25
ข้อเสนอเพื่อจัดทํา (ร่าง) แนวทางปฏิบัติในการใช้งาน Social Media ของบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

Social Media Proposal

Embed Size (px)

Citation preview

ข้อเสนอเพื่อจดัทํา (ร่าง)

แนวทางปฏิบัติในการใช้งาน

Social Media ของบุคลากร

ทางการแพทย์และสาธารณสุข

นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์

ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

มหาวิทยาลัยมหิดล

แนะนําตัวนพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์2546 แพทยศาสตรบัณฑิต (รามาธิบดี 33)2552 M.S. (Health Informatics), University of Minnesota2554 Ph.D. (Health Informatics), University of Minnesotaตําแหน่งในปัจจุบัน อาจารย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน รามาธิบดี รองผู้อํานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์

ฝ่ายสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดีAcademic Interests Health IT, eHealth & Electronic Health Records Health information Privacy & Security Social MediaContact [email protected]

SlideShare.net/Nawanan

ประสบการณ์ด้าน Social Media

Nawanan Theera-Ampornpunt

NawananT

@Nawanan @ThaiHealthIT

Nawanan

Nawanan Theera-Ampornpunt

บทบาทด้าน Social MediaWhat I Am

ผู้ใช้งานกลุ่มแรกๆ (Social Media Early Adopter)

ผู้สนใจใฝ่รู้และผลักดัน (Social Media Enthusiast,

Advocate, Evangelist)

นักวิชาการเวชสารสนเทศที่สนใจเรื่อง Social Media ที่มี

Ethical, Legal, and Social Implications (ELSI)

What I Am Not

x Social Media Celebrity

x Social Media Expert

เป้าหมายของการนําเสนอ เพื่อนําเสนอกรอบแนวคิดเบือ้งต้นของผู้นําเสนอ และ

เป็นเวทีในการ Clarify Expectations และกําหนด

วัตถุประสงค์, ขอบเขต (scope), ผลลัพธ์ (Deliverable)

และ Timeline ที่เป็นข้อสรุปร่วมกนั

เปิดโอกาสให้คณะกรรมการชี้แนะแนวทางการดําเนินงาน

และประเด็นอื่นๆ ก่อนพิจารณาให้การสนับสนุน

ที่มาของข้อเสนอ 14 พ.ค. 2557 สช. จัดเวทีจุดประกายเรื่องการใช้สื่อ

สังคมออนไลน์กับการคุ้มครองข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล มีข้อสรุปคือ ควรศึกษาให้ชัดเจนและสร้างความสมดุลระหว่างเรื่อง

ของความเป็นปจัเจกกับประโยชน์สาธารณะ สร้างองค์ความรู้ เพื่อจะดําเนินการไปสู่การจัดทํา

กฎหมาย รวมถึงการพัฒนาแนวปฏิบัติ (Guideline) และจรรยาบรรณ (Code) ที่เหมาะสม ซึ่งเปน็มาตรฐานกลางของประเทศ อาจเป็นความร่วมมือระหว่างองคก์รวิชาชีพ

สถานพยาบาลต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ที่มาของข้อเสนอ 8 ธ.ค. 2557 คณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อส่งเสริมการ

ใช้สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ มีมติดังนี้ ให้ สช. รวบรวมแนวปฏิบตัทิี่เกี่ยวข้องกับองค์กรวิชาชีพ

และให้มีการยกร่างแนวปฏิบัติขึ้นมาพิจารณาก่อน

ให้มีการจัดตั้งทีมงานเพื่อร่วมพิจารณาให้ความเห็นต่อ

แนวปฏิบัติ ซึ่งควรประกอบดว้ยสํานักงาน กสทช.

สถานพยาบาล และองค์กรวิชาชีพอื่นๆ

16 ธ.ค. 2557 ได้รับการติดต่อจาก สช.

หลักการและเหตุผล อิทธิพลและความสําคัญของ Social Media ในการใช้

ชีวิตประจําวัน

Image Source: http://michaelcarusi.com/2012/01/01/when-you-should-not-become-a-social-media-manager/

หลักการและเหตุผล อิทธิพลและความสําคัญของ Social Media ในการใช้

ชีวิตประจําวันของคนไทย

หลักการและเหตุผล อิทธิพลและความสําคัญของ Social Media ในการใช้

ชีวิตประจําวันของคนไทย

หลักการและเหตุผล Social Media เป็น “กระแส” หรือเป็น “สิ่งที่ผู้คนโหย

หา” ตามธรรมชาติ

Image Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Maslow's_hierarchy_of_needs

หลักการและเหตุผล Social Media เป็น “โอกาส” ของประชาชน ในเรื่อง

สุขภาพ

Image Source: PatientsLikeMe.com, CaringBridge.org

หลักการและเหตุผล Social Media เป็น “โอกาส” ของบุคลากรทาง

การแพทย์และสาธารณสุข ในเรื่องสุขภาพ โอกาสติดตามความรู้ทางการแพทย์ และเปิดโลกทัศน์

โอกาสสร้างเครือข่ายความร่วมมือ

โอกาสเข้าถึงผู้ป่วย

Image Source: KevinMD.com

หลักการและเหตุผล แนวคิด “E-Patient” โดย Richard Davies deBronkart Jr.,

Cancer survivor, Blogger และ Activist for participatory medicine & patient engagement through information technology

E-Patient Electronic” Patient

Engaged Patient

Equipped Patient

Empowered Patient

Educated Patient

Enlightened Patient

Etc.From Dr. Danny Sands’ tutorial presentation at AMIA2013

หลักการและเหตุผล Social Media เป็น “ความเสี่ยง” ทั้งของประชาชน และ

บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ในเรื่องสุขภาพ Personal & Professional Lives

Privacy Risks

False/Misleading Information

Unprofessional/Inappropriate/Controversial

Conduct

วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทําแนวทางปฏิบัติ (Guidelines) ในการใช้สื่อ

สังคมออนไลน์ (Social Media) ของบุคลากรทางสุขภาพ

ที่เป็นมาตรฐานกลางของประเทศ

หลักการทํางาน (Guiding Principles)

Balanced View of Social Media (Benefits & Risks)

Comprehensive Literature Review

Multi-Stakeholder Engagement

Applicable to Health Professionals from Various

Backgrounds, in Various Roles & Settings

Guidelines as a Guide, Not a Rule

หลักการทํางาน (Guiding Principles)

Comprehensive Literature Review Domestic Professional Ethics & Legal Framework Organizational Social Media Policy Documented Expert’s Opinions Social Media Case Studies & News

International Professional Ethics & Legal Framework Academic Literature on Social Media & Professional

Ethics Professional Guidelines on Social Media Organizational Social Media Policy

หลักการทํางาน (Guiding Principles)

Multi-Stakeholder Engagement Regulators ระดับองค์กร: ด้านสาธารณสุข: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ด้านสื่อสารมวลชนและผู้ให้บริการโทรคมนาคม: กสทช. ด้านนโยบายข้อมูลและ ICT ขององค์กร: คณะกรรมการธุรกรรมทาง

อิเล็กทรอนกิส์, สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

ระดับบุคคล: องค์กรวิชาชีพ Direct Users Regular Users: ตัวแทนบุคลากรทางการแพทย์, ตัวแทนผู้บริหาร รพ.

(ทั้งด้านบริการและด้าน PR/สื่อสารองค์กร) Avid Users: Social Media Celebs ด้านสุขภาพ, นักสื่อสารมวลชน

Patients: ตัวแทนเครือข่ายผู้ป่วย/ประชาชน Academics: นักวิชาการด้านกฎหมาย, ICT/Security/Social

Media/Digital Marketing, Health Informatics

ขั้นตอนการทํางาน

Feb 1, 2015 Aug 31, 2015Mar 1, 2015 Apr 1, 2015 May 1, 2015 Jun 1, 2015 Jul 1, 2015 Aug 1, 2015

Feb 1, 2015 May 31, 2015

Literature Review

Apr 1, 2015 Jul 15, 2015

Guideline Drafting

Apr 15, 2015 Jul 1, 2015

Stakeholder Engagement

Jul 15, 2015 Aug 15, 2015

Public Hearing

Aug 1, 2015 Aug 31, 2015

Report Writing

& Submission

Scope

In-Scope Health Focus Provider Orientation Domestic Enforcement Inclusiveness of Various Types & Uses of Social MediaOut-of-Scope Non-Social Media Issues (Except when relevant to or

overlap with social media issues) Use of PC and Mobile outside Social Media General IT Security and Data Privacy Policies & Practice

Social Media Use by Patients/Consumers International Implications & Enforcement

Deliverables

Draft Guidelines on Social Media Use by

Healthcare Professional

Project Report, including Comprehensive Literature Review

Outcome of Public Hearing Process

Intellectual Property Ownership

สช.

Draft Guidelines on Social Media Use by

Healthcare Professional

Project Report, including Comprehensive Literature Review

Outcome of Public Hearing Process

นพ.นวนรรน

Academic publications (with or without contents

from project report and project activities)

Resources & Budget

จํานวนงบประมาณที่ขอ: ขอหารือกับทาง สช. ในภายหลัง Meeting & Public Hearing Expenses Informant Honoraria/Travel Expenses Venues Coffee Breaks & Meals Public Relations & Miscellaneous Expenses

Investigator’s Travel Expenses Nominal Investigator Compensation สช. ช่วยประสานงานและทําหน้าที่ Secretariat ของโครงการ ประสานงานผู้เกี่ยวข้องในขั้นตอนต่างๆ ตาม investigator ร้องขอ วางแผนการจัดการประชุม (event planning & management) Manage ค่าตอบแทน informants และคา่ใชจ้่ายในการจัดประชุม

Comments &

Feedback