อาหารเพื่อสุขภาพ Healthy...

Preview:

Citation preview

อาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Food)

ดร.พรศรี เหลารุจิสวัสดิ์

pornsril@yahoo.com29 มกราคม 2556

คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

โลกปจจุบัน

ผูบริโภคมีความตองการที่หลากหลาย

เลือกบริโภค ที่เปนประโยชน ตอสุขภาพของตนเอง

เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดชัดเจนมากขึ้น

ฝายผูประกอบการและ ฝายการตลาด

จึงเรียกโดยรวมสนิคากลุมดังกลาว วา

“อาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Food)”

2

จากความมั่นคงทางอาหาร สู อาหารสุขภาพ

2.Safe

3.Nutritious food

1.Sufficient

(FAO Agricultural and Development Economics Division, 2006) 3

ยกตัวอยาง กรณีน้ําทวมใหญในปที่ผานมา กอใหเกดิความไมมั่นคงทางอาหาร

ประชาชนบางสวนไมสามารถเขาถึงอาหารที่มอียูได

อาหารบางอยางหมดไปจากระบบจัดจําหนาย

4

ความมั่นคงทางอาหาร ในยุคใหม ควรรวมตัวแปรที่4 คือ Supply Chain Management ดวย

2.Safe

3.Nutritious food

1.Sufficient1.Sufficient 2.Safe

3.Nutritious food

4.Supply chain

management

สุขภาพที่ดีของผูบริโภค จะขาดปจจัยใดปจจัยหนึ่งไมได

5

“อาหารเพื่อ สุขภาพ”

ความหมายกวาง ดีตอสุขภาพ, ไมมีสารเคมี, น้ําตาล/ไขมันนอย

ความหมายเจาะจง สุขภาพดี+มีอายุยืน

ความสมดุลของอาหารที่รับประทานเขาไป

ความไมเปนโรค

มีสุขจิตที่ดี

6

อาหารเปนยา

อาหารที่เหมาะกบัวัย

Mintel, NFI, 2012 

7

รัฐบาลใหการสนับสนุน “อาหารเพื่อสุขภาพ”

ผลการประชุม คสช. (คณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ)เหน็ชอบหลักการในการ

กําหนดประเด็นสุขภาพทีส่ําคัญ และเหน็ควรเรงรัดประเด็นระบบสขุภาพชุมชน

โดยใหชุมชนทองถิ่นเปนตัวตั้ง ในการจัดทําระบบสุขภาพชุมชน

มีหนวยงานสนับสนุนตาง ๆ เปนพี่เลี้ยง ผลักดันใหเกดินโยบายระดับชุมชนตอไป

โดยเฉพาะอยางยิ่งการใหการสนับสนุน

ประเด็นสุขภาพสําคัญ 4 ประเด็นหลัก คือ

ระบบสุขภาพชุมชน

อาหารกับสุขภาพ

สุขภาวะผูสูงอายุ

สุขภาวะเด็ก เยาวชนและครอบครัว

8

9

มูลคาตลาดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ

Source: Euromonitor International, 2012

อัตราเจริญเติบโต

เฉลี่ย 6-7% ตอป

10

มูลคาตลาดอาหารเพื่อสุขภาพ ในแตละประเทศ 2010-2015

Source: Euromonitor International, 2011

อาหารสุขภาพเติบโตไดดีในอเมริกา

ยุโรป และเอเชียแปซิฟก

11

มูลคาตลาดอาหารเพื่อสุขภาพ ประเทศไทย

เพิ่มขึ้นมากกวา 5% ทุกป

12

Healthy Food

Safety Nutrition Period of lifeFunctional Others

- Eco-friendly

- Nano Food

- Halal

- Natural

- Raw Food

- มงัสวิรตัิ

โครงสราง ของอาหารเพื่อสุขภาพ

13

อาหารเพื่อสุขภาพ จากอาหารที่ปลอดภัย 2.Safe

3.Nutritious food

1.Sufficient

ความปลอดภัยของการผลิตสินคาปศุสัตว

ที่เปนองครวมทั้งระบบ

ตัวสัตว

เกษตรกรผูเลี้ยง

ผูบริโภค

สิ่งแวดลอม

เพื่อสรางความมั่นใจตอผูบริโภค

14

จํานวนฟารมมาตรฐาน (มีนาคม 2555)

ฟารมไกเนือ้ 6,735 ฟารม, ฟารมไกไข 1,948 ฟารม

ฟารมสุกร 3,594 ฟารม, ฟารมเปดเนื้อ 499 ฟารม

ไดรับการรับรองระบบGMP 174 โรง, HACCP 120 โรง

(เมษายน 2555)

อาหารสัตว

โรงงานอาหารสัตว

ฟารม

การชําแหละ

โรงงานแปรรูปอาหาร

แหลงจัดจาํหนาย

ผูบริโภค

ตลาดสด 84%

รานคาและ Modern Trade 8%

รานอาหาร 5%

โรงงานแปรรูป 3%

ขาวโพด (ผลิตในประเทศ 4.49 ลานตัน, นาํเขา 0.124 ลานตัน)

ถัว่เหลือง (ผลิตในประเทศ 0.972 ลานตัน, นาํเขา 2.1 ลานตัน)

โรงชําแหละไกมาตรฐานสงออก 61 โรง

โรงชําแหละเปดมาตรฐานสงออก 3 โรง

โรงชําแหละหมูมาตรฐานสงออก 8 โรง

Food Safety

From Farm To Tableใหมีความปลอดภยั

เหมาะสมกับการบรโิภค

และสามารถแขงขันใน

ทองตลาดได

15

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Bio-security)

เปนมาตรการหนึ่งของระบบมาตรฐานฟารมเลี้ยงสัตว ที่ผูเลี้ยงสัตว หรอืเกษตรกร

ตองถือปฎิบัติ เพื่อเปนการปองกันมิใหโรคแพรระบาดตดิตอถึงสัตวที่เลี้ยงไว

16

ระบบสนับสนุนอื่นๆตองปลอดภัย:

เพื่อใหเห็นความเชื่อมโยง ตั้งแตการผลิต สูผูบริโภค จะมีระบบ

สนับสนุนอื่น อีก 3 ระบบ ที่เกี่ยวของกับ SCM ไดแก

•ระบบTraceability

•ระบบการขนสง

•ระบบการจัดจําหนาย

17

ตรวจสอบยอนกลับได (Traceability) 

*EUเขมงวดเรื่องการตรวจสอบยอนกลับของผลิตภัณฑอาหาร

18

ฉลาก บอกแหลงกําเนิดของผลิตภัณฑ

บารโคด การตรวจสอบยอนกลับ

ประเทศที่สัตวเกิด

ประเทศที่สัตวเติบโต

ประเทศที่สัตวถูกชําแหละ

ตัวอยาง 1) ฉลากเนือ้สําหรับทําเสตก็ (ประเทศเบลเยียม)

ที่มา: Health and Consumer Protection Directorate-General, European Commission, 2007

19

แหลงเพาะปลูก

หมวดหมู

น้ําหนัก

บารโคด การตรวจสอบยอนกลับ

ตัวอยาง 2) ฉลากสมแพ็คถุง (ประเทศเบลเยียม)

ที่มา: Health and Consumer Protection Directorate-General, European Commission, 2007

ฉลาก บอกแหลงกําเนิดของผลิตภัณฑ

20

ฉลาก บอกสภาพของสินคา

ฉลากแสดงความสดของสินคา

21

สินคาตองไดมาตรฐาน

ตั้งแตตนน้าํถึงปลายน้ํา

22

•ตัวอยาง พฤติกรรมผูบริโภคในประเทศญี่ปุน

Feeling for Safety สําคัญกวา Safety

ใหความรูที่ถูกตอง เพียงพอ และนาเชื่อถือไววางใจ

รวบรวมขอมูล

ขอมูลที่เพียงพอ

ความไววางใจ

Feeling for Safety (Anshin)

ที่มา : Food safety in Japan, Kazuo Fukumoto

23

•ตัวอยาง พฤติกรรมผูบริโภคในประเทศญี่ปุน

24

อาหารเพื่อสุขภาพ

จากอาหารที่มีสารอาหาร และ โภชนาการที่ดี

ใหพลังงานสมดุลกบัที่รางกายใช

หลีกเลี่ยงไขมันอิ่มตัว Saturated fat,Transfatty acid

อาหารที่ลดน้ําตาล, ลดอาหารเค็ม

รับประทานอาหารที่มีความหลากหลาย,

ผัก ผลไม ธัญพขืเพิ่มมากขึน้

25

ตัวอยาง

Nutrition Label Stars แสดงระดับสารอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย

3ดาว มีประโยชน

มากกวา

26

สารอาหารโภชนาการในสินคาเนื้อสตัว

การปรับทัศนคติทางลบของผูบริโภค

ที่มตีอสารอาหารในเนื้อสัตว

ธุรกิจจะแกปญหานี้อยางไร ?

27

66% ของผูตอบแบบสาํรวจ

พิจารณาสวนประกอบและสารอาหาร ที่ระบุไวในฉลาก ไดแก

ปริมาณแคลอรี่ ธัญพืช ใยอาหาร น้ําตาล ไขมัน โซเดียมหรือเกลือ

ผลงานสํารวจ “2012 FOOD & HEALTH SURVEY”

The International Food Information Council Foundation

28

1) แสดงฉลาก - เนนคุณคาของโปรตีนที่มีอยูในเนื้อสัตว

29

2) แสดงวิตามินและแรธาตุ ที่พบในเนื้อสัตว

และมีประโยชนตอรางกาย

สารอาหาร ประโยชน

โปรตีน - ชวยสรางกระดูก กลามเนือ้ ผิวหนัง เม็ดเลือด + ใหพลังงานแกรางกาย ธาตุเหล็ก -ชวยนําออกซิเจนเขาสูเม็ดเลือด + ชวยในระบบภูมิคุมกนั + เสริมสราง

พัฒนาการของสมอง

สังกะสี - ชวยใหรางกายนําโปรตีน คารโบไฮเดรต และไขมนัออกมาใช

- ชวยผลิต เสริมสราง และซอมแซมเซลลรางกาย

วิตามิน B12 - เสริมสรางเม็ดเลือดแดง

วิตามิน B6 - ชวยเสริมสรางเซลลรางกาย

ไนอะซนิ + Riboflavin - ชวยในการเผาผลาญพลังงาน

Thiamin - ชวยเผาผลาญคารโบไฮเดรตมาเปนพลังงานแกรางกาย

ฟอสฟอรัส - ชวยในกระบวนการเผาผลาญอาหาร + เสริมสรางและซอมแซมเซลลรางกาย

30

ตัวอยาง สารอาหารในไขไก 1 ฟอง (63 กรัม)

* ไขขาวไมมีคอเรสเตอรอล

(Egg Farmers of Ontario, 2007 และ NutritionData.com,2012)

31

รูปแบบวธิีการปรุงอาหาร

ไขตม

- ใหพลังงาน 70 แคลอรี่

- มีไขมัน 8%

- มีโซเดียม(เกลือ) 55 มิลลิกรัม

ไขดาว

- ใหพลังงาน 90 แคลอรี่

- มีไขมัน 11%

- มีโซเดียม(เกลือ) 94 มิลลิกรัม

32

3) กราฟแถบสี - ที่บงบอกถงึปริมาณสารอาหารที่มีอยู

NutritionData.com, 2012

33

ตัวอยาง การใชสารสกัดที่มาจากธรรมชาติ ผสมในอาหารสัตว

เพื่อใหไดไขที่ดูนารับประทานมากยิ่งขึ้น

เปนเทคนิคอีกตวัหนึ่ง ที่กระตุนใหผูบริโภค รูสึกอยากทาน

และ ลืมทัศนคตทิี่ไมดีบาง

34

การรับประทานเนื้อสัตว

เพื่อประโยชนตอสุขภาพ และควบคมุน้ําหนัก

เลือกเนื้อที่ไมมีชั้นไขมัน หรือถูกเฉือนไขมันออกแลว

เลือกบรรจุภัณฑที่ระบุวา “Choice” หรือ “Selected” = เนื้อที่มีไขมันนอย

หมักเนื้อดวยเครื่องปรุงไขมันต่ํา

เลี่ยงการทอด ใหใช อบ ยาง ตม แทน

การใชกระดาษซับน้ํามัน

รับประทานเฉพาะสวนที่เปนเนื้อแดง

35

วิเคราะห

ผูประกอบการไทยใชจุดแข็งFood Safety และ Nutrition

ตางประเทศ รูจักสื่อสารกับผูบริโภค ฉลาก+ประชาสัมพันธ

มีการตอบคําถามเรื่อง อาหารสุขภาพแบบ Real Time 

ใหขอมูลทางโภชนาการอยางละเอียด

36

อาหารเพื่อสุขภาพที่จะเปนที่ตองการของผูบริโภคในอนาคต

-- Functional Food

อาหารที่มีสารอาหารซึ่งเปนประโยชนตอสุขภาพ

ชวยในการเผาผลาญพลังงาน

ชวยในระบบขับถาย

ลดปริมาณคลอเลสเตอรอลในเสนเลือด

เพิ่มระบบภูมิคุมกัน

ปองกันการเกิดโรคมะเร็ง โรคอวน โรคเบาหวาน

37

-- Functional Food

อาหารที่เพิ่มสวนผสมตางๆ เขาไปในสินคา เชน

คอลลาเจน เสนใยอาหาร วิตามิน สารตานอนุมูลอิสระ

พรีไบโอติก โอเมกา แคลเซียม ฯลฯ

อาหารที่ใชสารทดแทน เชน สารใหความหวาน

ทดแทนน้ําตาล สารทดแทนไขมัน(Fat Free)

38

39

‐‐ อาหารทีเ่หมาะสมกับวยั

1) ทารกและเด็กเล็ก - สารอาหารที่เหมาะสมตอพัฒนาการ

และกิจกรรมที่เด็กทําในแตละวัน

2) กลุมผูสูงอายุ‐ จํานวนผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น และเปนกลุมที่มีกําลังซื้อสูง

- ตองการอาหารที่สะดวกตอการบริโภค กลืนไดงาย

‐อาหารที่สามารถปองกันโรคเพื่อทดแทนยา

‐ชวยในระบบขับถายและยอยอาหาร ‐อาหารที่ผลิตจากสมุนไพร ‐อาหารเสรมิสําหรับผูสูงอายุ ชวยเสริมสรางกระดูก เปนตน

40

แสดงสัดสวนประชากรโลกตามชวงอายุ ระหวางป 1950-2050

ที่มา : United Nations

41

3) กลุมผูรักษาความสวยงามและ รักสุขภาพ

นิยม อาหารประเภทลดไขมัน (Reduced‐fat)

ธญัพืชเตม็เมล็ด(Whole‐grain)

ใยอาหารสูง (High‐fiber)

ปราศจากน้ําตาล (Sugar‐free)

ผลิตภัณฑควบคมุสัดสวนการรับประทาน (Portion‐controlled)

อาหารอินทรียที่ประกอบดวยผักและผลไมสด

(นภาวรรณ ทรงประเสรฐิคุณ, 2555)

42

อาหารเพือ่สุขภาพ

ที่ผลิต เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

ความคิดเห็นของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ป 2011

22%

76%83%

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

เต็มใจจายเงินเพิ่มขึ้น

เพื่อสินคาที่เปนมติร

กับสิ่งแวดลอม

ใหความสําคัญตอ

วัตถุดิบและ

แหลงทีม่า

ธุรกิจควรดําเนนิธุรกิจ

ที่เปนมิตรตอ

สิ่งแวดลอม

ที่มา: The Nelsen Company

43

ตัวอยาง 1) ผลิตภัณฑไกของซีพี เปนผลิตภัณฑไกรายแรก

ของโลกที่ไดรับฉลาก Carbon Footprint

ไกยางเทอริยากิ

302 kg.co2e / 1 kg.

ไกสดCP

2.9 kg.co2e / 1 kg.

44

ตัวอยาง 2) อาหารที่มีฉลาก Carbon footprint บริการบนเครื่องบินของบริษัท การบินไทย จํากัด

เปนสายการบินแรกของโลกที่ไดรับฉลากคารบอนฟุตพริ้นท

ที่มา : http://www.prthaiairways.com/thaiair_4p/front/news_detail.php?dng=865&lg=t

45

อาหารเพือ่สุขภาพอื่นๆ

1) อาหารนาโน (Nano Food)คือ อาหารที่นําความรูดานนาโนเทคโนโลยีมาใช ตั้งแตการ

เพาะปลูก การผลิต การแปรรูป และบรรจุภัณฑ

ชวยใหอาหารมีรสชาดอรอยขึ้น

มีคุณคาทางโภชนาการสูง

เก็บรักษาไดนานขึ้น

46

กราฟแสดงมูลคาตลาด อาหารนาโน ของโลก

สหรัฐฯ ญี่ปุน และออสเตรเลีย เปนประเทศที่ประสบความสําเร็จ

ในการใชบรรจุภัณฑนาโนอยางเต็มรูปแบบและกวางขวาง

แตประเทศในยุโรป ยังไมเปนที่นิยม เนื่องจากขอกําหนดในการใช

บรรจุภัณฑนาโนและการสรางความเขาใจแกผูบริโภคชาวยุโรป

47

2) อาหารฮาลาล

ผูบริโภคตองการอาหารที่ใหความรูสึกบริสุทธิ์

และมีความปลอดภัยสูง

มูลคาตลาดอาหาฮาลาลของโลก = 632 พันลาน$ (Euromonitor, 2011)

48

3) ผลิตภัณฑจากธรรมชาติ (Natural products)

ผูบริโภคใหความสนใจตออาหารทีม่าจากธรรมชาติ

ปรงุแตงรสชาดนอยหรอืไมปรงุเลย เชน น้ําผักผลไมจากธรรมชาติ 100% , สารสกัด

จากธรรมชาติ 100% , อาหารเชาจากธัญพืช ฯลฯ

49

4) Raw Food

คือ อาหารที่ทําจาก ผลไมสด ผักสด ตนออนของเมล็ดพืช

ไมผานขบวนการปรงุแตงทางเคมี

ไมใชความรอนเกิน 46 C’ เพื่อคงคุณคาเอ็นไซม วิตามิน และเกลือแร ของอาหารเอาไว

ชวยดีท็อกซ (ลางสารพิษ) ผิวพรรณสดใส ลดน้ําหนัก

เพิ่มภูมิตานทาน

ชวยในระบบการทํางานของสมอง สายตา การยอยอาหาร

เปนอาหารอารมณดีอีกดวย

(Beauty Cocktail, หนังสือพิมพแนวหนา, 2554)

50

5) อาหารมังสวิรัติ หรือ อาหารเจ

คือ อาหารที่ประกอบไปดวยผักและผลไม มีใย

อาหารสูง มีคอลเลสเตอรอลและไขมันต่ํา ไมมี

สวนผสมของเนื้อสัตว แตจะใชพืชที่ใหโปรตีนสูง

(เชน ถั่ว)หรือโปรตีนเกษตร ทดแทน

มูลคาตลาดอาหารมังสวิรัติโลกเพิ่มขึ้นจากในป

2551 ที่ 1.4 พันลาน$ มาเปน 1.7 พันลาน$ ซึ่ง

เติบโตมากกวา 21%

(Mintel, 2010 อางถึงใน สถาบันอาหาร, 2554)

51

โอกาสสินคาของไทย

1) ศักยภาพธุรกิจอาหารสุขภาพของไทย

The 10 Healthiest Ethnic Cuisines

Source : Annie Corapi, Health.com , August 25, 2010

1. Greek 2. California fresh

3. Vietnamese

4.Japanese 5. Indian

6. Italian 7. Spanish

8. Mexican

9. South American 10. Thai

สถาบันอาหาร

52

2) การตลาดธุรกจิอาหารในตางประเทศ

กลุมประเทศอาเซียน

สินคากลุมที่ขยายตัวสูงคือ เนื้อสัตวและผลิตภัณฑ

เครื่องปรุงรส เครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล และผลิตภัณฑจาก

แปง (นุชจรินทร เกตนุิล, 2552)

AEC เกิดการขยายตัวทางการคา, การลงทุน, สิ่งอํานวย

ความสะดวก

สิงคโปร อินโดนีเซีย และฟลลิปปนส จะเปนประเทศที่

เปนประเทศที่มีการพึ่งพิงการนําเขาทางดานอาหาร (เชน

ขาว , น้ําตาล)

53

เกาหลีใต

ชาวเกาหลีใตมีกําลังซื้อ คํานึงถึงคุณภาพมากอนราคา ผลิตภัณฑยอดนิยม ไดแก เม็ดแคปซูลเพื่อควบคุมน้ําหนัก

และเพื่อความสวยงาม

การเจาะตลาดเกาหลีใต

ผูสงออกไทยควรหาคูคาทองถิ่น

ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของใหเขาใจถองแท

ตองสรางความเชื่อมั่นในเรื่องคุณภาพเปนสําคัญ

54

ญี่ปุน

ตลาดอาหารที่มีมูลคาสูงที่สุดในโลก

มีสัดสวนประชากรสูงอายุ20% ของประชากรทั้งประเทศ และคาดวา

จะเพิ่มเปน 30% ในป 2568 กลุมอาหารเพื่อสุขภาพของผูสูงอายุ

สินคาเพื่อสุขภาพเปนที่ตองการของผูบริโภค เครื่องดื่มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบยอยอาหาร ควบคุมน้ําหนัก ลด

ความเสี่ยงจากโรคหัวใจ และโรคเบาหวาน

***ผูประกอบการจะตองเขมงวดในดานคุณภาพของสินคา โดยเฉพาะสารอาหารทางโภชนาการและการรับรองความปลอดภัยของอาหาร ซึ่ง

จะตองสื่อสารใหผูบริโภคทราบวาอาหารมีความปลอดภัยดวย***

55

จีน

ตลาดจะเติบโตแบบกาวกระโดดมากที่สุดในโลก

ทั้งผูบรโิภคและผูผลิตตื่นตัวกันมาก เพราะประชากรมีรายไดเพิ่มขึน้ พรอมที่จะจายเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ

ชองทางในการจําหนายสะดวก ขยายสาขาไดรวดเร็ว

ผลิตภัณฑนิยม คือ อาหารพรอมปรุง(Ready to Cook) อาหารพรอมรับประทาน(Ready to Eat‐Ready 

Meal) มุงเนนเอกลักษณของอาหารไทย

มุงเนนความปลอดภัยของอาหารใหมากขึ้น

56

สหราชอาณาจักร

มีมูลคาตลาดสูงที่สุดในสหภาพยุโรป

ผูบริโภคพรอมที่จะเรียนรูขอมูลของผลิตภัณฑตางๆ

คํานึงถึงสรรพคุณในการปองกันโรค ควบคุมน้ําหนัก

เพิ่มประสิทธิภาพระบบยอยอาหาร ลดความเสี่ยงจาก

โรคหัวใจ

แตการทําตลาดตองมุงเนนความปลอดภัยของอาหาร

เพราะชาวอังกฤษออนไหวตอประเด็นนี้มาก (สถาบนั

อาหาร, 2554)

57

สหรัฐอเมริกา

•มูลคาตลาดสูงสุดเปนอันดับ 2 ของโลก รองจากญี่ปุน •ชาวสหรัฐประสบปญหาสุขภาพ โดยเฉพาะโรคอวน

ระบบยอยอาหารมีปญหา ตองการอาหารเพื่อควบคุมน้ําหนัก เพิ่มประสทิธิภาพระบบยอยอาหาร ลดความเสี่ยง

จากโรคเครียด โรคหัวใจ

•พรอมทดลองผลิตภัณฑใหมๆ และเปลี่ยนแปลงไดงาย

ตามกระแสความนาเชื่อถอืทางวิทยาศาสตร

•**ผูประกอบการตองเขมงวดดานกฎระเบยีบและมาตรฐานความปลอดภัยของสินคาอาหาร***

58

3) ปจจัยสูความสําเร็จ

ความชัดเจนของธุรกิจ

Not one size fits all แตจะตองวิจัยและพฒันาสินคา ที่ตรงตามความตองการ

ของตลาดที่มีความแตกตางกนัใหมากที่สุด

และการสรางกลยุทธเชิงรุก เพื่อเพิ่มมูลคาใหแกธุรกิจ

59

ระบบการจัดการเพื่อเพิ่มมูลคาแกธรุกิจ

Driving the total value chain, not just the

supply chain. เชน การขนสงใหรวดเร็วขึน้ การลดขอผิดพลาด

การเพิ่มประสิทธิภาพตลอดกระบวนการในหวงโซ

อุปทาน

เปนการลดตนทุน การใชเวลาอยางมีประสิทธิภาพ และสรางภาพลักษณที่ดีแกลูกคา สราง

มูลคาเพิ่ม ทั้ง Value Chain

60

การวจิัยและพัฒนาตลาด

การลงทุนเพื่อการวิจัยลักษณะ ความตองการ และการ

วิเคราะหแนวโนมความตองการของผูบรโิภค การกําหนดกลุม

ผูบริโภคที่ชัดเจน

จะชวยใหธุรกิจสามารถกําหนดแผนกลยุทธการจัดหา

วัตถุดิบ การผลิต การกระจายการจัดจําหนายสินคาอาหารสู

ผูบริโภคกลุมนั้นๆ

การมุงวิจัยประเทศที่มีการพึ่งพงิอาหารสูง เพื่อโอกาสใน

การพัฒนาและผลิตสินคาที่ตอบโจทยกลุมผูบรโิภคเหลานี้

61

เทคโนโลยี

ไมเพียงแคการปรับปรงุกระบวนการผลิตใหมี

ความทันสมัย มีมาตรฐานตามที่กําหนด

แตตองทําใหไดสูงกวามาตรฐาน

เพื่อสรางความไดเปรียบแกธุรกิจ รวมทั้ง

ความตองการของลูกคาที่ชัดเจน

62

นวัตกรรม

เปนการสรางอุปสงคขึ้นมา (Demand Drive)

ทําใหเกิดตลาดใหม

ผูบริโภคจะใหความสนใจในตัวสินคาที่แปลกใหม

ธุรกิจยังสามารถแขงขนักับคูแขงในตลาดไดรวมไปถึงนวัตกรรมทางการจัดการตลอดหวงโซอุปทาน

ที่จะชวยเสริมสรางความสามารถทางการแขงขัน และภาพลักษณ

ที่ดีของธุรกจิในสายตาลูกคา รวมทั้งการสรางมูลคาเพิ่มให กับ

องคกร

63

ตัวอยาง รางวัลสุดยอดนวัตกรรมอาหาร

“11 Top Innovations of Anuga’s Taste”

- Sweet Fruit Sushi

นวัตกรรมอาหารของผูประกอบการไทย

ที่ออกแบบซชูิไสผลไม ราดซอสหวาน

- Udon Noodles

ไดรับรางวัลบรรจุภัณฑยอดเยี่ยม

64

ความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน

ธุรกิจอาหารของไทยเปนธุรกิจที่มีศักยภาพอยูแลว

(ทั้งการผลิตการเกษตร การประมง และการบริการ )

หากภาครัฐสนับสนุนความสามารถทางการแขงขันและ

ประสทิธิภาพของธุรกิจอยางครอบคลุม

จะชวยใหผูประกอบการไทยเจริญเติบโตขึ้น

ทั้งในและตางประเทศ เชน สงออกอาหารไทย หรือ รานอาหาร

ไทยที่มีคุณภาพ สะอาดปลอดภัย ทั้งในไทย และ ทั่วโลก

65

Thank youขอบคุณคะ

ดร. พรศรี เหลารุจิสวัสดิ์ pornsril@yahoo.com

Tel 090‐974‐6855, 081826‐1800 

Recommended