เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้...

Preview:

Citation preview

เครื่องช่วยหายใจแบบ Invasive ventilator การใช้และการดูแลบ ารุงรักษา

บุญมาศ จันศิริมงคล หอผู้ป่วยอายุรกรรมทางเดินหายใจ

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

Invasive ventilator

Invasive ventilator

ท าไมต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ

• เป็นเครื่องมือที่ให้แรงดันบวกเข้าสู่ทางเดินหายใจ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนและแลกเปลี่ยนก๊าซได้อย่างเพียงพอ

• ลด work of breathing

ส่วนประกอบของเครื่องช่วยหายใจ

การใช้งานเครื่องช่วยหายใจ

• การต้ังค่า (setting) – Mode

– Alarm

– Apnea

• การติดตาม (Monitoring)

• การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

Mode พื้นฐาน

PC VC Dual control

Advance Mode

ความแตกต่างระหว่าง VC และ PC3

Volume control Pressure control Tidal volume คงที่ ไม่คงที่ ขึ้นกับ

lung mechanics

Peak inspiratory pressure

ไม่คงที่ ขึ้นกับ lung mechanics

คงที่

Inspiratory time ก าหนดโดยการตั้ง peak flow

สามารถก าหนด Ti หรือ I:E ได้โดยตรง

Inspiratory flow ค่าคงที่และสามารถก าหนดได้โดยตรง

ไม่คงที่ขึ้นกับ patient effort และ lung mechanics

Inspiratory waveform สามารถก าหนดได้ ได้แก่ square, decelerating

หรือ sinusoidal waveform

exponential decelerating waveform

Mode พื้นฐาน

• Controlled mechanical ventilation (CMV)

• Assist-control ventilation (A/C)

• Intermittent mandatory ventilation (IMV) /

Synchronize Intermittent mandatory ventilation (SIMV)

• Pressure support ventilation (PSV)

• Continuous positive airway pressure (CPAP)

Mode พื้นฐาน

• Controlled mechanical ventilation (CMV)

เครื่องช่วยหายใจทุกครั้งของการหายใจตามค่าที่ตั้งไว้ ผู้ป่วยไม่ได้

trigger เอง

Mode พื้นฐาน

• Assist-control ventilation (A/C)

เครื่องช่วยหายใจท างานเมื่อผู้ป่วยมีการ trigger เครื่องถึงระดับที่ตั้งไว้ หากไม่มีการ trigger หรือ trigger ไม่ถึงระดับที่ตั้งไว้ เครื่องก็จะท าการช่วยหายใจตามค่าที่ตั้งไว ้

Mode พื้นฐาน

• Intermittent mandatory ventilation (IMV) /

Synchronize Intermittent mandatory ventilation (SIMV)

เป็น partial support ซึ่งเครื่องจะช่วยตามจ านวนครั้งของเครื่องที่ตั้งไว้ ระหว่างนั้นผู้ป่วยสามารถหายใจด้วยตนเอง ซึ่งส่วนใหญ่จะมีการตั้งค่า pressure support ไว ้

Mode พื้นฐาน

• Pressure support ventilation (PSV)

เครื่องช่วยหายใจโดยการเพ่ิมแรงดันขึ้นไปจนถึงค่าที่ตั้งไว้ ทุกๆ ครั้งของการหายใจ ผู้ป่วยเป็นผู้ก าหนด RR Ti เอง ส่วน TV ที่ได้ขึ้นกับ lung mechanics

Mode พื้นฐาน

• Continuous positive airway pressure (CPAP)

เครื่องท าให้เกิดความดันบวกที่มีอัตราการไหลคงที่ ตลอดเวลา ผู้ป่วยเป็นผู้ออกแรงเอง ก าหนดควบคุมจังหวะ อัตราการหายใจด้วยตนเอง

Parameter

Graphic

Setting

Parameter

Graphic

Setting

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน VC

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน VC

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน VC

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน PC

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน PC

Alarm

Apnea

การติดตาม (Monitoring)

• การต้ังค่าต่างๆ ถูกต้อง ครบถ้วน (Mode/alarm/apnea setting)

• การหายใจของผู้ป่วยสัมพันธ์กับเครื่องหรือไม ่

• การจัดการกับ alarm ต่างๆ อย่างเหมาะสม

• ติดตามสัญญาณชีพ

• เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน

• การบันทึกเพื่อเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลง

• บันทึกอย่างน้อยเวรละครั้ง และเมื่อมีการเปลี่ยน setting

• การเตรียมผู้ป่วยก่อนการบันทึกค่า

• การติดตามประเมินเพื่อใช้วางแผน ติดตามผลการดูแล

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

• การใส่ท่อช่วยหายใจ – บาดเจ็บระหว่างการใส่ท่อช่วยหายใจ

– ต าแหน่งไม่เหมาะสม

– Cardiac output ลดลง

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

• การต้ังค่าเครื่องช่วยหายใจที่ไม่เหมาะสม – ผู้ป่วยหายใจไม่สัมพันธ์กับเครื่อง

– ภาวะความไม่สมดุลของกรด-ด่าง

– Barotrauma

– Volutrauma

– Atelectasis

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

• การดูแลระหว่างการใช้เครือ่งช่วยหายใจ

– Infection

– Cord edema

– Necrosis/Fistula

– ข้อต่อหลวม หลุด รั่ว

– ต่อ circuit ผิด

– การปรับเปลี่ยน setting ผิดพลาด

– เสมหะเหนียว

– ความเครียด/ความวิตกกังวล/ความเจ็บปวด

– Immobilization

– ปัญหาการสื่อสาร

การบ ารุงรักษา

ระหว่างการใช้งาน

หลังการใช้งาน

ก่อนการใช้งาน

การทดสอบเครื่องก่อนการใช้งาน การเก็บรักษาเพือ่รอใชง้าน

การบ ารุงรักษา

ระหว่างการใช้งาน

หลังการใช้งาน

ก่อนการใช้งาน

เช็ดท าความสะอาดหน้าจอด้วยผ้า (มีฝุ่นเยอะเจอปัญหาหน้าจอ show screen block ในเครื่อง B 840)

เทน ้าในกระเปาะ water tap และสาย colugate

เติมน ้าใน Humidifier ในระดับที่เหมาะสม

ไม่แขวนขวด sterile water ขณะเติมน ้า หากมีเสมหะติดค้างใน circuit ให้แจ้ง

เจ้าหน้าที่มาเปลี่ยนทันที หากมีความผิดปกติที่ไม่สามารถแก้ไขได้

ให้แจ้งเจ้าหน้าที่หน่วยเครื่องช่วยหายใจ เปลี่ยน circuit ทุก 1 เดือน

การบ ารุงรักษา

ระหว่างการใช้งาน

หลังการใช้งาน

ก่อนการใช้งาน

ปิดเครื่องช่วยหายใจและเครื่องส ารองไฟให้เรียบรอ้ย

ปลดสายต่าง ๆ ม้วนเก็บให้เป็นระเบียบ

หุ้มปลายข้อต่อเครื่องช่วยหายใจ

ปลด set IV และขวด sterile water ก่อนส่งคืน

ติดป้ายระบุในกรณีที่ใช้กับผู้ป่วยติดเชื้อ

เอกสารอ้างอิง

1. ธนิต วีรังคบุตร. New Modes of Mechanical Ventilation. ใน ธนันชัย บุญบูรพงศ์,ธนิต วีรังคบุตรและประสาทนีย ์ จันทร.บรรณาธิการ. การบ าบัดระบบหายใจในเวชปฏิบัต.ิบียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2551 .หน้า 260-272.

2. ธิดา ทรงเจริญ.อุปกรณ์ช่วยหายใจและเครื่องมือเครื่องใช้ในหอผู้ป่วยวิกฤต.ใน เพลินตา ศิริปการ,สุจิตรา ลิ้มอ านวยลาภ, กาญจน สิมะจารึกและชวนพิศ ท านอง.บรรณาธิการ. การปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ระยะวิกฤต.สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ สายวิชาพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2551.หน้า 115-152.

เอกสารอ้างอิง(ต่อ)

3. นัฐพล ฤทธิท์ยมัย.ภาวะแทรกซ้อนในระบบการหายใจของผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาล.ใน นิธิพัฒน ์เจียรกุล บรรณาธิการ.ต าราอายุรศาสตร์ทั่วไป.ห้างหุ้นส่วนจ ากัด ภาพพิมพ์;2556.หน้า 668-686.

4. วิจิตรา กุสุมภ์,ธัญญลักษณ์ วจนวิศิษฐ.การจัดการเกี่ยวกับทางเดินหายใจและเครื่องช่วยหายใจ.ใน วิจิตรา กุสุมภ์ บรรณาธิการ.การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม.ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพานิชย;์2556 หน้า 83-144.

เอกสารอ้างอิง(ต่อ)

5. สมคิด วิลเลี่ยมส.์การพยาบาวลผู้ป่วยภาวะวิกฤตในระบบทางเดินหายใจ.ใน เพลินตา ศริิปการ,สุจิตรา ลิ้มอ านวยลาภ, กาญจน สิมะจารึกและชวนพิศ ท านอง.บรรณาธิการ. การปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ระยะวิกฤต.สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ สายวิชาพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาล

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2551.หน้า 153-176.

6. Neil. R Macintyre,Richard.D Branson.Mechanical Ventilation;2009.

Recommended