8
Future Management 16 ความทาทายสําคัญ จากการสรางภาพเหตุการณจําลองอนาคต โดย กองบรรณาธิการ จากการบรรยายพิเศษหัวขอ “Thriving in the 21 st Century World” ไดรับเกียรติจาก ดร.ไมเคิล แจ็คสัน ผูกอตั้ง และประธานเว็บไซต Shaping Tomorrow ประเทศอังกฤษ และ Futurist ที่มีชือเสียงระดับแนวหนา เปนวิทยากร โดยการสนับสนุนจากองคการเพิ่มผลผลิตแหงเอเชีย หรือ (APO) ซึ่งจัดขึ้นภายในงานกาลาดินเนอร อันเปนสวนหนึ่งในกิจกรรม ครบรอบ 20 ป สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ ณ โรงแรม เพนนินซูลา กรุงเทพฯ คอลัมน Future Management ฉบับนี้ จะสรุปประเด็นสําคัญ เพื่อใหผู อานไดเตรียมพรอมรับมือดวยการนําแนวคิดการจัดการธุรกิจ และเครื่องมือใน การบริหารจัดการองคกรที่มีความเหมาะสม และสอดคลองกับบริบทของโลก อนาคต ใหองคกรสามารถปรับตัวไดทันตอการเปลี่ยนแปลงของสถานการณโลก ที่เปนไปอยางรวดเร็ว

[Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

Future Management

16 ความทาทายสําคัญจากการสรางภาพเหตุการณจําลองอนาคต

โดย กองบรรณาธิการ จากการบรรยายพิเศษหัวขอ

“Thriving in the 21st Century World”ไดรับเกียรติจาก ดร.ไมเคิล แจ็คสัน ผูกอตั้ง

และประธานเว็บไซต Shaping Tomorrow ประเทศอังกฤษ

และ Futurist ที่มีชื�อเสียงระดับแนวหนา เปนวิทยากร

โดยการสนับสนุนจากองคการเพิ่มผลผลิตแหงเอเชีย หรือ (APO)

ซึ่งจัดขึ้นภายในงานกาลาดินเนอร อันเปนสวนหนึ่งในกิจกรรม

ครบรอบ 20 ป สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ

ณ โรงแรม เพนนินซูลา กรุงเทพฯ

คอลัมน Future Management ฉบับนี้ จะสรุปประเด็นสําคัญ เพื่อใหผู

อานไดเตรียมพรอมรับมือดวยการนําแนวคิดการจัดการธุรกิจ และเครื่องมือใน

การบริหารจัดการองคกรที่มีความเหมาะสม และสอดคลองกับบริบทของโลก

อนาคต ใหองคกรสามารถปรับตัวไดทันตอการเปลี่ยนแปลงของสถานการณโลก

ที่เปนไปอยางรวดเร็ว

Page 2: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

แตเราสามารถคาดการณบางส่ิงที่อาจเกิดขึ้นได โดยใชขอมูลที่เปน

เหตุขับเคลื่อน เชน เราอาจเคยไดยินความเปนไปไดในการผลิตรถยนตไรคนขับ

ซึ่งในอนาคตทุกบริษัทรถยนตอาจจะสามารถผลิตรถยนตไรคนขับได และในกรณี

ที่เราไมรู ว าจะเกิดอะไรขึ้น เชน ใครจะรู วาอะไรจะเกิดขึ้นกับประเทศกรีซ

ในวันพรุงน้ี ดังนั้น เราจึงควรสรางภาพเหตุการณจําลองอนาคต (Scenario)

ในสถานการณถดัไปจากนี ้ซึง่ตองอาศยัแรงขบัเคลือ่นท่ีเปนแนวโนมของเหตกุารณ

อยางการที่จะผลิตรถยนตไรคนขับไดนั้น เราก็ตองดูเทรนด แตสิ่งนั้นคือปญหา

เพราะในแตละวันมนัมนัีบ 1,000 เทรนด ที่เกิดขึ้นในโลก ” “พวกคุณอาจไดรับผลกระทบจากเทรนดที่แตกตางกัน อยางตอนที่

ผมเปน CEO ผมรู สึกลําบากใจมากเน่ืองจากตองใชขอมูลในการวางแผน

แลวที่ผานมา ขอมูลที่ไดรับมักจะเปนขอมูลที่ลาชามาก จนกระทั่ง ป 2002

ผมไดรูจักกับนักอนาคตวิทยา (Futurist) ในขณะนั้น ผมก็ไมรูวานักอนาคตวิทยา

ทํางานอยางไร ซึ่งในความเปนจริงแลว นักอนาคตวิทยา คือคนที่จะชวยใหคุณ

เขาใจสิ่งที่กําลังจะมาในอนาคต

ใน ค.ศ.2002 จึงไดจัดตั้งเว็บไซต Shaping Tomorrow ขึ้น จนถึงปจจุบัน

เปนเวลากวา 14 ป โดยไดรวบรวมขอมูลตางๆ เกี่ยวกับอนาคต มาไวในที่เดียวกัน

ดวยระบบนี ้สมาชิกสามารถเขามาเพ่ิมเติมขอมูล รวมทัง้บอกขอมูลไดวาในอนาคต

ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคสาธารณสุข และภาคเกษตรกรรมจะเปนเชนไร

เมื่อ 2 ปที่แลว จากจํานวนเอกสารขอมูลเปนลานฉบับ จึงไดมีการปรับขั้นตอนการ

ทํางาน โดยผูเชี่ยวขาญดาน Algorithm เพื่อออกแบบระบบใหสามารถสแกนขอมูล

“หากคําถาม คือ ‘โลกจะเปนเชนไรในอีก 10 ป’คําตอบ คือ ‘ผมก็ไมรู และถามีใครบอกคุณวาเขารู

นั่นหมายความวา ‘พวกเขาโกหกคุณ’

Dr. Michael JacksonA Founder Member and

Chairman of Shaping Tomorrow

‘โลกจะเปนเชนไรในอีก 10 ป’และถามีใครบอกคุณวาเขารู

Page 3: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

โดยอัตโนมัติ จากเดิมที่ตองใชเวลาถึง 40 ชั่วโมง หรือ 1 วัน ทําใหเราสามารถ

คนหาขอมลูทีต่องการไดในระยะเวลาอนัส้ัน สําหรบัวธิกีารทีผ่มอานและเขาถงึขอมูล

มากมายเหลานั้นดวยการใส key word คนหา คําวา “Future Industry” ระบบ

ก็จะหาขอมูลมาให โดยสามารถอานขอมูลในรูปแบบตางๆ ทั้งบทความ รายงาน

หรือ เอกสาร Power Point ตางๆ ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอนาคต แมวา

บทความนัน้จะยาวกวา 60 หนา มคีาํกวา 20,000 คํา แตระบบกส็ามารถอานใหได

ภายใน 10 วินาท ีและระบบน้ียงัมขีอมูลทีช่วยทาํ Market Research ใหคณุอกีดวย”

แมวาอนาคตจะเปนสิ่งที่ทํานายไมได แตจากขอมูลที่ผานการวิเคราะห

อยางเปนระบบ ดร.ไมเคิล จึงไดนําเสนอความทาทายที่เปนประเด็นสําคัญ 16 ขอ

เพื่อใหคุณเตรียมรับมือกับสิ่งที่อาจเกิดขึ้นไดอยางทันทวงที ดังนี้

ความเปนอัจริยะIntelligent

สภาพภูมิอากาศClim

ate

ความเปนอัจริยะ

Intelligent

สภาพภูมิอากาศ

Climate

Big Data ชวยใหเราจัดการปญหาใหญๆ โดยนํามาผนวกกับเทคโนโลยี

ตวัอยางเชน การใชดาวเทยีมและระบบ Sensor ในมหาสมทุร เพือ่ทีจ่ะสามารถรูวา

ในมหาสมทุรมมีลพษิเพิม่ขึน้หรอืไม อกีทัง้สามารถรูถงึการเปลีย่นแปลงแบบชัว่โมง

ตอชั่วโมง

The Internet of Thing ที่ทุกสิ่งรอบตัวเราจะมี ระบบ Sensor ติดไวซึ่ง Sensor เหลานั้นก็จะเชื่อมตอกันไดดวย เชน เสื้อผา หรือแกวกาแฟที่สามารถ

กําหนดปริมาณนํ้าตาลหรือครีมไดดวยระบบ Sensor โดยในป 2020 Gardner

(บริษัทที่ปรึกษาและงานวิจัยดานเทคโนโลยีสารสนเทศช้ันนําของโลก) ไดทํานาย

ผลกระทบของ The Internet of Thing ไววา

• โลกจะมี 50 พันลาน Sensor อยูในทุกส่ิง และจะเชื่อมถึงกันหมด

ทําใหเราสามารถเรียนรูความเปนไปของสิ่งเหลานั้น

• ในอีก 5 ป 40% ของอาชีพท่ัวโลกจะหายไป เชน นักหนังสือพิมพ

โดยจะม ีSpecial Blog หรอืงานสบืคนและวเิคราะหเขามาแทนที ่อกีอาชพีทีจ่ะหาย

ไปคือ นักแปล เนื่องจากปจจุบันมีการใชประโยชนจาก Application ที่สามารถ

แปลภาษาตางประเทศไดมากกวา 20 ภาษา

1.

2.

ในเดือนธันวาคม ที่ปารีสมีการประชุมลงนามความรวมมือครั้งสําคัญเกี่ยว

กับเรื่อง Climate Change ทุกประเทศตางเขารวมเพ่ือตองการความมั่นใจวา

โลกจะไมรอนขึ้นไปอีก 1 หรือ 2 องศาโดยทุกคนจะมี Carbon Credit และตอง

เสียภาษี ดังนั้น การเปล่ียนแปลงของอากาศจึงเปนประเด็นสําคัญที่ประชาชน

และองคกรตางๆ ควรมีสวนรวมรับผิดชอบ

Page 4: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

ทัง้นี ้เมือ่ 25 ปทีแ่ลว Climate Change เปนเรือ่งทีธุ่รกจิตางๆ มองขามไป

แตมีกรณีศึกษาที่ดีชิ้นหน่ึงของ McKinsey บอกวา มี 75% ของผูเช่ียวชาญ

และ CEO กลาววา พวกเขากงัวลเรือ่ง Climate Change ซึง่นับเปนจํานวนมากข้ึน

เม่ือเทียบกับป 1999 โดยพวกเขาไมรูวาจะทําอะไรกับมัน แต McKinsey คิดวา

เปนการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ 15 ปขางหนา ซึ่งจะตองมี

6 ลานลานเหรียญสหรัฐในการลงทุนประจําป โดยองคกรขนาดใหญและ

ขนาดเล็กมากจะไดรับแรงกดดันที่มากข้ึนในการจัดการกับผลกระทบของ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกหรือตองเผชิญกับตนทุนที่เพิ่มขึ้นจากการ

ไมปรับใชนโยบายที่ยั่งยืน

ทรัพยากรนํ้าW

ater เมืองCities

ผูบริโภคConsum

er

ทรัพยากรนํ้า

Water

เมือง

Cities

ผูบริโภค

Consumer

3.

4.

5.

เนื่องจากจํานวนทรัพยากรน้ําของแตละประเทศมีมากนอยตางกัน

ซึง่บางสวนของโลกจะตองทนทุกขทรมานจากภยัแลงทีย่าวนาน ในขณะทีบ่างพืน้ที่

มีความเสี่ยงอยางรุนแรงจากการที่แหลงที่อยูอาศัยของพวกเขาจมอยูใตนํ้า และ

ในป 2030 โลกจะมีนํ้าใชไดอยางจําเปนเพียงรอยละ 60 เทานั้น

เมืองอัจฉริยะแหงอนาคต เปนเรื่องที่กลาวถึงอยางมากในขณะนี้ โดย

ในป 2030 จะมีประชากรมากกวารอยละ 60 ที่จะอาศัยอยูในเมือง โดยพาหนะ

ที่ใชเปนพวกจักรยานไฟฟา หรือรถยนตไรคนขับผานระบบ Sensor ตางๆ เชน

ในจีน ลอนดอน หรือ สิงคโปร ตางก็ปรับเปลี่ยนรูปแบบเมืองใหม โดยใชเครื่องมือ

ที่ทันสมัยข้ึน นอกจากน้ีสีสันบนเส้ือผาของผูหญิงอาจจะเปล่ียนสีได เพียงแค

กดปุมบนโทรศัพทมือถือ หรือการสองกระจกที่ติด Sensor ก็จะบอกสามารถบอก

ไดวา วันนี้รางกายคุณขาดวิตามิน C และไดเตรียมไวใหคุณแลวในหองครัว

ปจจุบันเราสามารถทําธุรกรรมตางๆ ดวยตัวเองผาน Smart Phone ซ่ึง

การบริการลูกคา (Customer Service) จะเปลี่ยนเปนการบริการดวยตัวเอง

(Self Service) มากขึ้น ดังนั้นอาชีพบริการลูกคา ก็จะเปนอีกหนึ่งอาชีพที่จะหาย

ไปในป 2020 ดวย

Page 5: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

การศึกษาEducation

พลังงานEnergy

อาหารFood

สุขภาพHealth

การศึกษา

Education

พลังงาน

Energy

อาหาร

Food

สุขภาพ

Health

6.

7.

8.

9.

ยกตัวอยาง MOOC หรือ Massive Open Online Course เปนการพัฒนา

หลักสูตรการเรียนการสอนออนไลนที่เนน “ระบบเปด” โดยอนุญาตใหทุกคน

เขาถึงเน้ือหาไดอยางเสรี และยังรองรับการเขาถึงไดพรอมๆ กันเปนจํานวนมาก

ผานเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งใน 3-4 ปที่ผานมา ผมสามารถเรียนไดดวยตนเอง

ผานเว็บไซต โดยไมจําเปนตองเดินทางไปมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย และ

ในป 2025 เอกสารการเรียนการสอนทั้งหมดจะอยูในเว็บไซต ดังนั้น รูปแบบ

การศกึษาจะเปลีย่นแปลงไปอยางมาก เราสามารถเลอืกอาจารยทีม่คีวามเชีย่วชาญ

เฉพาะเร่ืองนั้นๆ จากประเทศตางๆได ซึ่งประเทศไทยอาจจะแสวงหาความ

ไดเปรียบจากการเปลี่ยนแปลงนี้ ดวยการสนับสนุนการศึกษาแกประชาชนไทย

จากตนทุนที่ตํ่าลง

ในอกี 20 ปขางหนา เราจะสามารถผลิตพลังงานไดเองและมีพลังงานทดแทน

โดยจะมีแผงโซลาเซลลในทุกหลังคาบาน ซึ่งรถก็จะใชพลังงานจากโซลาเซลล

ที่สามารถชารจพลังงานจากที่บานได อีกทั้งพลังงานที่ผลิตมาเกินความจําเปน

ยงัสามารถขายหรือแบงปนพลงังานแกกนัได แลวคาํถามสาํคญั คอืตอไปเรายงัตอง

มีบริษัทพลังงานอีกหรือไม

ในป 2050 โลกจะตองผลิตอาหารเพ่ือเล้ียงดูประชากรกวา 2 พันลานคน

โดยเฉพาะในเอเชียและแอฟรกิา แตปญหาคอื การเส่ือมคณุภาพของทีด่นิเพาะปลกู

สงผลใหมีพื้นที่เพาะปลูกนอยลง ซึ่งวิธีใหมคือ Vertical Farming เปน เกษตรกรรม

บนที่ (ตึก) สูง เราอาจไดผลผลิต 5 ชนิด ใน 1 ป เปรียบเทียบกับอดีต

ที่เคยปลูกพืช 1 ชนิด ในที่เพาะปลูก 1 ที่ โดยผลผลิตที่ไดก็จะปราศจากเชื้อโรค

สามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นได ซึ่งไมจําเปนตองปลูกพืชตามฤดูกาล

ดังนั้น เราอาจจะตองสรรหาอาหารชนิดใหมๆ และบรรจุภัณฑใหมๆ นอกจากนี้

พืชพันธุก็จะมีความอัจริยะมากข้ึน โดยอาจจะสามารถบอกความตองการอาหาร

หรือนํ้าผานโทรศัพทมือถือของคุณได

ในอนาคตอาจไมจําเปนตองมีโรงพยาบาล เนื่องจากมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย

ทําใหคนไขสามารถตรวจรักษากับแพทยไดจากที่บาน ในป 2025 ประชากรผูสูง

อายุจะมีจํานวนมากขึ้น และการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วของโรค ทําใหตองเพิ่ม

บุคลากรผูเช่ียวชาญดานการดูแลสุขภาพ รวมทั้งตองมีตัวชวย อาทิ อุปกรณ

การวิเคราะหสุขภาพ อุปกรณสวมใส (Wearable Device) พันธุศาสตร หุนยนต

การรักษาที่บาน ยาและการดูแลแบบสวนบุคคล เปนตน

Page 6: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

อุตสาหกรรมการผลิตM

anufacturingความยากจน Poverty

ทรัพยากร Resources

ความปลอดภัยของขอมูลSecurity

อุตสาหกรรมการผลิต

Manufacturing

ความยากจน

Poverty

ทรัพยากร

Resources

ความปลอดภัย

ของขอมูล

Security

10.

11.

12.

13.

สําหรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมใหม สิ่งที่จะปรากฏขึ้นคือ 3D Printing

อตุสาหกรรม 4.0 และหุนยนต รวมท้ังวสัดทุีย่ัง่ยนืจะมาแทนทีเ่ทคโนโลยเีกาๆ และ

ดวยจํานวนของชนชั้นกลางทั่วโลกที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นถึง 4.9 พันลานคน ในป 2030

ดังนั้นความตองการสินคานาจะเพิ่มมากขึ้นดวย

ชองวางระหวางคนจนกับคนรวยจะมากขึ้นและแยลง ไมใชแคเรื่องเงิน

อยางเดียว แตเทคโนโลยีจะมีบทบาทมากขึ้น จากการที่เราใชแท็บเล็ต หรือ

คอมพิวเตอร ในการเรยีนรู ซึง่ในอนาคตก็จะทาํใหอปุกรณตางๆ มจีาํนวนชิน้ลดลง

โดยคนที่ไมมีอุปกรณพวกนี้ คือคนที่ยากจน ดังนั้น ความยากจน จะเปลี่ยนแปลง

จากความยากจนทางการเงิน เปนความยากจนทางดานเทคโนโลยี

ในป 2050 ทรัพยากรของโลกจะถูกใชหมดไปเรื่อยๆ โดยมีการกลาววา

เราอาจจะมีโลก 3 ใบ ที่เอาไวเก็บทรัพยากร เชน โลหะ มีตัวอยางองคกรหนึ่ง

ที่มีความพยายามจะเดินทางไปยังอวกาศ 9 แหง เพื่อที่จะนําโลหะกลับมายังโลก

ดังนั้นนักวิทยาศาตรจึงคิดวา เรานาจะหาวัตถุดิบอ่ืนที่ใชงานทดแทนได และ

นํามาผลิตดวย 3D Printing ทั้งนี้ ยังมีการคาดการณวาประชากรโลกที่เติบโตจาก

7 พันลานคนในปจจุบันเพิ่มขึ้นเปน 9 พันลานคนภายในป 2050 ซึ่งยอมสงผลให

เกิดการขาดแคลน ไมวาจะเปน อาหาร พลังงาน วัตถุดิบ และอื่นๆ

ในการกอตั้งธุรกิจของผมเมื่อ 14 ป ที่แลว ผมอาจโดนแฮกขอมูลได

ทุกๆ 30 นาที แตปจจุบันอาจโดนแฮกขอมูลไดทุก 10 วินาที และในอีก 10 ป

ขางหนา อาจจะเหลือเพียง 1 วินาที ดังนั้น ถาไมสามารถจัดการเรื่องความ

ปลอดภัยของขอมูลทางธุรกิจ CEO หรือ CIO อาจจะโดนไลออกได

Page 7: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

ภูมิรัฐศาสตรG

eopolitics วิทยาศาสตรScience

Scenariolenses

ภูมิรัฐศาสตร

Geopolitics

วิทยาศาสตร

Science

Scenario

lenses

14.

15.

16.

จากเหตุการณความตึงเครียดท่ีเพิ่มขึ้นรอบโลกจะนํามาซึ่งภัยคุกคาม

ทางการเมืองใหมๆ และความเปนไปไดของการเกิดสงครามระดับโลกในที่สุด

ดังนั้น ถาคุณทําธุรกิจระหวางประเทศ คุณจะตองรูวาประเทศไหนมั่นคง หรือ

ประเทศไหนไมมั่นคง และคุณจะตองประเมินลวงหนาไปอีก 15-20 ป

โลกสามารถคิดคนส่ิงตางๆไดอยางรวดเร็วมากขึ้นในทุกวัน รวมทั้ง

ยังสามารถผลิตส่ิงที่นาประหลาดใจไดดวยวิทยาศาสตร สําหรับประเทศไทย

จะเปนโอกาสทีด่ ี ถาจะลงทนุในการทาํวจิยัทางวทิยาศาสตร นอกจากนี ้ การคนพบ

ทางวิทยาศาสตรและวิธีการใหมๆในการทดลองวิทยาศาสตร จะมีมากขึ้น

และจะเปนสิง่ทีบ่อกถงึการเปล่ียนแปลงของสังคม โดยเฉพาะอยางยิง่ในดานสุขภาพ

เทคโนโลยีทางปญญา และปญญาประดิษฐ

การสรางภาพจาํลองเหตกุารณจรงิ (Scenario) ท่ีเกดิขึน้ภายใตเงือ่นไขตาง ๆ

เมื่อคุณไมรูวาจะเกิดอะไรขึ้น

Page 8: [Productivity World] "16 ความท้าทายสำคัญ จากการสร้างภาพเหตุการณ์จำลองอนาคต"

จากภาพ ตัวอยางแรกคือ Global Recession หรือโลกในภาวะถดถอย

หมายถึงโลกก็อาจจะมีความไมยั่งยืนสูงขึ้น หรือ CEO อาจจะมองวา โลกอาจ

เปลีย่นไปในทศิทางตรงกนัขามคือ มีความย่ังยืนมากข้ึน อาจเปนเพราะภมิูรัฐศาสตร

การอพยพของคน เรื่องของ โลกาภิวัฒน หรือ อาจจะกลับมาเปนการปรับตัวเขาถึง

ทองถิ่นมากข้ึน ดังนั้น สิ่งสําคัญของการทํา Scenario คือ ถารู วาอะไรคือ

ตําแหนงของคุณใน Scenario ก็จะสามารถออกแบบเสนทางเดินในอนาคตได

ทั้งน้ีใน Scenario จะมีท้ังดานบวกและลบ เพราะ Scenario ไมไดบอกเลา

เหตุการณใดจะเกิดขึ้น เพียงแตใหคุณเลือก และใหคุณคิดวาอันไหนที่มีโอกาส

เกิดใกลเคียงที่สุด และควรทํา Scenario Planning เพื่อเตรียมการรับมือกับ

เรื่องดังกลาวลวงหนา

จากที่ ดร.ไมเคิล กลาวมา สรุปไดวา ‘Scenario Planning’ เปนการ

สรางภาพเหตุการณจําลองอนาคต โดยรวบรวมเหตุการณตางๆ เพื่อหา

แรงขับเคลื่อนที่ทําใหเกิดเหตุการณเหลานั้น และพิจารณาดูวาแรงขับเคล่ือนนั้น

จะทําใหเกิดเหตุการณอะไรบาง ซึ่งจะทําใหเห็นวา ‘ภาพอนาคตขางหนา

จะเปนอยางไร’ และ‘จะมีผลกระทบกับองคกรหรือไม’ ทั้งนี้ เพื่อใหองคกร

เตรียมพรอมรับมือตอเหตุการณท่ีอาจเกิดข้ึนไดอยางทันการณ สงผลใหองคกร

อยูรอด และเติบโตไดอยางยั่งยืนตอไป ไมวาจะอีกกี่สิบปก็ตาม

ขอมูลอางอิง: การบรรยายพิเศษ โดย ดร.ไมเคิล แจ็คสัน หัวขอ “Thriving in the 21st Century World” เปนสวนหนึ่งในกิจกรรมครบรอบ 20 ป สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2558ณ โรงแรม เพนนินซูลา กรุงเทพฯ