 68: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การลงรายละเอียดของข้อมูลในแผนภูมิการปฏิบัติงาน (ต่อ)

2. การลงรายละเอียดในแผนภูมิแบบแกนต์

จากรูปเป็นการแสดงรายละเอียดที่บ่งบอกให้ทราบถึงเช่น ในงานที่ 6 การจัดพิมพ์แบบสอบถาม เริ่มต้นวันที่ 6 สิ้นสุดวันที่ 7 ใช้ระยะเวลาในการปฏิบัติงานทั้งสิ้น 2 วัน

แต่หากน าไปปฏิบัติจริงแผนที่ก าหนดในแผนภูมิ แกนต์ ก็อาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยนหรือคลาดเคลื่อนของช่วงเวลาได้ เนื่องจากอาจเกิดความล่าช้าจากการปฏิบัติงานในส่วนต่างๆ เช่น เครื่องถ่ายเอกสารช ารุด ท าให้ไม่สามารถได้งานในเวลาที่ก าหนด

Page 69: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตักิาร

ผังงานแบบเครือข่าย เป็นผังงานที่ใช้ในการแสดงการจัดระบบของการปฏิบัติงาน บอกให้ทราบถึงขั้นตอนจากงานหนึ่งไปสู่งานหนึ่ง หรือหลายๆ งาน รูปแบบที่ใช้กันโดยทั่วไป แบ่งเป็น

1. ผังงานเครือข่ายแบบกล่อง2. ผังงานเครือข่ายแบบลูกศร

Page 70: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตักิาร

ผังงานแบบเครือข่าย เป็นผังงานที่ใช้ในการแสดงการจัดระบบของการปฏิบัติงาน บอกให้ทราบถึงขั้นตอนจากงานหนึ่งไปสู่งานหนึ่ง หรือหลายๆ งาน รูปแบบที่ใช้กันโดยทั่วไป แบ่งเป็น

1. ผังงานเครือข่ายแบบกล่องรูปแบบผังงานเครือข่ายแบบกล่อง จะเป็นการระบุถึงกิจกรรมหรืองานที่ต้อง

ปฏิบัติในกรอบสี่เหลี่ยมดังรูป

Page 71: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตักิาร (ต่อ)

1. ผังงานเครือข่ายแบบกล่อง (ต่อ)

ลักษณะของข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในกล่องจะต้องประกอบไปด้วย ค าอธิบายลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ซึ่งก็คือ "การรวบรวมสมาชิก" ส่วนตัวเลขที่อยู่ในกรอบเล็ก จะบอกให้ทราบถึงล าดับขั้นของการ

Page 72: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตักิาร (ต่อ)

1. ผังงานเครือข่ายแบบกล่อง (ต่อ)เป็นล าดับที่ 7 โดยที่กล่อง 1 กล่องจะเป็นการเก็บข้อมูลของการปฏิบัติงานเพียง

1 งานเท่านั้น แต่หากมีงานที่ต้องปฏิบัติอีกหลายๆ งาน ก็จะใช้การเขียนรายละเอียดของงานและล าดับการท างานเป็นแต่ละส่วน

Page 73: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตักิาร (ต่อ)

1. ผังงานเครือข่ายแบบกล่อง (ต่อ)หากงานนั้นมีความสัมพันธ์กัน ก็จะใช้การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ด้วยลูกศร เช่น

เริ่มต้นการท างานด้วยการล้างรถ แต่งานจะส าเร็จหรือสิ้นสุดก็ต่อเมื่อได้มีการเช็ดรถให้แห้ง ดังรูป

Page 74: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตักิาร (ต่อ)

1. ผังงานเครือข่ายแบบกล่อง (ต่อ)

จากผังงานเครือข่ายแบบกล่อง จะแสดงให้เราทราบถึงการปฏิบัติงานในการออกร้านหรือจัดบูธสินค้า โดยเริ่มจากการรวบรวมสมาชิก และจัดซื้ออุปกรณ์

Page 75: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตักิาร (ต่อ)

1. ผังงานเครือข่ายแบบกล่อง (ต่อ)

จากนั้นจึงจะสามารถสร้างบูธ แล้วด าเนินการตกแต่ง และงานจะเสร็จสิ้นก็ต่อเมื่อได้มี การร้ือถอนบูธและจัดการเก็บกวาดท าความสะอาดพื้นที่

Page 76: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตัิการ

2. ผังงานเครือข่ายแบบลูกศร รูปแบบของผังงานเครือข่ายแบบลูกศร จะแสดงรูปแบบของการปฏิบัติงานโดยใช้

ลูกศรเป็นเครื่องมือในการชี้ทิศทางของการท างาน และเขียนกิจกรรมหรืองานก ากับไว้ที่เส้น ดังรูป

ลักษณะของลูกศร 1 เส้น จะใช้ในการแสดงกิจกรรมหรืองาน เพียง 1 อย่าง โดยก าหนดจุดเริ่มต้นที่ท้ายลูกศร, จุดสิ้นสุดหรือการท างานต่อไปที่ต าแหน่งการชี้ของหัวลูกศร

Page 77: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตัิการ (ต่อ)

2. ผังงานเครือข่ายแบบลูกศร (ต่อ)ในกรณีที่มีกิจกรรมหรืองานที่มากกว่าหนึ่ง จะต้องมีการเพิ่มล าดับของการท างาน

ขึ้นมาโดยจะจัดการเขียนให้อยู่ในรูปแบบของตัวเลขภายในเส้นวงกลม จัดวางไว้ที่ต าแหน่งเริ่มหรือทางด้านเส้นของลูกศรที่ไม่ใช่หัวลูกศร ตัวเลขที่ระบุนั้นจะบอกให้ทราบว่าเป็นงานในล าดับที่เท่าไหร่ แต่ไม่ได้หมายถึงจ านวนของกิจกรรมหรืองาน เช่น จากการท างานเช็ดและล้างรถ เป็นการท างานแบบล าดับและมีความสัมพันธ์กันในงานทั้งคู่ หากเขียนในรูปแบบของผังงานเครือข่ายแบบลูกศร แสดงได้ดังนี้

Page 78: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบตัิการ (ต่อ)

2. ผังงานเครือข่ายแบบลูกศร (ต่อ)

การเริ่มต้นของงานจะเริ่มจากจุดด้านปลายลูกศร ซึ่งเรียกว่า เป็นงานก่อนหน้า และจุดด้านหัวลูกศร จะเป็นการเสร็จสิ้นของงาน เช่น การท างานก่อนหน้าการล้างรถ ที่เริ่มจากจุดของหมายเลข 1 น้ันไม่มี แต่จะจบการท างานน้ีในจุดที ่2 จากนั้นเริ่มการท างาน เช็ดรถ ซึ่งเริ่มจากจุดที่ 2 และเสร็จสิ้นในจุดที่ 3 ซึ่งหมายความว่า การล้างรถคืองานก่อนหน้าของการเช็ดรถ ซึ่งต้องปฏิบัติให้เสร็จก่อนมิฉะนั้นจะไม่สามารถปฏิบัติงานในการเช็ดรถได้

Page 79: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

เทคนิคในการวางแผน (ต่อ) การจัดล าดับงานของแผนปฏิบัติการ (ต่อ)

2. ผังงานเครือข่ายแบบลูกศร (ต่อ)และจากการท างานของการออกบูธสินค้า เราสามารถน ามาเขียนในรูปแบบผังงาน

เครือข่ายแบบลูกศรได้ดังรูป

Page 80: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

โครงการกับการวางแผนสิ่งส าคัญต่อการประกอบธุรกิจหรือบริหารโครงการนั้น นอกจากจะมีการเลือก

ด าเนินงาน หรือกิจการที่ถนัดแล้ว จุดส าคัญก็คือการวางแผน เพื่อวางแนวทางการท างานของธุรกิจหรือโครงการนั้นๆ ไปพร้อมกันด้วย เชื่อแน่ว่าทุกท่านก็ต้องเคยวางแผนให้กับชีวิตของตนเองง่ายๆ เช่น วันนี้จะท าอะไร ตื่นนอน กินข้าว ไปท างาน แวะซื้อของ เสร็จไปหนึ่งวัน นี่ก็เป็นการวางแผนซึ่งไม่ใช่เรื่องยุ่งยากแต่ประการใด

Page 81: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

โครงการกับการวางแผน (ต่อ)แต่ในการประกอบธุรกิจหรือบริหารโครงการนั้นความยากของการวางแผน

กลับมาตกอยู่ที่ความละเอียดและรอบคอบต่อการคิดแผนที่ครอบคลุมในทุกๆ ด้านของกิจการหรือโครงการ ที่จ าเป็นต้องค านึงถึงความเป็นไปได้ ผลกระทบที่เกิดขึ้น แนวทางส าหรับการแก้ปัญหา หรือก าหนดตัวผู้รับผิดชอบ ซึ่งถือเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องใช้ทั้งสมองและหลักการทางด้านทฤษฎีเข้ามาประกอบกัน

Page 82: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

“ความล้มเหลวของโครงการ คือการวางแผนทีล่้มเหลว”เคยมีค ากล่าวที่บอกว่า "ความล้มเหลวของโครงการ คือ การวางแผนที่ล้มเหลว"

ซึ่งถือเป็นค ากล่าวที่ฟันธงได้เลยว่า หากคุณอยากจะประสบความส าเร็จในการด าเนินงานของโครงการต่างๆ สิ่งแรกที่จะบ่งบอกได้ว่าโครงการจะต้องม้วนเสื่อกลับบ้าน หรือด าเนินการต่อไปก็คือ การวางแผน เพราะการวางแผน เป็นสิ่งที่บ่งชี้ถึงการปฏิบัติ หรือแนวทางที่จะพุ่งเป้าไปสู่ความส าเร็จของโครงการ หลายๆ โครงการที่ไม่มีการวางแผนที่ดี เมื่อด าเนินการไปก็จะพบกับความบกพร่องหรือช่องโหว่ในการท างาน ซึ่งอาจน าไปสู่ความล้มเหลวได้หากไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

Page 83: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

การวางแผนโครงการ การวางแผนโครงการ (Project planning) คือ ความพยายามที่จะคาดคะเนเวลาและค่าใช้จ่าย ที่จะใช้ในการด าเนินงานโครงการใดโครงการหนึ่ง นอกจากนี้ยังรวมถึงผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ การก าหนดขั้นตอนในการท างาน กิจกรรมที่จะต้องท า เวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม รวมทั้งบุคลากรที่เหมาะสมในแต่ละกิจกรรมด้วย ในแต่ละโครงการควรจะวางแผนในรายละเอียดให้มาก ก่อนที่จะเริ่มท างานจริงและเมื่อด าเนินงานจริงแล้ว ควรมีการติดตามและควบคุมให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ด้วยส าหรับการก าหนดแผนงานและออกแบบโครงการจะประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การวิเคราะห์การออกแบบและการพัฒนาโปรแกรม การเตรียมเอกสาร การฝึกอบรม และการปฏิบัติงานจริง

Page 84: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

การวางแผนโครงการ (ต่อ) ซึ่งแตล่ะกิจกรรมก็จะประกอบด้วยงานย่อยแยกอีก ได้แก่ การคาดคะเนและ

ก าหนดระยะเวลา การเตรียมตารางการปฏิบัติงาน คาดคะเนและจัดสรรค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ที่จะได้รับ เป็นต้น

Page 85: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1: เป้าหมายโครงการโครงการจะประสบความส าเร็จ เมื่อผู้จัดการโครงการมีความเข้าใจความต้องการ

ของผู้มีส่วนได้เสียอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นใคร? โดยตรงหรือผลกระทบทางอ้อมจากโครงการ

Page 86: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)ในฐานะที่เป็นขั้นตอนแรกก็เป็นสิ่งที่ส าคัญในการระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการของคุณ มันไม่ใช่เรื่องง่ายเสมอเพื่อระบุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการโดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบทางอ้อม ตัวอย่างของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ผู้สนับสนุนโครงการ ลูกค้าที่จะใช้บริการ หรือผู้รับการส่งมอบงาน ผู้ที่ได้รับผลกระทบโครงการทั้งจากทางบวก และทางลบ ผู้จัดการโครงการและทีมงานโครงการ

Page 87: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)ขั้นตอนที่ 2 : การส่งมอบโครงการ

การใช้เป้าหมายที่คุณได้ก าหนดไว้ในขั้นตอนที่ 1 การสร้างรายชื่อของสิ่งที่โครงการต้องการเพื่อส่งมอบ เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายเหล่านั้น ระบุเวลาและวิธีการแต่ละรายการจะต้องส่งมอบ งานที่จะส่งมอบเพื่อการวางแผนโครงการ มีวันที่ส่งมอบโดยประมาณ และพยามปรับให้ถูกต้องมากขึ้น วันที่ส่งมอบจะถูกจัดตั้งขึ้นในระหว่างขั้นตอนการตั้งเวลาการท างานขณะด าเนินโครงการ

Page 88: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)ขั้นตอนที่ 3 : ก าหนดการของโครงการ

สร้างรายการของงานที่ต้องมีการด าเนินการส าหรับการส่งมอบแต่ละช่วงที่ระบุไว้ในขั้นตอนที่ 2 ส าหรับแต่ละงานระบุต่อไปนี้

ปริมาณของงานที่ต้องมีความพยายาม (ชั่วโมงหรือวัน) ที่จ าเป็นเพื่อให้งานส าเร็จ ทรัพยากรที่จะ Carryout งานให้สามารถเดินไปได้

Page 89: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)ขั้นตอนที่ 3 : ก าหนดการของโครงการ (ต่อ)

ปัญหาที่พบบ่อยค้นพบที่จุดนี้ คือ เมื่อโครงการมีการก าหนดเส้นตายการจัดส่งที่เรียกเก็บจากสปอนเซอร์ที่ไม่ได้เป็นจริง ซึ่งจะขึ้นอยู่กับการประมาณการของคุณ ถ้าคุณพบว่าเป็นกรณีนี้คุณต้องติดต่อสปอนเซอร์ให้ได้ทันที ตัวเลือกที่คุณมีอยู่ในสถานการณ์นี้ คือ

ก าหนดการเจรจา (ล่าช้าของโครงการ) จ้างลูกจ้างแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม (ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น) ลดขอบเขตของโครงการ (ส่งมอบน้อยกว่า)

Page 90: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)ขั้นตอนที่ 4 : แผนการสนับสนนุ

ข้อเสนอส่วนที่มีแผนการควรสร้างให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการวางแผน สิ่งเหล่านี้สามารถก าหนดได้โดยตรงในขั้นตอนการวางแผนการซึ่งประกอบด้วย

แผนการใช้ทรัพยากรมนุษย์ระบุชื่อบุคคลและองค์การที่มีบทบาทน าในโครงการ ส าหรับแต่ละขั้นตอนอธิบาย

บทบาทและความรับผิดชอบในโครงการถัดไป อธิบายจ านวน และประเภทของคนที่จ าเป็นในการ Carryout โครงการ ส าหรับทรัพยากรที่มีรายละเอียดแต่ละวันเริ่มต้นระยะเวลาประมาณ และวิธีการที่คุณจะใช้ส าหรับการให้ได้พวกเขามาช่วย

Page 91: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)ขั้นตอนที่ 4 : แผนการสนับสนนุ (ต่อ)

แผนการสื่อสารสร้างรายการเอกสารที่จะต้องมีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ และวิธีการที่

พวกจะได้รับข้อมูลที่สื่อสาร กลไกที่นิยมมากที่สุด คือ รายการสัปดาห์ หรือ รายการรายเดือน รายงานความคืบหน้า การอธิบายว่าโครงการมีประสิทธิภาพ, เหตุการณ์ส าคัญที่ ประสบความส าเร็จ และการท างานที่มีการวางแผนไว้ส าหรับช่วงถัดไป

Page 92: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)ขั้นตอนที่ 4 : แผนการสนับสนนุ (ต่อ)

แผนบริหารความเสี่ยงการบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนส าคัญของการจัดการโครงการ แม้ว่าผู้จัดการ

โครงการส่วนใหญ่มักจะมองข้าม เป็นสิ่งส าคัญในการระบุความเสี่ยงเป็นจ านวนมากในโครงการของคุณ ทั้งที่เป็นไปได้และสิ่งที่จะต้องเตรียม ถ้าเกิดสิ่งที่เลวร้ายเกิดขึ้น

น่ีคือตัวอย่างของความเสี่ยงโครงการที่มีร่วมกัน คือ • เวลาและค่าใช้จ่ายประมาณการมองในแง่ดีมากเกินไป• การขอความคิดเห็นของลูกค้าและรอบความคิดเห็นช้าเกินไป

Page 93: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

ขั้นตอนการวางแผนโครงการ (ต่อ)น่ีคือตัวอย่างของความเสี่ยงโครงการที่มีร่วมกัน คือ (ต่อ)• การถูกตัดงบประมาณโดยไม่คาดคิด • ไมม่ีบทบาทและความรับผิดชอบที่ชัดเจน• ไมม่ีการป้อนข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ต้องการ หรือความต้องการของ

พวกเขาจะเข้าใจอย่างไม่ถูกต้อง• เปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลังจากที่โครงการได้เริ่มต้น• ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพิ่มข้อก าหนดใหม่หลังจากโครงการได้เริ่มต้นขึ้น• การสื่อสารที่แย่เกิดจากความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนปัญหาด้านคุณภาพและ

การท างานซ้ า• ขาดความต่อเนื่องของทรัพยากร

Page 94: Chapter : 3 Practices Operational Planning (บทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน)

จบการบรรยายบทที่ 3 แนวทางการวางแผนการปฏิบัติงาน