51
การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต

Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต

Page 2: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

1.575050028-5 นางสาวพธัิญญา พรุิณสุนทร 2.575050178-6 นางกนกพชิญ์ อนุพันธ์ 3.575050183-3 นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร 4.575050179-4 นายโฆษิต จาํรัสลาภ 5.575050184-1 นายณัฐวุฒ ิจารุวงศ์ 6.575050190-6 นายวญิญ์ สาสุนันท์ 7.575050197-2 นายสุระ น้อยสมิ 8.575050188-3 นายรณฤทธ์ิ ธรรมาธิกร 9.575050198-0 นางสาวเสาวนา เสียงสน่ัน

สมาชิกในกลุม

Page 3: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การออกแบบการ

สอนตามแนว

ทฤษฏีคอนสตรัค

ติสวิสต (ID3)

ขอมูล

สารสนเทศ

แกปญหาอยาง

สรางสรรค

ผูสรางความรู สังคม

ความรูเปนสิ่งที่ไมคงที ่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

สังคมเศรษฐกิจ

ฐานความรู

การเรียนรูตองเร็ว

Page 4: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ขอตกลงของการออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต

การสรางการเรียนรู

การเรียนรูอยางต่ืนตัว

การเรียนรูเปนการแปลความหมาย

การรวมมือกันเรียนรู

Page 5: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ขอตกลงของการออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต (ตอ)

การเรียนรูที่เหมาะสม

ความรูสรางจากประสบการณ

การไตรตรอง

การทดสอบเชิงบูรณาการ

Page 6: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ขอควรพิจารณาในการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต

Page 7: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การจัดการกับขอจํากัดในการออกแบบการสอนเพ่ือใหสําเร็จตามเปาประสงค

การกระตุนแรงจูงใจของผูเรียน

การกําหนดระยะเวลาเรียนที่มีความยืดหยุน

สถานการณที่สอดคลองกับสภาพบริบท

เปาหมายของการเรียนการสอน

แหลงการเรียนรูที่หลากหลาย

Page 8: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การสอนมักจะใชวิธีการคิดเชิงเสนอยางเครงครัด

การจําแนกผลลัพธการเรียนรู

กลยุทธการเรียนการสอนที่ไมยืดหยุน

ขอจํากัดในการออกแบบการสอน

Page 9: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

นักออกแบบและผูรวมงาน

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา

นักออกแบบ

ครูผูสอนและนักเรียน

การสนุบสนุนมุมมองที่หลากหลาย

Page 10: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Jonassen, 1991

Cunningham et al, 1993

Jonessen ,1995

Savery & Duffy, 1995

Duffy& Cunningham, 1996

หลักการออกแบบการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต

Page 11: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

สงเสริมความตระหนักในกระบวนการสรางความรู จัดประสบการณ

พรอมกับกระบวนการสรางความรูท่ีเกิดข้ึนจากกระบวนการภายใน (

Mental Model) ซึ่งการเรียนรูน้ันเปนกระบวนการสรางมากกวาการ

รับรู และความรูน้ันจะถูกสรางข้ึนโดยตัวผูเรียนเอง โดยผูเรียนสามารถ

ปฏิบัติภารกิจจนเสร็จสิ้นกระบวนการ ใชการเรียนการสอนแบบฝงสมอ

(Anchored Instruction)

Jonassen, 1991

Cunningham et al, 1993

Jonessen ,1995

Savery & Duffy, 1995

Duffy& Cunningham, 1996

Page 12: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

จัดประสบการณที่เปดโอกาสใหลงมือกระทํา สงเสริม

ความตองการความเปนอิสระในการเรียนรู พิจารณา

ภารกิจการเรียนรูที่เหมาะสม รวมถึงบริบทการเรียนรู

จะตองชวยในการสรางความหมาย และสรางความรู

เพ่ือสรางความเขาใจของตนเอง

Jonassen, 1991

Cunningham et al, 1993

Jonessen ,1995

Savery & Duffy, 1995

Duffy& Cunningham,

1996

Page 13: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ออกแบบสิ่งแวดลอมที่สนับสนุนและทาทายการคิดสงเสริม

กระบวนการตรวจสอบ กระบวนการคิด มุมมอง และบริบท

ที่เปนทางเลือกที่หลากหลาย รวมถึงสงเสริมความเขาใจ

เก่ียวกับวิธีการแกปญหา ใหเปรียบเสมือนเปนปญหาและ

ภารกิจของผูเรียนเอง

Jonassen, 1991

Cunningham et al, 1993

Jonessen ,1995

Savery & Duffy, 1995

Duffy& Cunningham,

1996

Page 14: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ออกแบบการเรียนรูที่มุงเนนภารกิจการเรียนรู

ตามสภาพจริง (Authentic) และบริบทที่

เกี่ยวของ สงเสริมสรางมุมมองที่หลากหลาย

เกี่ยวกับโลกที่เปนจริง ผานเครื่องมือทาง

ปญญา

Jonassen, 1991

Cunningham et al, 1993

Savery & Duffy, 1995

Duffy& Cunningham,

1996

Page 15: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

จัดหาและใชเครื่องมือท่ีสนับสนุนการเรียนรู

รวมถึงสัญลักษณ เพ่ือเปนตัวกลางในการ

เรียนรู

Jonassen, 1991

Duffy& Cunningham,

1996

Page 16: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ออกแบบการเรียนรูในเชิงประสบการณและการมีสวนรวม

ในมิติเชิงสังคมที่หลากหลาย มีการรวมมือกัน แลกเปลี่ยน

ความคิดเห็น อภิปราย โตแยงและถกปญหาในกระบวนการ

เรียนรู เปนรูปแบบการมีสวนรวมของชุมชนการเรียนรู

(Learning Community) อีกทั้งเปดโอกาสและสนับสนุน

การไตรตรองทั้งดานเนื้อหาและกระบวนการเรียนรู

Jonessen ,1995

Duffy& Cunningham,

1996

Cunningham et al, 1993

Page 17: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การประเมินความรูควรมีความเปน

อิสระ ไมยึดเปาหมาย เนนการประเมิน

ตนเอง และตระหนักรูเกี่ยวกับการ

เรียนรูของตนเอง

Jonassen, 1991

Cunningham et al, 1993

Duffy& Cunningham,

1996

Page 18: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

แนวทางสําหรับการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต (Guidelines for doing constructivist ID)

General methodology

Need assessment Goal/Task analysis Instructional

strategy development

Make learning meaningful

Promote active knowledge

construction Media selection

Learner assessment

Page 19: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

วิธีวิทยาการทั่วไป (General methodology)

มุงเนนองคประกอบและปฏิสัมพันธขององคประกอบ

ผูเรียนและวิเคราะหภารกิจการเรียน

ครูและผูเรียนเปนสวนหนึ่งในทีมการออกแบบ โดย

พยามเปล่ียนจากหองทดลอง มาสูการปฏิบัติในสภาพ

จริง

Presenter
Presentation Notes
- มุ่งเน้นกระบวนการในการออกแบบและพัฒนาตลอดทั้งกระบวนการองค์ประกอบหลัก มากกว่าที่จะดำเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนหรือวิเคราะห์ภารกิจการเรียน - ควรมุ่งเน้นองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง - ครูและผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งในทีมการออกแบบ โดยพยามเปลี่ยนจากห้องทดลอง มาสู่การปฏิบัติในสภาพจริง
Page 20: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การประเมินความตองการจําเปน (Need assessment)

- นําผลการประเมินความตองการจําเปน ที่พิจารณาเก่ียวกับการแกปญหาที่มีลักษณะเปนการปฏิบัติ มาเปนพ้ืนฐานปรับปรุง การ

ปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะจงสําหรับการเรียนการสอน

- ควรหลีกเหล่ียงวิธีการวัดผลที่งายเกินไป ผลลัพธการเรียนรูที่สําคัญ อาจไมสามารถวัดดวยวิธีการแบบงายๆ

Presenter
Presentation Notes
นำผลการประเมินความต้องการจำเป็น ที่พิจารณาเกี่ยวกับการแก้ปัญหาที่มีลักษณะเป็นการปฏิบัติ มาเป็นพื้นฐานปรับปรุงการปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะจงสำหรับการเรียนการสอน ควรหลีกเหลี่ยงวิธีการวัดผลที่ง่ายเกินไป ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่สำคัญ อาจไม่สามารถวัดด้วยวิธีการแบบง่ายๆ
Page 21: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

วิเคราะหเปาหมาย/การกิจการเรียน (Goal/Task analysis)

จําแนกความแตกตางของสถานการณและ

เปาหมายของการศึกษา โดยใชกลยุทธการ

เรียนการสอนที่เหมาะสม

การกําหนดเปาหมายการเรียนการสอน ควร

บูรณาการในระหวางการเรียนการสอน

ใหความสําคัญในการพิจารณาระดับของการ

เปนผูเชี่ยวชาญ ควรใหคุณคาของการนําไปใชจากการตัดสินใจวา

ตองการมุงเนนส่ิงใด

Presenter
Presentation Notes
จำแนกความแตกต่างของสถานการณ์และเป้าหมายของการศึกษา โดยใช้กลยุทธ์การเรียนการสอนที่เหมาะสม กำหนดวัตถุประสงค์ในลักษณะองค์รวม ไม่ควรคาดหวังหรือกำหนดเป้าหมายที่มุ้งเน้นการรับหรือจดจำเนื้อหาสาระ การกำหนดเป้าหมายการเรียนการสอน ควรบูรณาการในระหว่างการเรียนการสอน ให้ความสำคัญในการพิจารณาระดับของการเป็นผู้เชี่ยวชาญ กระบวนการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหา มุ่งเน้นการให้ผู้เรียนทำความเข้าใจ นำเสนอเนื้อหาและประเมินการปฏิบัติที่ใช้วิธีการตามสภาพจริงที่เพียบพร้อมด้วยสารสนเทศ ควรให้คุณค่าของการนำไปใช้จากการตัดสินใจว่าต้องการมุ่งเน้นสิ่งใด การออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสรัคติวิสต์ ให้ความสำคัญกับการสร้างความเข้าใจ
Page 22: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

วิเคราะหเปาหมาย/การกิจการเรียน (Goal/Task analysis) (ตอ)

ไมควรคาดหวังหรือกําหนดเปาหมายที่มุงเนน

การรับหรือจดจําเน้ือหาสาระ

กระบวนการเรียนรูที่ใหความสําคัญกับการ

แกปญหา มุงเนนการใหผูเรียนทําความเขาใจ

นําเสนอเนื้อหาและประเมินการปฏิบัติที่ใช

วิธีการตามสภาพจริงที่เพียบพรอมดวย

สารสนเทศ

ทฤษฎีคอนสรัคติวิสต

ใหความสําคัญกับ

การสรางความเขาใจ

Presenter
Presentation Notes
จำแนกความแตกต่างของสถานการณ์และเป้าหมายของการศึกษา โดยใช้กลยุทธ์การเรียนการสอนที่เหมาะสม กำหนดวัตถุประสงค์ในลักษณะองค์รวม ไม่ควรคาดหวังหรือกำหนดเป้าหมายที่มุ้งเน้นการรับหรือจดจำเนื้อหาสาระ การกำหนดเป้าหมายการเรียนการสอน ควรบูรณาการในระหว่างการเรียนการสอน ให้ความสำคัญในการพิจารณาระดับของการเป็นผู้เชี่ยวชาญ กระบวนการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหา มุ่งเน้นการให้ผู้เรียนทำความเข้าใจ นำเสนอเนื้อหาและประเมินการปฏิบัติที่ใช้วิธีการตามสภาพจริงที่เพียบพร้อมด้วยสารสนเทศ ควรให้คุณค่าของการนำไปใช้จากการตัดสินใจว่าต้องการมุ่งเน้นสิ่งใด การออกแบบที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสรัคติวิสต์ ให้ความสำคัญกับการสร้างความเข้าใจ
Page 23: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การพัฒนากลยุทธการเรียนการสอน (Instructional strategy development)

เปดโอกาสสําหรับเปาหมายที่หลากหลายเพ่ือสนองตอบตอความความแตกตางของผูเรียน

ตระหนักถึงความสอดคลองระหวางเนื้อหา วิธีการ และทฤษฏีที่นํามาใช

ควรใหความสําคัญในลักษณะที่เปน การออกแบบส่ิงแวดลอมทางการเรียนรู มากกวาการเลือก กลยุทธการเรียนการสอน

Presenter
Presentation Notes
เปิดโอกาสสำหรับเป้าหมายที่หลากหลายเพื่อสนองตอบต่อความความแตกต่างของผู้เรียน เป้าหมายการเรียนการสอนควรกำหนดสำหรับผู้เรียนทุกๆคน ตระหนักถึงความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา วิธีการ และทฤษีที่นำมาใช้ ควรหลีกเลี่ยงการออกแบบการสอนและสื่อที่มีลักษณะเป็นเทมเพลท ซึ่งควรมุ้งเน้นการเรียนรู้ที่ลึกซึ้งมากกว่าเนื้อหารวมทั้งการสร้างแนวคิด เจตคติเกี่ยวกับการเรียนการสอน ควรให้ความสำคัญในลักษณะที่เป็น การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ มากกว่าการเลือก กลยุทธ์การเรียนการสอน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนกำหนดหรือตัดสินใจสิ่งที่ต้องการจะเรียนรู้ กระตุ้นให้ผู้เรียนให้ร่วมแลกเปลี่ยนและส่งเสริมการเรียนรู้ซึ่งกันและกันสร้างการเรียนรู้ไม่ใช่เฉพาะในชั้นเรียน ช่วยผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเอง
Page 24: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

สรางการเรียนรูอยางมีความหมาย (Make learning meaningful)

กระตุนใหเกิดการใชความรูที่มีมากอน โดยเชื่อมโยงกับสารสนเทศใหม เพ่ือสราง

ความหมายของตนเอง

เปดโอกาสใหผูเรียนฝงตนเองลงในบริบทการเรียนรูตามสภาพจริง

Presenter
Presentation Notes
กระตุ้นให้เกิดการใช้ความรู้ที่มีมาก่อน โดยเชื่อมโยงกับสารสนเทศใหม่ เพื่อสร้างความหมายของตนเอง ใช้การเรียนการสอนแบบฝังสมอ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนฝังตนเองลงในบริบทการเรียนรู้ตามสภาพจริง
Page 25: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

สงเสริมการสรางความรูอยางต่ืนตัว (Promote active knowledge construction)

ตระหนักเก่ียวกับคุณคาของกลยุทธการเรียนการสอน

สนับสนุน

การคิดขั้น

สูง

สงเสริม

เกี่ยวกับ

แนวคิดท่ี

หลากหลาย

สงเสริม

การ

แกปญหา

อยาง

สรางสรรค

และ

ยืดหยุน

Presenter
Presentation Notes
ใช้ภารกิจการเรียนรู้หรือกิจกรรมในการสนับสนุนการคิดขั้นสูง ส่งเสริมเกี่ยวกับแนวคิดที่หลากหลาย ส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และยืดหยุ่น ตระหนักเกี่ยวกับการเรียนการสอน ตระหนักเกี่ยวกับคุณค่าของกลยุทธ์การเรียนการสอน
Page 26: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การเลือกสื่อ (Media selection)

คุณลักษณะและระบบสัญลักษณของสื่อที่แตกตางกัน ซึงสงผลตอกระบวนการทางพุทธิปญญา ดังนั้นนักออกแบบควรใหความสําคัญตลอดจนการสรางและคุณคาของการผลิตสื่อ

ที่สงเสริมกระบวนการทางพุทธิปญญา

Presenter
Presentation Notes
การรู้สื่อ และอคติ เป็นข้อควรพิจารณาในการตัดสินใจ สื่อที่แตกต่างกัน จะมีคุณลักษณะและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่แตกต่างกัน ซึงส่งผลต่อกระบวนการทางพุทธิปัญญา ดังนั้นนักออกแบบควรให้ความสำคัญตลอดจนการสร้างและคุณค่าของการผลิตสื่อที่ส่งเสริมกระบวนการทางพุทธิปัญญา
Page 27: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การประเมินผูเรียน (Learner assessment)

บูรณาการการประเมินลงสูกระบวนการเรียนการสอน

การวิพากษและการอภิปรายผลงานท่ีเกิดจากการสรางความรูของผูเรียน ควรนํามาใชเปนพ้ืนฐานในบริบทตามสภาพจริง

นําการประเมินอยางไมเปนทางการมาใชในชั้นเรียนและส่ิงแวดลอมการเรียนรู

Presenter
Presentation Notes
บูรณาการการประเมินลงสู่กระบวนการเรียนการสอน การวิพากษ์และการอภิปรายผลงานที่เกิดจากการสร้างความรู้ของผู้เรียน ควรนำมาใช้เป็นพื้นฐานในบริบทตามสภาพจริง นำการประเมินอย่างไม่เป็นทางการมาใช้ในชั้นเรียนและสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ ได้แก่ การสังเกต ภาษาทางกาย นำมาช่วยเพิ่มความสมบูรณ์ในการประเมินอย่างเป็นทางการมากขึ้น เพื่อนำมาเป็นพื้นฐานในการปรับกระบวนการการเรียนการสอน
Page 28: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ขอไดเปรียบของการออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต

ชวยเพ่ิมผลการเรียนรูที่มีความหมาย

ชวยเพ่ิมการลงมือกระทําการเรียนรูอยางมีความหมาย

ชวยเพ่ิมความสามารถแกปญหาอยางอิสระ

ชวยเพ่ิมทักษะการเสาะแสวงหา

ชวยเพ่ิมการออกแบบการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุน

ชวยเพ่ิมกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุน

ชวยเพ่ิมการใหความรูเชิงสังคม

Page 29: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ขอควรพิจารณาในการออกแบบ

อาจมีคาใชจายเพ่ิมมากขึ้น

อาจไมมีเนื้อหาและสื่อใดๆ ที่ครอบคลุมทั้งหมด

การใหความสําคัญกับการเรียนแบบรอบรู

ควรทําความเขาใจเก่ียวกับหลักการ ทฤษฎีอยางถองแท

Page 30: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ลักษณะของงานการออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต

สังเคราะหความคิดรวยยอด (Key Concepts)

วิเคราะหทฤษฎีและงานวิจยั

จิตวิทยาการเรียนรู การเรียนรูบน

เครือขาย ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต

ทฤษฎีพุทธปญญานิยม

คุณลักษณะของส่ือ

ระบบสัญลักษณของ

ส่ือ

สภาพบริบทจริง

- กรอบแนวคิดการ

ออกแบบ

- องคประกอบของ

โมเดล

Page 31: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

1. การสังเคราะหกรอบแนวคิด

การกระตุนโครงสรางทาง

ปญญา

• ตามแนวคิด Cognitive constructivism ของ Piaget ที่เช่ือวาการเรียนรูเกิดจากการกระตุนดวยปญหา

การสรางสถานการณ

ปญหา

• ตามหลักการ Situated Learning environment ของ Herrington&Oliver ที่มุงเนนบริบทในชีวิตจริง พรอมทั้งสงเสริมการคิดข้ันสูง

Page 32: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

2.การสนับสนุนการปรับสมดุลทางปญญา

มีพ้ืนฐานจาก Cognitive

constructivism ของ Piaget

ผูเรียนพยายามปรับโครงสราง

ทางปญญาใหเขาสูภาวะสมดุล

การดูดซึม (Assimilation)

การปรับโครงสรางทางปญญา

(Accommodation)

ธนาคารความรู ลิงคท่ีเกี่ยวของ เครื่องมือชวยคน

Page 33: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

3. การสงเสริมการขยายโครงสรางทางปญญา

มีพ้ืนฐานจาก Social

constructivism ของ Piaget ใน

หลักการของ Collaboration

เนนการรวมมือแกปญหาและการ

แลกเปลี่ยนมุมมองที่หลากหลาย

เพ่ือขยายมุมมอง

เครื่องทางปญญา

(Cognitive tool)

กระดานสนทนาบนเครือขาย (Web

board)

Page 34: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

4. การสงเสริมและชวยเหลือในการสรางความรู

ฐานการชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด (Conceptual scaffolding)

ฐานการชวยเหลือดานความคิด (Metacognitive scaffolding)

ฐานการชวยเหลือดานกระบวนการ (Procedural scaffolding)

ฐานการชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic scaffolding)

ฐานความชวยเหลือ Open learning

enviroments

(OLEs)

1.

2.

3.

4.

Page 35: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Page 36: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Page 37: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Page 38: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Page 39: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Page 40: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การสนับสนุนการปรับสมดุลทางปญญา

แนวคิด Cognitive Constructivism ของ Piaget

ภาพจาก : https://teacherweekly.files.wordpress.com

Page 41: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ขอมูลสารสนเทศ/บทเรียน

บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

เนื้อหา 1.3 เนื้อหา 1.2 เนื้อหา 1.1

เนื้อหา 2.3 เนื้อหา 2.2 เนื้อหา 2.1

เนื้อหา 3.3 เนื้อหา 3.2 เนื้อหา 3.1

แหลงสารสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ

บทเรียน

ธนาคาร

ความรู (Knowledge

Bank)

Page 42: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การออกแบบสิ่งแวดลอมทางการเรียนรูในทฤษฎีพุทธิปญญา (Cognitivism)

บันทึกผัสสะ (Sensory register)

ความจําระยะสั้น (Short term memory)

ความจําระยะยาว (Long term memory)

การใสใจ (Attention)

ถายโยง (Transfer)

เรียกกลับมาใช (Retrieval)

เก็บไว (Storage)

เนนสี ตัวทึบ/หนา

ตัวเอียง

ขีดเสนใต กราฟกที่จูงใจ

Page 43: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

การสงเสริมการขยายโครงสรางทางปญญา

แนวคิด Social Constructivism ของ Vygotsky

ภาพจาก : https://teacherweekly.files.wordpress.com

Page 44: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

สวนรวมในการลงมือปฏิบัติ

(Collabaration)

แลกเปลี่ยนความคิด

ขยายมุมมอง (Multiple Perspective)

Page 45: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

กระดานสนทนา (Web board)

แชท (Chat)

อีเมล (E-mail)

การออกแบบสิ่งแวดลอมทางการเรียนรู

เพ่ือนในกลุม/ชั้นเรียน ผูเชี่ยวชาญ

อื่นๆ (others)

Page 46: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Open Learning Environments (CLEs)

• Conceptual

• Metacognitive

• Procedural

• Strategic

Scaffolding หลักการออกแบบ

สิ่งแวดลอมทางการ

เรียนรูที่พัฒนาโดย

Hannafin (1999)

Page 47: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Conceptual Scaffolding

สรางความคิดรวบยอดของ

เนื้อหาและใจความสําคัญของ

เนื้อหาเพ่ือนําไปสูการแกปญหา

โดยจะแสดงความสัมพันธ

เชื่อมโยงระหวางประเด็นสําคัญ

ตางๆ

Page 48: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Metacognitive Scaffolding

ตรวจสอบวิธีการคิดและแนวทางแกปญหาของตนเองถึงความเปนไปไดในการนําไปแกไขสถานการณปญหา

1. นําวิธีการคิดหาคําตอบมาตรวจสอบถึงกระบวนการคิดอีกคร้ัง

2. นํากระบวนการคิดมาเขียนเปนแผนภูมิ

3. หากพบขอผิดพลาดลองหาวิธีใหม

Page 49: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Procedural Scaffolding

วิธีการใชงานแหลงการ

เรียนรู เครื่องมือ และ

องคประกอบตางๆ ใน

ส่ิงแวดลอมการเรียนรู

Page 50: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Strategic Scaffolding

วิเคราะหแนวทางและการตัดสินใจในการแกปญหา

1. คําสําคัญของปญหา

2. เปรียบเทียบความเหมือนและตางกับปญหาอ่ืนมาสรุปเปนแนวทางของตนเอง

3. ศึกษาสาระสําคัญของประเด็นตางๆ ในภารกิจ

Page 51: Lesson 9 การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

THANK YOU