นพ ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พบ., อว., MPHM. · 2017-03-21 ·...

Preview:

Citation preview

1

นพ . ศุภกจิ ศริิลักษณ์ พ .บ., อ .ว., MPHM.

ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2

Digital Disruption (ดจิติอลพลิกโลก)

linkedin.com

Robot Surgery

EQUITYSDH

SDGการสร้างความเป็นธรรม ลดความความเหลื่อมลํา้

UHC

The Marmot Six Domians :

1. Give every child the best start in life

2. Educateion and life‐long learning

3. Employment and working conditions

4. Minimum income for healthy living

5. Healthy and sustainable places to live and work

6. Social determinants approach to prevention

MDG

๑. รับทราบรายงานผลตามเป้าหมายการพฒันาแห่งสหสัวรรษ (MDGs) ของประเทศไทย พ .ศ.

๒๕๕๘ ตามที่สาํนักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตเิสนอ สรุปได้ ดงันี ้

๑.๑ MDG 1 ขจัดความยากจนและหวิโหย ประเทศไทยสามารถบรรลุผลในการลด

ความยากจนให้เหลือกึ่งหนึ่งตัง้แต่ปี ๒๕๔๗ แต่ยังไม่บรรลุผลในการลดสัดส่วนประชากรยากจนให้

ต ํ่ากว่าร้อยละ ๔ (MDG+) ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการลดสัดส่วนประชากรหวิโหยลงครึ่ งหนึ่ง

ตัง้แต่ปี ๒๕๔๓ และมีโอกาสประสบความสาํเร็จในการดาํเนินงานตามเป้าหมายให้กาํลังแรงงาน

ท ัง้หมดได้ทาํงานท ี่มีคุณค่า

๑.๒ MDG 2 ให้เดก็ทกุคนได้รับการศึกษา ประเทศไทยยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย

ให้เดก็ทกุคนได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษา และไม่สามารถบรรลุเป้าหมายในการให้เดก็ท ุกคน

ได้รับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นภายในปี ๒๕๔๙ และระดบัมัธยมศึกษาตอนปลาย

จนถงึปี ๒๕๕๗ และมีแนวโน้มตํ่าท ี่จะบรรลุได้ภายในปี ๒๕๕๘ (MDG+)

๑.๓ MDG 3 ส่งเสริมความเท่าเทยีมกันทางเพศและส่งเสริมบทบาทสตรี ประเทศไทย

บรรลุผลตามเป้าหมายขจัดความไม่เท่าเทยีมทางเพศในการศึกษาระดับประถมศึกษาและ

มัธยมศึกษาภายในปี ๒๕๔๘ และถือได้ว่าบรรลุตามเป้าหมายขจัดความไม่เท่าเทยีมทางเพศใน

การศึกษาทกุระดับ (ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา) ในขณะที่ประเทศไทยไม่สามารถ

บรรลุเป้าหมายในการเพ ิ่มสัดส่วนผู้หญิงในรัฐสภา องค์การบริหารส่วนตาํบล และตาํแหน่งผู้บริหาร

ระดบัสูงของราชการเป็นสองเท่าในช่วงปี ๒๕๔๕-๒๕๔๙ (MDG+)

Thailand Results (Report) of MDG :

Thailand Results (Report) of MDG :๑.๔ MDG 4 ลดอัตราการตายของเดก็ ประเทศไทยมีโอกาสบรรลุเป้าหมายการพฒันาแห่ง

สหสัวรรษในการลดอัตราการตายเดก็อายุต ํ่ากว่าห้าปีลงสองในสาม ภายในช่วงปี ๒๕๓๓-๒๕๕๘

และสามารถบรรลุเป้าหมายลดอัตราการตายของทารกให้เหลือ ๑๕ ต่อการเกดิมีช ีพพนัคนภายในปี

๒๕๔๙ (MDG+) แต่มีโอกาสตํ่าในการบรรลุเป้าหมายลดอัตราการตายของเดก็อายุต ํ่ากว่าห้าปีใน

เขตพืน้ท ี่สูงในบางจังหวัดในภาคเหนือและในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่ งหนึ่งในช่วงปี

๒๕๔๘-๒๕๕๘

๑.๕ MDG 5 การพฒันาสุขภาพสตรีมีครรภ์ ประเทศไทยไม่สามารถบรรลุเป้าหมายการลด

อัตราส่วนการตายของมารดาลงสามในสี่ในช่วงปี ๒๕๓๓-๒๕๕๘ หรือลดลงประมาณ ๓๑.๕ ต่อการ

เกดิมีช ีพแสนคน และไม่บรรลุเป้าหมายการลดอัตราส่วนการตายของมารดาให้เหลือ ๑๘ ต่อการ

เกดิมีช ีพแสนคน (MDG+) ในขณะที่ประเทศไทยมีโอกาสท ี่จะบรรลุเป้าหมายการเข้าถงึบริการ

อนามัยการเจริญพนัธุ์ ในบางด้าน

๑.๖ MDG 6 การต่อสู้ โรคเอดส์ มาเลเรีย และโรคสาํคัญอื่น ๆ ประเทศไทยมีโอกาสจะ

บรรลุเป้าหมายที่จะชะลอและลดการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ภายในปี ๒๕๕๘ และมีโอกาสสูงท ี่จะ

บรรลุเป้าหมายให้ผู้ตดิเช ือ้เอชไอวีและผู้ ป่วยโรคเอดส์ได้รับการดแูลรักษาอย่างท ั่วถงึภายในปี

๒๕๕๘

๑.๗ MDG 7 รักษาและจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการลด

สัดส่วนประชากรท ี่ไม่สามารถเข้าถงึแหล่งนํา้สะอาดและส้วมท ี่ถ ูกสุขลักษณะครึ่ งหนึ่งภายในปี ๒๕๕๘

และมีโอกาสท ี่จะบรรลุการยกระดบัคุณภาพชีวติประชากรในชุมชนแออัด ๑๐๐ ล้านคนทั่วโลกภายใน

ปี ๒๕๖๓ แต่ไม่สามารถลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพภายในปี ๒๕๕๓ ในขณะที่

ประเทศไทยไม่สามารถบรรลุตามเป้าหมายในด้านสัดส่วนแม่นํา้สายหลักท ี่มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์

ตัง้แต่ระดบัพอใช้ข ึน้ไป และการเพ ิ่มสัดส่วนการนําขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ (MDG+)

๑.๘ MDG 8 ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนเพ ื่อการพฒันาในประชาคมโลก ประเทศไทยสามารถบรรลุ

เป้าหมายการพฒันาระบบการค้าและการเงนิให้เป็นระบบเสรี ตัง้อยู่บนกฎระเบยีบ คาดการณ์ได้

และไม่แบ่งแยก และสามารถบรรลุเป้าหมายสัดส่วนความช่วยเหลือท ี่ให้แก่ประเทศที่มีการพฒันา

น้อยท ี่สุดต่อมูลค่าความช่วยเหลือเพ ื่อการพฒันาอย่างเป็นทางการ (Official Development Assistance

: ODA) ทัง้หมด อีกท ัง้ยังสามารถบรรลุเป้าหมายสัดส่วนความช่วยเหลือท ี่ให้แก่ประเทศที่ไม่มี

ทางออกทะเลและรัฐกาํลังพฒันาขนาดเล็กท ี่เป็นเกาะต่อมูลค่า ODA ทัง้หมด และสามารถบรรลุ

เป้าหมายการแก้ปัญหาหนีใ้นประเทศกาํลังพฒันาผ่านนโยบายระดับประเทศและระหว่างประเทศ

เพ ื่อให้เกดิการพฒันาท ี่ยั่ งยืนในระยะยาว แต่ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายการร่วมมือกับบรรษัทยา

ดาํเนินการให้ประเทศกาํลังพฒันาสามารถเข้าถงึยาท ี่จาํเป็นได้

Thailand Results (Report) of MDG :

Sustainable Development Goals

Indicator of health related SDGsUnder other targets 1, 2, 4, 5, 6,10,11,16. there are number of

health related indicators

Mainly includes: Stunting, over weight, social protection; early

childhood index; water and sanitation; violence against women; woman

marriage before 18; water quality; people affected by disasters;

homicide and conflict-related death; quality of public service; birth

registered under 5 yrs. etc.

Thailand in Transition

1) Aged Society 2) Epidemiology Change to Chronic NCD

18

Next 30 yrs. (2043)

1970 1990 2010 2030

Population Tsunami 

• Proportion of the elderly• 11.7% in 2010• 30% in 2040

• Dependency Ratio• 0.41 in 2010• 0.59 in 2040 

การคาดประมาณประชากรไทย

Thailand’s ChallengeAged society and long term care• Policy on long‐term care systems in Thailand is still not solid

• Thai UC scheme covers elderly and is solely funded by general tax ‐> concerning on the long term financing and other possible sources of fund

‐1st National Plan for Older Persons (1982‐2001); ‐2nd National Plan for Older Persons(2002‐2021); which was revised in 2010 Enactment of regulations to promoteelderly well‐being‐Declaration on Thailand’d Older Persons(1999)‐Act on Older Persons (2003)‐National Commission on the Elderly (2003) chaired by PM ‐NHA 2009 Resolution

National Plans and acts for OP

Long‐term Care System for Thai Elderly in the Near Future

23

Frail Elderly Persons

Family members of the Frail Elderly

Care Manager

Care Workers, volunteers

Community LTC Team

Family

Care

Support

Tambon/Tessaban (Local) Administrative Office

Community

Support Support

MDs, Nurses, OT/PT etc.

Care

Hospitals, PSUs, 

Facilities etc.

Support

(If necessary)

Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

25

คนไทยสูญเสียสุขภาวะจากโรคไม่ตดิต่อเรือ้รังเพ ิ่มข ึน้

ภาวะปัจจัยเสีย่งสําคญัทีท่ําใหส้ญูเสยีปีสขุภาวะ พ.ศ.2552

0.1%

0.2%

0.2%

0.4%

0.5%0.5%

1.6%

2.3%

3.1%

4.4%

4.9%5.2%%

6.2%

7.2%

10.6%

0 100 200 300 400 500 600 700 800 900 1000

Malnutrition-Thai

Malnutrition-Inter

Non-Seatbelt

Illicit Drugs

Air Pollution

WSH

Physical Inactivity

Low intake of fruit and vegetable

Cholesterol

Non-Helmet

Unsafe Sex

BMI

Blood pressure

Tobacco

Alcohol

DALY('000)

MaleFemale

Total DALY

Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

บุหรี่

เหล้า

8.9%

เบาหวานในคนไทยอายุ 15 ปีข ึน้ไป

24.7%

ความดนัโลหติสูงคนไทยอายุ 15 ปีข ึน้ไป

S1 Healthy Public Policy

S2 Social Mobilization & Public Communication

S3 Community Strengthening

S4 Surveillance & Care System

S5 Capacity Building

The five strategies

31

Country Strategy (previous government)

• Competitive Growth• Medical Hub

• Inclusive Growth• Service Plan

• Green Growth• Env. Health

• Internal Process Development

4 Strategies

20 Years National Strategy 4 + 2

ระบบริการ การสาธารณสุขมูลฐาน

รัฐ - อสม - ประชาชน

Healthy Thais

Development Goal and Strategy (for a half century)

(1.2 ล้าน)

แผนพฒันาการสาธารณสุขแห่งชาติ

40

แผนพฒันาสุขภาพแห่งชาต ิ ฉบบัท ี่ 12 (พ .ศ.2560 – 2564)

วสิัยทศัน์“ระบบสุขภาพไทยเข้มแขง็ เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทย

สุขภาพดี

สร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน”

พนัธกจิ: เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกดิการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน นักวชิาการและ

ภาคประชาสังคม ในการอภบิาลและพฒันาระบบสุขภาพ

ไทยให้เข้มแขง็ รองรับกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงใน

อนาคต

แผนพฒันาสุขภาพแห่งชาต ิ ฉบับท ี่ 12 (พ .ศ.2560 – 2564)

เป้าประสงค์ (Goal)1) ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคี

เครือข่าย มี ความรอบรู้ ด้านสุขภาพเพ ิ่ม

มากข ึน้ ส่งผลให้การเจบ็ป่วยและตายจาก

โรคท ี่ป้องกันได้ลดลง

2) คนไทยทกุกลุ่มวัยมีสุขภาวะท ี่ด ีลดการ

ตายก่อนวัยอ ันควร

3) เพ ิ่มข ีดความสามารถของระบบบริการ

สุขภาพทกุระดบั ให้ประชาชนสามารถ

เข้าถงึบริการได้อย่างสะดวก เหมาะสม

4) มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดแูลประชาชน ใน

สัดส่วนท ี่เหมาะสม

5) มีกลไกการอภบิาลระบบสุขภาพแห่งชาต ิ

ที่เหมาะสม มีประสิทธ ิภาพและประสิทธ ิผล

41

ตวัชีว้ัดภาพรวม

1. อัตราตายจากโรคท ี่สาํคัญ

2. ความพงึพอใจของผู้ร ับบริการสุขภาพ

3. ความพงึพอใจของผู้ให้บริการสุขภาพ

4. รายจ่ายด้านสุขภาพต่อผลิตภณัฑ์มวล

รวม

ของประเทศ

5. ความเป็นเอกภาพและธรรมาภบิาล

ของ

กลไกอภบิาลระบบ

ยุทธศาสตร์ท ี่ 4

ยุทธศาสตร์ท ี่ 3

ยุทธศาสตร์ท ี่ 2

ยุทธศาสตร์ท ี่ 1

ยุทธศาสตร์การพัฒนาเร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก(P3 : Health Promotion + Disease Prevention +Consumer & Environmental Protection Excellence)

พฒันาและสร้างความเข้มแข ็งในการอภบิาลระบบสุขภาพ (Governance Excellence )

สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมลํา้ในระบบบริการสุขภาพ (Service Excellence)

พฒันาและสร้างกลไกเพ ื่อเพ ิ่มประสิทธ ิภาพการบริหารจัดการกาํลังคนด้านสุขภาพ (People Excellence)

42

Start up Thailand 4.0

MoPH 4.0

MoPH 4.0

MoPH 4.0

MoPH 4.0

Regional Health 4.0

สมคดิ/วษิณุประจนิธนศักดิ์/ณรงค์ ประวติร

Thailand Reform & Reconciliation

1) สถานการณ์สุขภาพและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง

- การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเร็ว เดก็เกดิลด คุณภาพมีปัญหา

- การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโรค ภยัพบิตัแิละภยัสุขภาพ

- โรคจากสิ่งแวดล้อมและผลกระทบจากนโยบายสาธารณะ

- โลกาภวิัตน์ และความรวดเร็วของการพฒันาเทคโนโลยีด้านการแพทย์

2) ระบบบริการและระบบสนับสนุน

- ลงทนุกับการส่งเสริมป้องกันในสัดส่วนท ี่น้อย

- การจัดการกาํลังคนไม่ตอบสนองระบบบริการท ี่มีประสิทธ ิภาพ ขาดผู้น ําและนักวชิาการท ี่มี

ศักยภาพสูง

- การจัดการเงนิการคลังท ี่มีข้อข ัดแย้งสูง มีความเหลื่อมลํา้

- ระบบข้อมูลและงานวจิัยท ี่ใช้ประโยชน์ได้น้อยท ัง้เพ ื่อการบริหารงานของรัฐและประโยชน์

สาธารณะ

ทาํไมต้องปฏริูประบบสุขภาพ

3) โครงสร้างและกลไกการอภบิาลระบบ

- ขาดเอกภาพระหว่างหน่วยงานในระดับชาตแิละทกุระดับ

- ธรรมาภบิาลหย่อนยาน

- โครงสร้างท ี่ไม่สามารถทาํงานให้เกดิประสิทธ ิผล

- การรวมศูนย์อาํนาจ สั่ งการล่าช้า ไม่สอดคล้องกับบริบทพืน้ท ี่

4) นโยบายและกฎหมาย

- นโยบายขาดความต่อเนื่อง ไม่มียุทธศาสตร์ชาตริะยะยาว

- กม.เก่าไม่รองรับสถานการณ์ ไม่สามารถใช้เป็นเครื่องมือท ี่มีประสิทธ ิผล

5) ความเข้มแขง็ของชุมชนและการมีส่วนร่วมของประชาชน

- ความรอบรู้ ด้านสุขภาพไม่เพยีงพอ ในการป้องกันปัจจัยเสี่ยง

- ชุมชนจาํนวนมากยังพ ึ่งตนเองไม่ได้

ทาํไมต้องปฏริูประบบสุขภาพ

วาระปฏริูป

สภาปฏริูปแห่งชาติวาระปฏริูปท ี่ ๒๒ : การปฏริูประบบบริการสุขภาพ

วาระปฏริูปท ี่ ๒๓ : การปฏริูประบบสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและ

ภยัคุกคาม

วาระปฏริูปท ี่ ๒๔ : การปฏริูประบบบริหารจัดการและการเงนิการคลังด้านสุขภาพ

วาระปฏริูปพเิศษ ๑๓ : แนวทางการปฏริูประบบประกันสุขภาพ

55

เขตสุขภาพ

โครงสร้างระบบ

อปสข .

คกก.เขตสุขภาพเพ ื่อประชาชน

สปสช. กสธ .

คกก.เขตสุขภาพ

สนง.เขตสุขภาพ

กวป. +

คปสอ . + (DHS)

สสจ.

สสอ .รพศ./รพท ./รพช.รพ สต.

ระบบตรวจราชการและระบบสนับสนุน

NHA (NHPB)

สปสช.เขต

สปส./กรม บช กลาง

ร่าง รธน. มาตราท ี่เกี่ยวข้องโดยตรง

มาตรา ๔๗ บุคคลย่อมมีสิทธ ิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐ บุคคลผู้ยากไร้ ย่อมมีสิทธ ิ

ได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลย่อมมีสิทธ ิ

ได้รับการป้องกันและขจดัโรคตดิต่ออ ันตรายจากรัฐโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย

มาตรา ๕๕ รัฐต้องดําเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุข ที่มีประสิทธ ิภาพ

อย่างท ั่ วถึง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้ พ ืน้ฐานเกี่ยวกับการ ส่งเสริมสุขภาพ และการ

ป้องกันโรค และส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพ ัฒนาภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย ให้ เกิด

ประโยชน์สูงสุด บริการสาธารณสุขตามวรรคหนึ่ ง ต้องครอบคลุมการ ส่งเสริมสุขภาพ การ

ควบคุม และป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการ ฟื้นฟ ูสุขภาพด้วย รัฐต้องพ ัฒนาการ

บริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและมีมาตรฐานสูงข ึน้อย่างต่อเนื่อง

มาตรา ๗๑ รัฐพ ึงเสริมสร้างความเข้มแข ็งของครอบครัวอ ันเป็นองค์ประกอบ พืน้ฐานที่

ส ําคัญของสังคม จัดให้ประชาชนมีท ี่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม ส่งเสริมและพัฒนาการ สร้าง

เสริมสุขภาพเพ ื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข ็งแรงและมีจิตใจเข้มแข ็ง รวมตลอดทัง้ส่งเสริม

และพฒันาการกีฬาให้ไปสู่ความเป็นเลิศและเกดิประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน

ร่าง รธน. มาตราท ี่เกี่ยวข้องโดยตรง

หมวด ๑๖ การปฏริูปประเทศ

มาตรา ๒๕๗ .........

มาตรา ๒๕๘ ให้ดาํเนินการปฏริูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกดิผล

ดงัต่อไปนี

ก. ด้านการเมือง ..........

ข .- ฉ .........

ช. ด้านอื่น ๆ

(๑) .........

(๔) ปรับระบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนได้รับสิทธ ิและประโยชน์จาก

การบริหารจัดการ และการเข้าถงึบริการท ี่มีคุณภาพและสะดวกทดัเทยีมกัน

(๕) ให้มีระบบการแพทย์ปฐมภมูทิ ี่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดแูลประชาชน

ในสัดส่วนที่เหมาะสม

เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ

ที่รวมพลังสังคม

เพ ื่อประชาชนสุขภาพดี

พฒันาและอภบิาลระบบสุขภาพ

อย่างมีส่วนร่วม

และยั่งยืน

O riginalityP eople centered approachM astery

H umilityMoPH

ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าท ี่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

เป้าหมาย

แผน 20 ปี กสธ .

ทศิทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase)

กรอบแนวคดิ

นโยบาย

รัฐบาล

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ

และสังคมแห่งชาติ

ฉบับท ี่ 12

(พ .ศ.2560 – 2564)

ยุทธศาสตร์ชาตริะยะ 20 ปี

และการปฏิรูปประเทศไทย

ด้านสาธารณสุข

การบรูณาการ (Integrated)

องค์รวมและผสมผสาน

(Holistic & Comprehensive)

การมีส่วนร่วมของพหุภาคี

(Multisectoral)

ประสิทธ ิภาพและประสิทธ ิผล

เป้าหมายการพัฒนาที่

ยั่ งยืน (SDGs)

ปฏริูประบบ

Phase 1 (2560-2564)

สู่ความยั่งยืน

Phase3 (2570-2574)

สร้างความเข้มแข ็ง

Phase 2 (2565-2569)เป็น 1 ใน 3

ของเอเชีย

Phase 4 (2575-2579)

ประเทศไทย

4.0

แผน 20 ปี กสธ .

1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ

2. ระบบหลักประกันสุขภาพ

3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภณัฑ์และ

การคุ้มครองผู้บริโภค

4. ระบบธรรมาภบิาล

1. พฒันาคุณภาพชีวติคนไทยทุกกลุ่มวัย

2. การป้องกันควบคุมโรคและภยัสุขภาพ

3. ความปลอดภยัด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยง

ต่อโรคไม่ตดิต่อเรือ้รัง

4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

The 4 Excellence Strategies

(16 แผนงาน 48 โครงการ)

P3

Excellence

Service Excellence

People Excellence

GovernanceExcellence

1. การพฒันาระบบการแพทย์ปฐมภมูิ

2. การพฒันาระบบบริการสุขภาพ

3. ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์

4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาต /ิเขต

เศรษฐกจิพเิศษ

1. การวางแผนความต้องการอ ัตรากาํลัง

2. การผลิตและพฒันากาํลังคน

3. การพฒันาประสิทธ ิภาพระบบบริหาร

จัดการกาํลังคนด้านสุขภาพ

4. การพฒันาเครือข่ายภาคประชาชนและ

ภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ

แผน 20 ปี กสธ .

Primary Care Cluster (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว/Family Doctor) จงึเป็น

แนวทางในการบริหารจัดการ โดยการปฏริูประบบบริการปฐมภมู ิมีแพทย์เวช

ศาสตร์ครอบครัว ดแูลประชาชน 1:10,000 คน (Cluster 3:30,000) โดยมีเป้าหมาย

ครอบคลุมประชาชนทัง้ประเทศภายใน 10 ปี

สังคม

ผู้สูงอายุ

เจบ็ป่วยด้วยโรคเรือ้รังเป็นจาํนวนมาก

เทคโนโลยีมีราคาสูงข ึน้

ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ

สูงข ึน้

งบประมาณภาครัฐด้านสาธารณสุข

ไม่เพยีงพอ

จาํเป็นต้องปฏริูประบบโดยมีแพทย์ดแูล

แบบองค์รวม

เพ ื่อเพ ิ่มประสิทธ ิภาพและคุณภาพใน

การให้บริการ

หมายเหตุ: ในประเทศที่พ ัฒนาแล้ว โดยเฉพาะในยุโรป มีระบบนีท้าํให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพไม่สูงจนเป็นภาระของรัฐบาล

ระบบการแพทย์ปฐมภมูิ

62

NCD

PCC.

บริการ

ทุกคน

ให้บริการท ุกกลุ่มวัย ทกุสิทธ ิ

บริการ

ทุกท ี่ให้บริการท ัง้เช ิงรับในหน่วยบริการ

และการให้บริการเช ิงรุกในชุมชน

บริการ

ทุกอย่าง(PP OP LTC

REHAB Palliative

Continuity)

Comprehensive Care

ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟ ู

ต่อเนื่อง ระบบส่งต่อ ไป - กลับบริการ

ทุกเวลา

ด้วย

เทคโนโลยี

เวลาราชการ เวลาราษฎร

ใช้เทคโนโลยี เช่น Line group

บริการทุกคน ทุกท ี่

ทุกอย่าง ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี

4. ระบบการแพทยป์ฐมภมูิ

เท่าเทยีม (give them equally) vs เป็นธรรม (make them equal)

สวสัดี

Recommended