43
เครื่องช่วยหายใจแบบ Invasive ventilator การใช้และการดูแลบ ารุงรักษา บุญมาศ จันศิริมงคล หอผู้ป่วยอายุรกรรมทางเดินหายใจ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

  • Upload
    lyhanh

  • View
    334

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

เครื่องช่วยหายใจแบบ Invasive ventilator การใช้และการดูแลบ ารุงรักษา

บุญมาศ จันศิริมงคล หอผู้ป่วยอายุรกรรมทางเดินหายใจ

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

Page 2: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Invasive ventilator

Page 3: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Invasive ventilator

Page 4: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

ท าไมต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ

• เป็นเครื่องมือที่ให้แรงดันบวกเข้าสู่ทางเดินหายใจ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนและแลกเปลี่ยนก๊าซได้อย่างเพียงพอ

• ลด work of breathing

Page 5: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

ส่วนประกอบของเครื่องช่วยหายใจ

Page 6: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การใช้งานเครื่องช่วยหายใจ

• การต้ังค่า (setting) – Mode

– Alarm

– Apnea

• การติดตาม (Monitoring)

• การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

Page 7: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Mode พื้นฐาน

PC VC Dual control

Advance Mode

Page 8: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

ความแตกต่างระหว่าง VC และ PC3

Volume control Pressure control Tidal volume คงที่ ไม่คงที่ ขึ้นกับ

lung mechanics

Peak inspiratory pressure

ไม่คงที่ ขึ้นกับ lung mechanics

คงที่

Inspiratory time ก าหนดโดยการตั้ง peak flow

สามารถก าหนด Ti หรือ I:E ได้โดยตรง

Inspiratory flow ค่าคงที่และสามารถก าหนดได้โดยตรง

ไม่คงที่ขึ้นกับ patient effort และ lung mechanics

Inspiratory waveform สามารถก าหนดได้ ได้แก่ square, decelerating

หรือ sinusoidal waveform

exponential decelerating waveform

Page 9: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Mode พื้นฐาน

• Controlled mechanical ventilation (CMV)

• Assist-control ventilation (A/C)

• Intermittent mandatory ventilation (IMV) /

Synchronize Intermittent mandatory ventilation (SIMV)

• Pressure support ventilation (PSV)

• Continuous positive airway pressure (CPAP)

Page 10: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Mode พื้นฐาน

• Controlled mechanical ventilation (CMV)

เครื่องช่วยหายใจทุกครั้งของการหายใจตามค่าที่ตั้งไว้ ผู้ป่วยไม่ได้

trigger เอง

Page 11: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Mode พื้นฐาน

• Assist-control ventilation (A/C)

เครื่องช่วยหายใจท างานเมื่อผู้ป่วยมีการ trigger เครื่องถึงระดับที่ตั้งไว้ หากไม่มีการ trigger หรือ trigger ไม่ถึงระดับที่ตั้งไว้ เครื่องก็จะท าการช่วยหายใจตามค่าที่ตั้งไว ้

Page 12: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Mode พื้นฐาน

• Intermittent mandatory ventilation (IMV) /

Synchronize Intermittent mandatory ventilation (SIMV)

เป็น partial support ซึ่งเครื่องจะช่วยตามจ านวนครั้งของเครื่องที่ตั้งไว้ ระหว่างนั้นผู้ป่วยสามารถหายใจด้วยตนเอง ซึ่งส่วนใหญ่จะมีการตั้งค่า pressure support ไว ้

Page 13: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Mode พื้นฐาน

• Pressure support ventilation (PSV)

เครื่องช่วยหายใจโดยการเพ่ิมแรงดันขึ้นไปจนถึงค่าที่ตั้งไว้ ทุกๆ ครั้งของการหายใจ ผู้ป่วยเป็นผู้ก าหนด RR Ti เอง ส่วน TV ที่ได้ขึ้นกับ lung mechanics

Page 14: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Mode พื้นฐาน

• Continuous positive airway pressure (CPAP)

เครื่องท าให้เกิดความดันบวกที่มีอัตราการไหลคงที่ ตลอดเวลา ผู้ป่วยเป็นผู้ออกแรงเอง ก าหนดควบคุมจังหวะ อัตราการหายใจด้วยตนเอง

Page 15: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Parameter

Graphic

Setting

Page 16: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Parameter

Graphic

Setting

Page 17: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน VC

Page 18: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน VC

Page 19: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน VC

Page 20: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน PC

Page 21: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การตั้งค่าการช่วยหายใจ ใน PC

Page 22: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Alarm

Page 23: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

Apnea

Page 24: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 25: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 26: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การติดตาม (Monitoring)

• การต้ังค่าต่างๆ ถูกต้อง ครบถ้วน (Mode/alarm/apnea setting)

• การหายใจของผู้ป่วยสัมพันธ์กับเครื่องหรือไม ่

• การจัดการกับ alarm ต่างๆ อย่างเหมาะสม

• ติดตามสัญญาณชีพ

• เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน

• การบันทึกเพื่อเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลง

Page 27: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

• บันทึกอย่างน้อยเวรละครั้ง และเมื่อมีการเปลี่ยน setting

• การเตรียมผู้ป่วยก่อนการบันทึกค่า

• การติดตามประเมินเพื่อใช้วางแผน ติดตามผลการดูแล

Page 28: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 29: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 30: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 31: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 32: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

Page 33: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

• การใส่ท่อช่วยหายใจ – บาดเจ็บระหว่างการใส่ท่อช่วยหายใจ

– ต าแหน่งไม่เหมาะสม

– Cardiac output ลดลง

Page 34: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

• การต้ังค่าเครื่องช่วยหายใจที่ไม่เหมาะสม – ผู้ป่วยหายใจไม่สัมพันธ์กับเครื่อง

– ภาวะความไม่สมดุลของกรด-ด่าง

– Barotrauma

– Volutrauma

– Atelectasis

Page 35: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ

• การดูแลระหว่างการใช้เครือ่งช่วยหายใจ

– Infection

– Cord edema

– Necrosis/Fistula

– ข้อต่อหลวม หลุด รั่ว

– ต่อ circuit ผิด

– การปรับเปลี่ยน setting ผิดพลาด

– เสมหะเหนียว

– ความเครียด/ความวิตกกังวล/ความเจ็บปวด

– Immobilization

– ปัญหาการสื่อสาร

Page 36: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การบ ารุงรักษา

ระหว่างการใช้งาน

หลังการใช้งาน

ก่อนการใช้งาน

การทดสอบเครื่องก่อนการใช้งาน การเก็บรักษาเพือ่รอใชง้าน

Page 37: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การบ ารุงรักษา

ระหว่างการใช้งาน

หลังการใช้งาน

ก่อนการใช้งาน

เช็ดท าความสะอาดหน้าจอด้วยผ้า (มีฝุ่นเยอะเจอปัญหาหน้าจอ show screen block ในเครื่อง B 840)

เทน ้าในกระเปาะ water tap และสาย colugate

เติมน ้าใน Humidifier ในระดับที่เหมาะสม

ไม่แขวนขวด sterile water ขณะเติมน ้า หากมีเสมหะติดค้างใน circuit ให้แจ้ง

เจ้าหน้าที่มาเปลี่ยนทันที หากมีความผิดปกติที่ไม่สามารถแก้ไขได้

ให้แจ้งเจ้าหน้าที่หน่วยเครื่องช่วยหายใจ เปลี่ยน circuit ทุก 1 เดือน

Page 38: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

การบ ารุงรักษา

ระหว่างการใช้งาน

หลังการใช้งาน

ก่อนการใช้งาน

ปิดเครื่องช่วยหายใจและเครื่องส ารองไฟให้เรียบรอ้ย

ปลดสายต่าง ๆ ม้วนเก็บให้เป็นระเบียบ

หุ้มปลายข้อต่อเครื่องช่วยหายใจ

ปลด set IV และขวด sterile water ก่อนส่งคืน

ติดป้ายระบุในกรณีที่ใช้กับผู้ป่วยติดเชื้อ

Page 39: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 40: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา
Page 41: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

เอกสารอ้างอิง

1. ธนิต วีรังคบุตร. New Modes of Mechanical Ventilation. ใน ธนันชัย บุญบูรพงศ์,ธนิต วีรังคบุตรและประสาทนีย ์ จันทร.บรรณาธิการ. การบ าบัดระบบหายใจในเวชปฏิบัต.ิบียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2551 .หน้า 260-272.

2. ธิดา ทรงเจริญ.อุปกรณ์ช่วยหายใจและเครื่องมือเครื่องใช้ในหอผู้ป่วยวิกฤต.ใน เพลินตา ศิริปการ,สุจิตรา ลิ้มอ านวยลาภ, กาญจน สิมะจารึกและชวนพิศ ท านอง.บรรณาธิการ. การปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ระยะวิกฤต.สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ สายวิชาพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2551.หน้า 115-152.

Page 42: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

เอกสารอ้างอิง(ต่อ)

3. นัฐพล ฤทธิท์ยมัย.ภาวะแทรกซ้อนในระบบการหายใจของผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาล.ใน นิธิพัฒน ์เจียรกุล บรรณาธิการ.ต าราอายุรศาสตร์ทั่วไป.ห้างหุ้นส่วนจ ากัด ภาพพิมพ์;2556.หน้า 668-686.

4. วิจิตรา กุสุมภ์,ธัญญลักษณ์ วจนวิศิษฐ.การจัดการเกี่ยวกับทางเดินหายใจและเครื่องช่วยหายใจ.ใน วิจิตรา กุสุมภ์ บรรณาธิการ.การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม.ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพานิชย;์2556 หน้า 83-144.

Page 43: เครื่องช่วยหายใจแบบ invasive ventilator การใช้ และการดูแลบำรุงรักษา

เอกสารอ้างอิง(ต่อ)

5. สมคิด วิลเลี่ยมส.์การพยาบาวลผู้ป่วยภาวะวิกฤตในระบบทางเดินหายใจ.ใน เพลินตา ศริิปการ,สุจิตรา ลิ้มอ านวยลาภ, กาญจน สิมะจารึกและชวนพิศ ท านอง.บรรณาธิการ. การปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ระยะวิกฤต.สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ สายวิชาพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาล

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2551.หน้า 153-176.

6. Neil. R Macintyre,Richard.D Branson.Mechanical Ventilation;2009.