คู่มือการเขียนเอกสาร...

Preview:

Citation preview

คู่มอืการเขียนเอกสารประกอบการสอน

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

ค ำน ำ คณะกรรมการจัดท าแนวปฏิบัติที่ดีด้านกลุ่มพัฒนาผลงานวิชาการ พิจารณาเห็นว่า คู่มือการเขียนผลงานทางวิชาการสมควรที่จะปรับปรุงให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นด้วยเหตุผลสองประการ คือ ประการแรกข้อมูลทางด้านวิชาการและข้อมูลเกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ และแนวปฏิบัติในการท าผลงานทางวิชาการได้มีการเปลี่ยนแปลง เพ่ิมเติม แต่มีผู้ท าผลงานบางท่านไม่ทราบการเปลี่ยนแปลงประการที่สอง จากการที่ผู้แทนในคณะกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการเดินทางไปชี้แจง แนะน าการจัดท าผลงานทางวิชาการให้แก่อาจารย์ และจากการประชุมของคณะกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการพบว่า ความไม่สมบูรณ์ถูกต้องของผลงาน ทางวิชาการของผู้เสนอผลงานส่วนหนึ่งเกิดจากคู่มือการเขียนผลงานทางวิชาการขาดความชัดเจน และรายละเอียดไม่เพียงพอส านักมาตรฐานการศึกษา จึงได้จัดท าคู่มือการเขียนผลงานทางวิชาการเสนอคณะกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ

เพ่ือเป็นการพัฒนา ทักษะความรู้ทางด้านการพัฒนาผลงานเพื่อการขอต าแหน่งทางวิชาการ และน าทักษะความรู้จากประสบการณ์ตรงมาแลกเปลี่ยน เพ่ือค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี จากการที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันจึงได้มีการสรุปองค์ความรู้ดังกล่าว มาจัดท า เป็นคู่มือแนวปฏิบัติที่ดีทางด้านการเขียนเอกสารประกอบการสอนเพ่ือการขอต าแหน่งทางวิชาการมาเรียบเรียงอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือ เป็นการเผยแพร่แก่บุคลากรทุกคนให้ได้รับความรู้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานและการวิจัยในอนาคต ต่อไป ขอขอบคุณคณะกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการและผู้มีส่วนร่วมในการจัดท าคู่มือการเขียนผลงานทางวิชาการ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือฉบับนี้จะอ านวยประโยชน์แก่ผู้ท าผลงานทางวิชาการได้พอสมควร

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

พ.ศ. 2556

สำรบัญ หน้ำ

ค ำน ำ ก สำรบัญ ข บทที่ 1 คุณสมบัติผู้ขอต าแหน่งทางวิชาการ……………………………………………………………………..1 บทที่ 2 รูปแบบการเขียนผลงานวิชาการ…………………………………………………………………………4 บทที่ 3 ฟอร์มตัวอย่างเอกสารประกอบการสอน………………………….………………………………….20 บรรณานุกรม………………………………………………………………………….…………………………………..40 ภาคผนวก…………………………………………………………………………….…………………………………….41

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

1

บทที่ 1 คุณสมบัติผู้เสนอขอก ำหนดต ำแหน่งทำงวิชำกำร ผศ. รศ. และ ศ.

ส ำหรับ กำรขอ ผศ. (1) กำรศึกษำ (1.1) กรณีส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ด ารงต าแหน่งอาจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าเก้ำปี (1.2) กรณีส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่า ด ารงต าแหน่งอาจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าห้ำปี

(1.3) กรณีส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก หรือเทียบเท่า ด ารงต าแหน่งอาจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี (2) ผลกำรสอน ต้องมีชั่วโมงสอนประจ าวิชาใดวิชาหนึ่งที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย(ปริญญาตรีขึ้นไป) และมีควำมช ำนำญในกำรสอน และเสนอเอกสำรประกอบกำรสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระงานสอน ส ำหรับ กำรขอ รศ. (1) กำรด ำรงต ำแหน่ง

ด ารงต าแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสำมปี (2) ผลกำรสอน ต้องมีชั่วโมงสอนประจ าวิชาใดวิชาหนึ่งที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย(ปริญญาตรีขึ้นไป) และมีควำมช ำนำญพิเศษในกำรสอน และเสนอเอกสำรประค ำสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระงานสอน ส ำหรับ กำรขอ ศ. (1) กำรด ำรงต ำแหน่ง

ด ารงต าแหน่งรองศาสตราจารย์ และได้ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี (2) ผลกำรสอน ต้องมีชั่วโมงสอนประจ าวิชาใดวิชาหนึ่งที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย(ปริญญาตรีขึ้นไป) และมีควำมเชี่ยวชำญ ในกำรสอน 2. เอกสำรส ำหรับกำรขอรับกำรประเมินผลกำรสอนกำรขอ ผศ. รศ. และศ.

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

2

2.1 เอกสารที่แสดงการมีชั่วโมงสอนประจ าในหลักสูตร ได้แก่ตารางสอน / Course Outline / แผนการสอน /และรายละเอียดประกอบอื่นๆ (เอกสารนี้อาจท าแยกเล่มเป็น หลายเล่ม หรือเย็บรวมเป็นชุดเดียวกัน)

2.2 เอกสารประกอบการสอน (ส าหรับ การของ ผศ.) หรอืเอกสารค าสอน (ส าหรับการขอ รศ.) หรือต ารา (ส าหรับการของ ศ.)

3. เอกสำรผลงำนทำงวิชำกำรส ำหรับ กำรขอ ผศ. รศ. และศ. ส ำหรับ กำรขอ ผศ. (1) 1.1 ผลงานวิจัย (เกณฑ์ระดับดี และได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. ก าหนด) หรือ

1.2 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืน (เกณฑ์ระดับดี) และ

(2) ผลงานแต่ง หรือเรียบเรียง ต ารา หนังสือ หรือ เขียนบทความทางวิชาการ (เกณฑ์ระดับดีและได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ท่ี ก.พ.อ. ก าหนด) หมำยเหตุ ต้องมีผลงำนทำงวิชำกำร 2 ชิ้น คือ ตำม(1) เลือกเอำระหว่ำง 1.1 หรือ 1.2 และตำม(2) เลือกเอำ 1 รำยกำรเป็นอย่ำงน้อย ส ำหรับ กำรขอ รศ. (1) 1.1 ผลงานวิจัย (เกณฑ์ระดับดี และได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. ก าหนด) หรือ

1.2 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืนๆและ (2) ผลงานแต่ง หรือเรียบเรียง ต ารา หรือหนังสือ (เกณฑ์ระดับดีและได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ท่ี ก.พ.อ. ก าหนด)

หมายเหตุ ต้องมีผลงานทางวิชาการ 2 ชิ้น คือ ตาม(1) เลือกเอาระหว่าง 1.1 หรือ 1.2 และตาม(2) เลือกเอา 1 รายการเป็นอย่างน้อย

ส ำหรับ กำรขอ ศ. วิธีที่ 1 (1) 1.1 ผลงานวิจัย (เกณฑ์ระดับดีมากและได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ท่ี ก.พ.อ. ก าหนด)หรือ

1.2 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืนๆ (เกณฑ์ระดับดีมาก) และ

(2) ผลงานแต่งต ารา หรือหนังสือ (เกณฑ์ระดับดีมากและได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ท่ี ก.พ.อ. ก าหนด) วิธีที่ 2

(1) ผลงานวิจัย (เกณฑ์ระดับดีเด่นและได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ท่ี ก.พ.อ. ก าหนด) หรือ (2) ผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืนๆ (เกณฑ์ระดับดีเด่น)หรือ (3) ผลงานแต่งต ารา หรือหนังสือ (เกณฑ์ระดับดีเด่นและได้เผยแพร่ตามเกณฑ์ท่ี ก.พ.อ. ก าหนด)

หมำยเหตุ เอกสารนี้อาจท าแยกเล่มเป็น หลายเล่ม หรือเย็บรวมเป็นชุดเดียวกันกับแบบ ก.พ.อ.03

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

3

บทที่ 2 รูปแบบกำรเขียนผลงำนทำงวิชำกำร

ผลงานทางวิชาการที่เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการสอน ได้แก่ เอกสารประกอบการสอน และเอกสารค าสอน และผลงานทางวิชาการที่แสดงความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เสนอขอ ได้แก่ ต ารา หนังสือ งานวิจัย บทความทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการลักษณะอ่ืน และงานแปล ผลงานทางวิชาการที่ดี นอกจากต้องมีเนื้อหาสาระทางวิชาการที่ถูกต้องสมบูรณ์ ทันสมัย และเป็นประโยชน์ในวงวิชาการของสาขาวิชานั้น ๆ แล้ว ยังต้องมีรูปแบบโครงสร้างของการเขียนที่เป็นสากลตั้งแต่ปกนอก ปกใน ค าน า สารบัญ เนื้อหาสาระ และการอ้างอิง เป็นต้น โครงสร้ำงของเอกสำร ผลงานทางวิชาการแต่ละประเภทจะมีรูปแบบการเขียนที่บางส่วนเหมือนกันและบางส่วนแตกต่างกัน อย่างไรก็ตามโครงสร้างของเอกสารควรให้สอดคล้องกับค านิยามและรูปแบบที่ก าหนดไว้ในประกาศ ก.พ.อ. เอกสำรประกอบกำรสอน

การเขียนเอกสารประกอบการสอน ต้องสะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาตรงตามหลักสูตรและวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ โครงสร้างของการเขียนเอกสารประกอบการสอน ประกอบด้วย ปกนอกและสันปก ปกใน ค าน า สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง แผนบริหารการสอนประจ าวิชา แผนบริหารการสอนประจ าบท เนื้อหาแต่ละบท บทสรุป ค าถามหรือกิจกรรมท้ายบท เอกสารอ้างอิงของแต่ละบท บรรณานุกรม ภาคผนวก(ถ้ามี) เอกสำรค ำสอน

การเขียนเอกสารค าสอน ต้องสะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาตรงตามหลักสูตรและวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ โครงสร้างของการเขียนเอกสารค าสอน ประกอบด้วย ปกนอกและสันปก ปกใน ค าน า สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง แผนบริหารการสอนประจ าวิชา แผนบริหารการสอนประจ าบท เนื้อหาแต่ละบท (มีการศึกษาค้นคว้าอย่างลึกซึ้งและมีความสมบูรณ์มากกว่าเอกสารประกอบการสอน โดยนักศึกษาสามารถน าไปศึกษาด้วยตนเองได้) บทสรุป ค าถามหรือกิจกรรมท้ายบท เอกสารอ้างอิงของแต่ละบท บรรณานุกรม ภาคผนวก(ถ้ามี) และดรรชนี ต ำรำ

การเขียนต าราต้องสะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาตรงตามหลักสูตร โครงสร้างของการเขียนต ารา ประกอบด้วย ปกนอกและสันปก ปกใน ค าน า สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง เนื้อหาแต่ละบท(มี

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

4

การศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง สอดแทรกงานวิจัยและความทันสมัยของเนื้อหา) บทสรุป ค าถามหรือกิจกรรมท้ายบท บรรณานุกรม ภาคผนวก(ถ้ามี) และดรรชนี หนังสือ

การเขียนหนังสือไม่จ าเป็นต้องสอดคล้องหรือเป็นไปตามข้อก าหนดของหลักสูตรหรือของวิชาใดวิชาหนึ่งในหลักสูตร แต่ต้องมีรากฐานทางวิชาการที่ม่ันคง ผู้เขียนแสดงทัศนะท่ีสร้างเสริมปัญญา มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงในเชิงเนื้อหา มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ที่แสดงความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เสนอขอ โครงสร้างของการเขียนหนังสือ ประกอบด้วย ปกนอกและสันปก ปกใน ค าน า สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง เนื้อหาแต่ละบท บทสรุป บรรณานุกรม ภาคผนวก(ถ้ามี) และดรรชนี งำนวิจัย

การเขียนรายงานการวิจัยต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์และชัดเจนตลอดทั้งกระบวนการวิจัย(Research Process) โครงสร้างของรายงานวิจัย ประกอบด้วย การก าหนดประเด็นปัญหา วัตถุประสงค์ การท าวรรณกรรมปริทัศน์ สมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การพิสูจน์สมมติฐาน การวิเคราะห์ข้อมูล การประมวล สรุปผลและให้ข้อเสนอแนะ การอ้างอิง และอ่ืนๆ สาระของงานวิจัยต้องแสดงความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เสนอขอและสร้างความมั่นใจเพ่ือน าไปใช้อ้างอิงได้ บทควำมทำงวิชำกำร

การเขียนบทความทางวิชาการไม่จ าเป็นต้องมีความยาวมากนัก โครงสร้างของบทความประกอบด้วยการความน าที่แสดงเหตุผลหรือที่มาของประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์ กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะห์และบทสรุป มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมที่ครบถ้วนและสมบูรณ์

การเสนอขอต าแหน่งทางวิชาการโดยใช้บทความนั้นจะเสนอบทความหลายเรื่องที่ร้อยเรียงให้เห็นความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เสนอขอ ผลงำนทำงวิชำกำรในลักษณะอ่ืน

การจัดท าผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืนจะต้องเขียนรายงานการจัดท าที่ประกอบด้วยบทวิเคราะห์ที่อธิบายและชี้ให้เห็นว่างานดังกล่าวท าให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการหรือเสริมสร้างองค์ความรู้ หรือให้วิธีการที่จะเป็นประโยชน์ต่อสาขาวิชานั้น และแสดงถึงความ สามารถในการบุกเบิกในสาขาวิชานั้น ส าหรับผลงานที่มุ่งเชิงปฏิบัติจะต้องผ่านการพิสูจน์หรือมีหลักฐานรายละเอียดต่าง ๆประกอบแสดงให้เห็นคุณค่าของผลงาน

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

5

งำนแปล การเขียนงานแปลต้องสื่อความหมายถูกต้องตรงตามความหมายเดิมของต้นฉบับ มีเนื้อหาสาระ

ครบถ้วนตามต้นฉบับ ใช้ส านวนสละสลวยและกะทัดรัด รักษาอรรถรสและลีลาการเขียนของต้นฉบับเดิมไว้ครบถ้วน และมีประโยชน์ด้านความก้าวหน้าทางวิชาการ

รูปแบบกำรจัดท ำผลงำนทำงวิชำกำร การจัดท าผลงานทางวิชาการจะมีรูปแบบการจัดหน้าและการใช้ตัวอักษรแตกต่างกันในแต่ละสถาบัน ในที่นี้จะเสนอรูปแบบที่เคยใช้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏหลายแห่ง แต่สิ่งที่ส าคัญที่สุดคือความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหาและความทันสมัยเชิงวิชาการ

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

6

ตัวอย่ำงปกนอก

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา.........................

รุ่งเรือง ขยันสอน

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 25……

ตัวอย่ำงสันปก

ตัวอย่ำงปกใน

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา.........................

รุ่งเรือง ขยันสอน

กศ.บ., M.A.(Math.Ed.)

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ISBN ....................................

25….. กำรจัดหน้ำกระดำษกำรพิมพ์

ตัวอย่ำงหน้ำคี่

๑.๕ นิ้ว

ชื่อวชิา ชื่อผูแ้ต่ง

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

7

๑.๕ นิว้ ๑ นิ้ว

๑ นิ้ว

ตัวอย่ำงหน้ำคู่

๑.๕ นิ้ว

๑ นิ้ว ๑.๕ นิ้ว

๑ นิ้ว กำรเขียนค ำน ำ การเขียนค าน าในเอกสารผลงานทางวิชาการจะประกอบด้วย ๓ ส่วน ได้แก่ ความน า เนื้อหาของเรื่อง และความส่งท้าย

- ความน า เป็นส่วนที่ผู้เสนอขอแสดงความส าคัญของเรื่องที่เขียน ส าหรับเอกสารประกอบการสอน เอกสารค าสอน และต ารา จะระบุชื่อวิชา และรหัสวิชาไว้ในความน าด้วย

- เนื้อหาของเรื่อง เป็นส่วนที่ผู้เสนอขอแสดงให้เห็นภาพรวมของเนื้อเรื่อง ส าหรับเอกสารประกอบการสอน เอกสารค าสอน และ ต ารา จะระบุชื่อบทต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับค าอธิบายรายวิชา หากหัวข้อในค าอธิบายรายวิชาไม่ปรากฏเป็นชื่อบท ผู้เสนอควรชี้แจงว่าได้น าไปกล่าวไว้

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

8

ในบทใด และสามารถเพ่ิมเนื้อหาที่มีความทันสมัยและเป็นประโยชน์ในวงวิชาการได้ (โดยเฉพาะเอกสารค าสอนและต ารา)

- ความส่งท้าย เป็นส่วนที่ผู้เสนอขอเชิญชวนให้ผู้อ่านศึกษารายละเอียดของเอกสาร บางครั้งอาจกล่าวค าขอบคุณแก่ผู้ที่จะให้ข้อเสนอแนะหลังจาการอ่าน หรือขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการให้ข้อมูลทางวิชาการ เป็นต้น

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

9

รูปแบบการเขียนค าน าในเอกสารประกอบการสอน

ค ำน ำ

เอกสารประกอบการสอนวิชา ........................................รหสั.................นี้ เป็นเอกสารที่มุ่งเน้นให้ นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ.....................................................................................................................

เนื้อหาในต าราได้แบ่งออก.............................................หัวเรือ่ง คือ........................แนวคิดต่าง ๆ ที่เสนอไว้สามารถน าไป...............................................................................................................................

ผู้เขียนหวังว่าต ารานี้คงเป็นประโยชน์ต่อ...................................................................................... หากท่านท่ีน าไปใช้มีข้อเสนอแนะประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับ ............................................................. และขอขอบคุณ......................................... ณ โอกาสนี้ด้วย

วิโรจน์ รักการสอน พฤษภาคม 25….

ตัวอย่ำง ดังแสดงในภาคผนวก

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

10

รูปแบบการเขียนค าน าในเอกสารค าสอน

ค ำน ำ

หนังสือ .........................................................................นี้ ได้เขียนและเรียบเรียงขึ้นเพ่ือใช้ในการ ศึกษาค้นคว้า.............................................................................................................................................

เนื้อหาในหนังสือได้แบ่งออก................หัวเรื่อง คือ................................................แนวคิดตา่ง ๆ ที่เสนอไว้สามารถน าไป............................................................................... ..............................................

ผู้เขียนหวังว่าหนังสือนี้คงเป็นประโยชน์ต่อ................................................................................ หากท่านท่ีน าไปใช้มีข้อเสนอแนะประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับ ............................ และขอขอบคุณ......................................... ณ โอกาสนี้ด้วย

วิโรจน ์ รกัการสอน พฤษภาคม 25….

ตัวอย่ำง ดังแสดงในภาคผนวก

ข้อควรระวังในกำรเขียนค ำน ำ การเขียนค าน าควรสอดคล้องกับสาระท่ีน าเสนอในเอกสาร ข้อความหรือถ้อยค าต่าง ๆ ที่ปรากฏในค าน าจะเสมือนเป็นการสร้างความคาดหมายให้กับผู้อ่าน ต่อไปนี้เป็นข้อเสนอแนะในการตรวจสอบหน้าที่เป็นค าน าของเอกสาร

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

11

๑. พิสูจน์อักษรให้ถูกต้อง ๒. อย่าระบุความเด่นของเอกสารเกินความเป็นจริง เช่น ผู้เขียนระบุว่าสอดแทรกงานวิจัยที่จะ

ฝึกฝนให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการวิจัย... แต่ในเอกสารมีเพียงบางส่วน หรือผู้เขียนระบุว่านักศึกษาจะสามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพต่าง ๆ ได้... แต่ในเอกสารมีการประยุกต์ที่ไม่หลากหลาย

๓. ไม่ต้องพิมพ์เลขก ากับหน้า แต่ให้นับหน้า โดยทั่วไปในสารบัญจะระบุหน้าของค าน าเป็นหน้า (๑) และหน้าหลังจะเป็นหน้าเปล่าที่ไม่มีข้อความ แต่จะนับหน้าหลังนี้ว่าเป็น หน้า (๒)

๔. การลงวันที่ต้องสอดคล้องกับเกณฑ์การเผยแพร่ เช่น เอกสารประกอบการสอน เอกสารค าสอนและต ารา ต้องเป็นวันที่ที่แสดงการเผยแพร่อย่างน้อย ๑ ภาคการศึกษาและเอกสารอ่ืน ๆ แสดงการเผยแพร่อย่างน้อย ๔ เดือน นอกจากนั้นปีที่พิมพ์ต้องตรงกับปีที่ระบุไว้ที่ปกนอกและปกใน

กำรเขียนสำรบัญ สารบัญเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของเอกสารผลงานทางวิชาการ เพราะจะช่วยให้ผู้ อ่านรู้ถึงสาระส าคัญของเอกสาร ดังนั้นการลงรายการและเลขหน้าต้องถูกต้องตรงกับเนื้อหาสาระที่ปรากฏอยู่ในบทต่าง ๆ รวมทั้งการจัดรูปแบบการลงรายการต้องมีระเบียบและใช้ให้คงเส้นคงวา หากมีสารบัญภาพและสารบัญตาราง ต้องก าหนดการลงรายการให้ถูกต้องเช่นเดียวกัน โดยเรียงล าดับดังนี้ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง ในการพิมพ์จะไม่พิมพ์เลขก ากับหน้า แต่จะต้องนับหน้าในการลงรายการในสารบัญด้วย

รูปแบบสารบัญ สำรบัญ

หน้ำ ค ำน ำ (พิมพ์ที่หน้าคี ่ แต่ไมต่้องพิมพเ์ลขก ากับหน้า ให้นับเป็นหน้า (1 ) ด้านหลังเว้นว่างให้นับเป็นหน้า (2)) (1) สำรบัญ (พิมพ์ที่หน้าคี่ แต่ไม่ตอ้งพิมพ์เลขก ากับหน้า ให้นับเป็นหน้า (3 ) ถ้ามีหลายหน้าให้พิมพ์เลขหน้าถัดไปและใชท้ั้งสองด้าน) (3) สำรบัญภำพ (พิมพ์ที่หน้าคี่ แต่ไมต่้องพิมพ์เลขก ากับหน้า ให้นับหน้าด้วย ถ้ามีหลายหน้าใช้หลักการเช่นเดียวกับสารบญั) (9) สำรบัญตำรำง (พิมพ์ที่หน้าคี่ แต่ไม่ต้องพิมพเ์ลขก ากับหน้า ให้นับหน้าดว้ย ถ้ามีหลายหน้าใช้หลักการเช่นเดียวกับสารบัญ) (11) แผนบริหำรกำรสอนประจ ำวิชำ (พิมพ์ที่หน้าค่ี แต่ไม่ต้องพิมพ์เลขก ากบัหน้า) (13) แผนบริหำรสอนประจ ำบทที่ 1 (พิมพ์ที่หน้าค่ี แต่ไม่ต้องพิมพ์เลขก ากับหนา้ ให้นับเป็นหน้า 1) 1 บทที่ 1 ควำมหมำยและบทบำทของกำรประชำสัมพันธ์ ...(ลงรายการเฉพาะหวัข้อหลัก) 5 ความหมายของการประชาสัมพันธ์ 5 หลักการส าคัญของการประชาสัมพันธ์ 15

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

12

ความแตกต่างระหว่างการประชาสัมพันธ์และกิจกรรมการสื่อสารอ่ืน 16 ความส าคัญของการประชาสัมพันธ์ 22 บทบาทของการประชาสัมพันธ์ 25 วัตถุประสงค์ในการด าเนินงานประชาสัมพันธ์ 30 สรุป 31 ค าถามทบทวน …(อาจใช้ค าวา่กิจกรรมท้ายบท ซ่ึงมีทั้งค าถามและการฝึกทักษะอื่น ๆ) 31 เอกสำรอ้ำงอิง ...(ลงรายการเอกสารให้ครบตามที่อ้างอิงในเน้ือหา ที่มาของภาพและตาราง ใช้รูปแบบของ APA) 33 บรรณำนุกรม ...(ลงรายการเอกสารทุกเล่มที่อ้างอิงมาแล้วและเอกสารที่ใช้ประกอบการค้นคว้า ใช้รูปแบบของ APA)

ภำคผนวก ...(เฉลยแบบฝึกหัด / กฎหมาย / อื่น ๆ) ดรรชนี ... (ระบุค าและเลขหน้าให้ตรงกับเนื้อหาในบท) หมำยเหตุ 1. ต าราและหนังสือจะไม่มีแผนบริหารการสอนประจ าวิชาและประจ าบท 2. เอกสารประกอบการสอนอาจไม่มีดรรชนีก็ได้ 3. หนังสือจะไม่มีค าถามทบทวนหรือกิจกรรมทบทวน แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ .......... บทที่ ................................................. .................................. .................................. สรุป ค าถามทบทวน เอกสำรอ้ำงอิง บรรณำนุกรม ...(ลงรายการเอกสารทุกเล่มที่อ้างอิงมาแล้วและเอกสารที่ใช้ประกอบการค้นคว้า ใช้รูปแบบของ APA)

ภำคผนวก ...(เฉลยแบบฝึกหัด / กฎหมาย / อื่น ๆ) ดรรชนี ... (ระบุค าและเลขหน้าให้ตรงกับเนื้อหาในบท) หมำยเหตุ ๑. ต าราและหนังสือจะไม่มีแผนบริหารการสอนประจ าวิชาและประจ าบท ๒. เอกสารประกอบการสอนอาจไม่มีดรรชนีก็ได้ ๓. หนังสือจะไม่มีค าถามทบทวนหรือกิจกรรมทบทวน

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

13

รูปแบบสารบัญภาพ

สำรบัญภำพ

หน้ำ ภำพที ่ 3.1 แบบจ าลองกระบวนการด าเนินงานประชาสัมพันธ์ของคัทลิป เซนเตอร์ 78 3.2 ....................................................................

สำรบัญตำรำง

หน้ำ

ตำรำงท่ี 1.1 แสดงความแตกต่างระหว่างการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา 19 1.2 ....................................................................

รปูแบบสารบญัตาราง

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

14

กำรเขียนเนื้อหำ เนื้อหาในเอกสารผลงานทางวิชาการเป็นส่วนส าคัญท่ีสุดที่จะแสดงความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เสนอขอ สิ่งที่ต้องค านึงถึงในการเขียนเนื้อหามีข้อเสนอแนะบางประการดังนี้

๑. เอกสารประกอบการสอน - ครอบคลุมหลักสูตร - จ านวนหน้าของแต่ละบทควรใกล้เคียงกัน - ไม่ลอกเลียนผลงานของบุคคลอ่ืน แต่อ้างอิงได้ตามหลักเกณฑ์ - แต่ละบทที่มีการอ้างอิงควรให้หลากหลาย การอ้างอิงซ้ า ๆ จะแสดงว่าผู้เขียนขาด

การค้นคว้า และควรใช้เอกสารที่ทันสมัย (อาจยกเว้นบางสาระท่ีเกี่ยวข้องกับ ประวัติและทฤษฎีการค้นพบ)

- เรียงล าดับเนื้อหาให้ถูกต้องก่อน – หลัง - หลีกเลี่ยงการเขียนเนื้อหาซ้ า ๆ ในหลาย ๆบท - ค าถามที่ใช้ต้องให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ และมุ่งเน้นความสามารถในหลายระดับ

เช่น ความรู้ความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ประเมินค่าเน้นด้านสติปัญญา ความรู้สึก และทักษะ

๒. เอกสารค าสอนและต ารา - ครอบคลุมหลักสูตร - จ านวนหน้าของแต่ละบทควรใกล้เคียงกัน - เนื้อหามีรายละเอียดที่ให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน

ปกติ หรือส าหรับผู้เรียนรายวิชาอ่ืนมาศึกษาค้นคว้าได้ - เนื้อหาเน้นการวิเคราะห์และสังเคราะห์ สอดแทรกความคิดเห็นของผู้เขียนตาม

หลักวิชาการ สอดแทรกงานวิจัยของผู้เขียนและ / หรืองานวิจัยของบุคคลอ่ืนที่เกี่ยวข้องกับสาระท่ีน าเสนอ

- ไม่ลอกเลียนผลงานของบุคคลอ่ืน แต่อ้างอิงได้ตามหลักเกณฑ์ - แต่ละบทที่มีการอ้างอิงควรให้หลากหลาย การอ้างอิงซ้ า ๆ จะแสดงว่าผู้เขียนขาด

การค้นคว้า และควรใช้เอกสารที่ทันสมัย (อาจยกเว้นบางสาระท่ีเกี่ยวข้องกับ ประวัติและทฤษฎีการค้นพบ)

- เรียงล าดับเนื้อหาให้ถูกต้องก่อน – หลัง - หลีกเลี่ยงการเขียนเนื้อหาซ้ า ๆ ในหลาย ๆบท - ค าถามที่ใช้ต้องให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ และมุ่งเน้นความสามารถในหลายระดับ

เช่น ความรู้ความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ ประเมินค่าเน้นด้านสติปัญญา ความรู้สึก และทักษะ

๓. หนังสือ

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

15

- เนื้อหาไม่จ าเป็นต้องตรงตามหลักสูตร แต่ต้องตรงกับสาขาวิชาที่เสนอขอ - เน้นความทันสมัยและความน่าสนใจในวงวิชาการนั้น ๆ - เนื้อหาเน้นการวิเคราะห์และสังเคราะห์ สอดแทรกความคิดเห็นของผู้เขียนตาม

หลักวิชาการ สอดแทรกงานวิจัยของผู้เขียนและ / หรืองานวิจัยของบุคคลอ่ืนที่เกี่ยวข้องกับสาระท่ีน าเสนอ

- ไม่ลอกเลียนผลงานของบุคคลอ่ืน แต่อ้างอิงได้ตามหลักเกณฑ์ - แต่ละบทที่มีการอ้างอิงควรให้หลากหลาย การอ้างอิงซ้ า ๆ จะแสดงว่าผู้เขียนขาด

การค้นคว้า และควรใช้เอกสารที่ทันสมัย (อาจยกเว้นบางสาระท่ีเกี่ยวข้องกับ ประวัติและทฤษฎีการค้นพบ)

- เรียงล าดับเนื้อหาให้ถูกต้องก่อน – หลัง - หลีกเลี่ยงการเขียนเนื้อหาซ้ า ๆ ในหลาย ๆบท

๔. บทความ - เนื้อหาไม่จ าเป็นต้องตรงตามหลักสูตร แต่ต้องตรงกับสาขาวิชาที่เสนอขอ - เน้นความทันสมัยและความน่าสนใจในวงวิชาการนั้น ๆ - เนื้อหาเน้นการวิเคราะห์และสังเคราะห์ สอดแทรกความคิดเห็นของผู้เขียนตาม

หลักวิชาการ สอดแทรกงานวิจัยของผู้เขียนและ / หรืองานวิจัยของบุคคลอ่ืนที่เกี่ยวข้องกับสาระท่ีน าเสนอ

- ไม่ลอกเลียนผลงานของบุคคลอ่ืน แต่อ้างอิงได้ตามหลักเกณฑ์ - แต่ละบทความมีการอ้างอิงที่หลากหลาย การอ้างอิงซ้ า ๆ จะแสดงว่าผู้เขียนขาด

การค้นคว้า และควรใช้เอกสารที่ทันสมัย (อาจยกเว้นบางสาระท่ีเกี่ยวข้องกับ ประวัติและทฤษฎีการค้นพบ)

- เรียงล าดับเนื้อหาให้ถูกต้องก่อน – หลัง และเรียงล าดับบทความหลาย ๆ บทความให้เกี่ยวเนื่องกัน

- หลีกเลี่ยงการเขียนเนื้อหาซ้ า ๆ ในหลาย ๆบทความ

บทที่ 1 บทน ำ

.................................................................................................. ............................................ ...................................................................................(ความน า).................................. ...................... ............................................................... ............................................................................................

ฯลฯ

รูปแบบการเขียนเนื้อหา

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

16

(หัวข้อหลัก) ............................................................................................................................. ................. ............................................................................................................................... ............................ 1. (หัวข้อรอง) ..................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ..............................

ฯลฯ 1.1 (หัวข้อย่อยของหัวข้อรอง)..................................................................................... ............................................................................................................................. .............................. ................................................................................................................................................... ........ 1.2 ................................................................................................................... ................... ............................................................................................................................. ............................................................................................................... .......................................................................... 1.2.1 ................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... สรุปท้ายบท ............................................................................................................................. ................. ............................................................................................................................. .............................. ค าถามทบทวน 1. .................................................................................... ..................................................... 2. ......................................................................................................................... ................ 3. ......................................................................................................................................... 4. ......................................................................................................................... ................

เอกสารอ้างอิง (ข้ึนหน้าใหม่เสมอ) ............................................................................................................................. .............................. .............................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ..............................

แนวทำงกำรจัดท ำรูปเล่ม เอกสำรประกอบกำรสอน การล าดับเนื้อหาการจัดท าเอกสารประกอบการสอนมีส่วนที่ส าคัญดังนี้ - ค าน า - แผนบริหารการสอนประจ าวิชา ใช้รูปแบบตำม มคอ. 3 - เนื้อหาที่เหมาะสม 1 บท ต่อสัปดาห์ บทละประมาณ 10 หน้า ในแต่ละบทมีส่วนประกอบดังนี้

บทที่ 1

แผนบริหำรกำรสอนบทท่ี 1

เนื้อหำ

สรุป

แบบฝึกหัดท้ำยบท เอกสำรอ้ำงอิงเฉพำะบท 1

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

17

บรรณำนุกรมท้ำยเล่มรวมของทุกบท

บทที่ 3 ฟอร์มตัวอย่ำงเอกสำรประกอบกำรสอน

บทที่ 2

บทที่ n

แผนบริหำรกำรสอนบทท่ี 2

เนื้อหำ

สรุป

แบบฝึกหัดท้ำยบท เอกสำรอ้ำงอิงเฉพำะบท 2

แผนบริหำรกำรสอนบทท่ี n

เนื้อหำ

สรุป

แบบฝึกหัดท้ำยบท เอกสำรอ้ำงอิงเฉพำะบท n

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

18

เอกสำรประกอบค ำสอน รำยวิชำ.....................................

(……………………. for Learning)

ช่ือ………………………………….

คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏศรีสะเกษ

25..

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

19

เอกสำรประกอบค ำสอน รำยวิชำ…………………..

(…………………. for Learning)

ผู้ช่วย………………………………………….

คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏศรีสะเกษ25..

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

20

ค ำน ำ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

nnnn nnnn … ธันวาคม 25..

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

21

สำรบัญ

ค าน า………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ก) สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ( ) บัญชีภาพประกอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………( ) บัญชีตารางประกอบ…………………………………………………………………………………………………………….………………( ) แผนการสอนประจ าวิชา…………………………………………………………………………………………………………………………( )

แผนกำรบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 1………………………………………………………….

บทที่ 1 XXXXX……………………………………………………….……………………………..

ความหมายของ ………………………………………………….…………………………… ขอบข่ายของ ……………………………………………………….…………………….……… พัฒนาการของ …………………………………………………….………………………… บทสรุป...…………………………… …………………………………….………………..…… ค าถามทบทวน…………………………………………………………………………….…... เอกสารอ้างอิง……………………………………………………………………….……………

แผนกำรบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 2…………………………………………

บทที่ 2 XXXXX……………

ความหมายของ ………………………………………………….…………………………… ขอบข่ายของ ……………………………………………………….…………………….……… พัฒนาการของ …………………………………………………….………………………… บทสรุป...…………………………… …………………………………….………………..…… ค าถามทบทวน…………………………………………………………………………….…... เอกสารอ้างอิง……………………………………………………………………….……………

แผนกำรบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 8……………………………………………………

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

22

บทที่ 8 XXXXX……………

ความหมายของ ………………………………………………….…………………………… ขอบข่ายของ ……………………………………………………….…………………….……… พัฒนาการของ …………………………………………………….………………………… บทสรุป...…………………………… …………………………………….………………..…… ค าถามทบทวน…………………………………………………………………………….…... เอกสารอ้างอิง……………………………………………………………………….……………

บรรณำนุกรม……….……….……….……….…….……….……….…….……….……….……

ภำคผนวก……….……….……….……….……….……….……….……….…….……….……….

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

23

สำรบัญภำพ

ภำพที ่ หน้ำ

3.1 XXXXXXXXX …………………………………………………………..…… 31 3.2 XXXXXXXXX ………………………………………………………. …….. 32 3.3 XXXXXXXXX ………………………………………………………….…… 33 3.4 XXXXXXXXX………………………………………………………….…….. 35

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

24

สำรบัญตำรำง

ตำรำงท่ี หน้ำ

3.1 XXXXXXXXXXXXXXX………………………………………… 3.2 XXXXXXXXXXXX…….……………………………………………..

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

25

แผนบริหำรกำรสอนประจ ำวิชำ

1. รหัสวิชำ ………………… รำยวิชำ ………………………………………….. 2 (2-0)

(………………………………………………..)

2. ค ำอธิบำยรำยวิชำ …………………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..………………………………………………..…………………………………………

3. วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพ่ือให้......................................................... 2. เพ่ือให้......................................................... 3. เพ่ือให้.........................................................

4. เนื้อหำ บทที่ 1 ......................................................... บทที่ 2 ......................................................... บทที่ 3 ......................................................... บทที่ 4 ......................................................... บทที่ 5 ......................................................... บทที่ 6 ......................................................... บทที่ 7 ......................................................... บทที่ 8 .........................................................

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

26

กำรแบ่งเนื้อหำวิชำกับเวลำที่ก ำหนดให้เรียน

สัปดำห์ที่ บทที่ หัวข้อ/เนื้อหำ

1 บทที่ 1 ......................................................... 2 สรุป ค าถามทบทวน 3 บทที่ 2 ........................................................ .

.........................................................

.........................................................

สรุป

ค าถามทบทวน

4 บทที่ 3 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

27

สัปดำห์ที่ บทที่ หัวข้อ/เนื้อหำ

5 บทที่ 3 .........................................................

.........................................................

.........................................................

สรุป ค าถามทบทวน 6 บทที่ 4 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

7 ........................................................ .

.........................................................

.........................................................

สรุป ค าถามทบทวน 8 สอบกลำง

ภำค ทฤษฎี บทที่ 1 – 4

9 บทที่ 5 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

28

สัปดำห์ที่ บทที่ หัวข้อ/เนื้อหำ 10 บทที่ 5 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

สรุป ค าถามทบทวน

11 บทที่ 6 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

12 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

สรุป ค าถามทบทวน

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

29

สัปดำห์ที่ บทที่ หัวข้อ/เนื้อหำ 13 บทที่ 7 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

14 .........................................................

.........................................................

.........................................................

สรุป ค าถามทบทวน

15 บทที่ 8 .........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

.........................................................

สรุป ค าถามทบทวน

16 สอบปลำยภำค

ทฤษฎี บทท่ี 5 – 8

5. วิธีสอนและกิจกรรม 1. ศึกษา.........................................................

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

30

2. ศึกษา......................................................... 6. สื่อกำรเรียนกำรสอน

1. ......................................................... 2. ......................................................... ฯลฯ

7. กำรวัดผลและประเมินผล

1. กำรวัดผล

1. การเก็บคะแนนสะสม

1.1 การเข้าฟังบรรยาย …. คะแนน

1.2 การศึกษาค้นคว้าเฉพาะเรื่อง …. คะแนน

1.3 การฝึกปฏิบัติการ…. …. คะแนน

2. การสอบปลายภาคเรียน …. คะแนน

2. กำรประเมินผล คะแนนระหว่าง 80 - 100 ได้ระดับ A

คะแนนระหว่าง 75 - 79 ได้ระดับ B+ คะแนนระหว่าง 70 - 74 ได้ระดับ B

คะแนนระหว่าง 65 - 69 ได้ระดับ C+

คะแนนระหว่าง 60 - 64 ได้ระดับ C คะแนนระหว่าง 55 - 59 ได้ระดับ D+

คะแนนระหว่าง 50 - 54 ได้ระดับ D

คะแนนระหว่าง 0 - 49 ได้ระดับ E

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

31

ท่ีมา (Sawyer, Williams, & Hutchinson,

1999, หนา้ 4-8)

บทท่ี 1

………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หัวข้อ……………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หัวข้อ……………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตำรำงท่ี 1.1 ……………………………………………….

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

32

บทสรุป ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ค ำถำมทบทวน

1) จงบอก……………………………… 2) จงบอก………………………………?

เอกสำรอ้ำงอิง

กลุ่มสถาบันราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2542). เทคโนโลยีสำรนิเทศเพื่อกำรเรียนรู้. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.

__________.(2542). เทคโนโลยีสำรนิเทศเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.

Sculley, John.(1987). Information Technology. Singapore : McGraw-Hill.

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

33

แผนบริหำรกำรสอนประจ ำบทที่ 1

1. หัวข้อเนื้อหำประจ ำบท 1) ความหมายและขอบข่าย………………………………. 2) พัฒนาการของ…………………………….. 3) .

2. วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม 1) ผู้เรียนสามารถอธิบาย……………………………. 2) ผู้เรียนสามารถบอก………………………….. 3) .

3. วิธีกำรสอนและกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนประจ ำบท 1) ……………… 2) ………………… 3)

4. สื่อกำรเรียนกำรสอน

1) แผ่นใส 2) …………

5. กำรวัดผลและกำรประเมินผล 1) ……………………….. 2) ………………………..

บทที่ 2

………………………………………….

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

34

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หัวข้อ……………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หัวข้อ……………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บทสรุป

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ค ำถำมทบทวน 1) จงบอก……………………………… 2) จงบอก……………………………… เอกสำรอ้ำงอิง

กลุ่มสถาบันราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2542). เทคโนโลยีสำรนิเทศเพื่อกำรเรียนรู้. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.

__________.(2542). เทคโนโลยีสำรนิเทศเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.

Sculley, John.(1987). Information Technology. Singapore : McGraw-Hill.

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

35

แผนกำรบริหำรกำรสอนประจ ำบทท่ี 2 1. หัวข้อเนื้อหำประจ ำบท

1) ความหมายและขอบข่าย………………………………. 2) พัฒนาการของ…………………………….. 3).

2. วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม 1) ผู้เรียนสามารถอธิบาย……………………………. 2) ผู้เรียนสามารถบอก………………………….. 3) .

3. วิธีกำรสอนและกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนประจ ำบท 1) ……………………………. 2) ………………………….. 3) .

4. สื่อกำรเรียนกำรสอน 1) แผ่นใส 2) …………

5. กำรวัดผลและกำรประเมินผล 1) ……………………….. 2) ………………………..

บทที่ 8

………………………………………….

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

36

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หัวข้อ……………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หัวข้อ……………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บทสรุป

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ค ำถำมทบทวน 3) จงบอก……………………………… 4) จงบอก……………………………… เอกสำรอ้ำงอิง

กลุ่มสถาบันราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2542). เทคโนโลยีสำรนิเทศเพื่อกำรเรียนรู้. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.

__________.(2542). เทคโนโลยีสำรนิเทศเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟเอ็ดดูเคชั่น.

Sculley, John.(1987). Information Technology. Singapore : McGraw-Hill.

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

37

แผนกำรบริหำรกำรสอนประจ ำบทท่ี 8 1. หัวข้อเนื้อหำประจ ำบท

1) ความหมายและขอบข่าย………………………………. 2) พัฒนาการของ…………………………….. 3).

2. วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม 1) ผู้เรียนสามารถอธิบาย……………………………. 2) ผู้เรียนสามารถบอก………………………….. 3) .

3. วิธีกำรสอนและกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนประจ ำบท 1) ……………………………. 2) ………………………….. 3) .

4. สื่อกำรเรียนกำรสอน

1) แผ่นใส 2) …………

5. กำรวัดผลและกำรประเมินผล 1) ……………………….. 2) ………………………..

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

38

บรรณำนุกรมบรรณำนุกรม

กรภัทร์ สุทธิดารา. (2544). ก้ำวสู่โลกอินเตอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : อินโฟเพรส. สุเมธ ธรรมาภิมุช . (2542). กำรใช้งำนระบบปฏิบัติกำรลีนุกซ์ . เพชรบูรณ์ : ภาควิชาคอมพิวเตอร์

ศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์. Angle, Marry E. (1997). Internet Connections a Librarian’s Guide to Dial-up Access and

use. New York : Division of Simon & Schuster. Apptegate, Lynda M. Mcfarlan, F. Warren and Mckenney, Jamesl. (1999). Corporate

Information Systems Management Text and Cases. 5th ed.. New York : McGraw-Hill. Barron, Ann E. and Lvers, Karen S. (1998). Th Internet and instruction. Chicago : Libraries

Unlimited. http://www3.ca.com/virus/ http://www.kumite.com/myths/

คู่มือ การเขียนเอกสารประกอบการสอน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

39

ภำคผนวกภำคผนวก

Recommended