39

ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

Citation preview

Page 1: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง
Page 2: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ศิวโมกข ศิวโมกข เปนหนังสือที่คุณ ศิริพร วัฒนโชค ไดขออนุญาตทางวัดทาซุงจัดพิมพ เมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๑ โดยคัดเนื้อหาบางสวนมาจากหนังสือ โอวาทหลวงพอวัดทาซุง เลม ๑ ทั้งนี้ไดต้ังช่ือวา ศิวโมกข ซึ่งแปลวา พระนิพพาน

สมาธิ เวลาปฏิบัติ เวลาเริ่มทําสมาธิ ตัดกังวลเสียกอน สิ่งใดที่จะหวงใจยกเลิกทิ้งไป ประเดี๋ยวเดียวมันไมตายหรอก และก็ตัดสินใจวาเราจะตองปฏิบัติใหมีผลตามคําแนะนําของครู ไมหวงแมแตรางกาย ทุกคนเมื่อตัดกังวล ไมหวงแมแตรางกายไดแลว ก็ตั้งใจสมาทานศีล เรื่องศีลนี่ความจริงไมใชจะมีเฉพาะเวลาปฏิบัติ ศีลนี่เปนเครื่องค้ําจุนฌานสมาบัติ สมาธิหรือฌานจะมีขึ้นมาไดก็เพราะศีล ถาศีลบกพรองฌานก็บกพรองดวย ถาศีลสมบูรณแบบ สมาธิหรือฌานจึงจะสมบูรณแบบ เรื่อง นิวรณ 5 ประการ อยานึกถึงมันเลย นอกจากนั้น องคสมเด็จพระภควันตใหทุกคนคุมอารมณใหดีใน พรหมวิหาร 4 ใหจิตทรงตัวไวในพรหมวิหาร 4 เปนปกติ คําวาปกติ ตองเหมือน ศีล ศีล นี่ตองบริสุทธิ์ทุกวัน และ พรหมวิหาร 4 ตองทรงตัว

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 125/54 ขอบรรดาทานพุทธบริษัททั้งหลายทํากําลังใจใหทรงตัวมีจิตสงบสงัด ปราศจากอารมณอยางอื่นเขามารบกวน เราตั้งอารมณไวในกุศลสวนใดสวนหนึ่ง ใหตั้งอยูแตเฉพาะอารมณนั้น อยางนี้จัดวา ฌาน หรือสมาธิ เมื่อทรงสมาธิดีแลว หรือวากอนจะทรงอารมณอยางนั้น เราก็พิจารณาขันธ 5 ตามที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาสอนวา ขันธ 5 มีสภาพไมเที่ยง มีความเกิดขึ้นในเบื้องตน และก็มีความเปลี่ยนแปลงไปในทามกลาง มีการสลายตัวไปในที่สุด ขันธ 5 นี่ไมใชเรา ไมใชเรา ไมใชของเราเสียจริง ๆ แลวเราจะหลงรางกายเพื่อประโยชนอะไร

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 126/54 คําวาสถานที่สงัด คือ เราใชอารมณสงัด จะไปนั่งคิดวาที่นั้นตองไมมีเสียง ที่นี่ตอง

ไมมีเสียง เราคิดหรือวาเวลาที่เราจะตายนะเราจะหาที่สงัดได เราตองพรอมใจไวเสมอวา

Page 3: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

เวลาที่เราจะตาย อาจจะมีเสียงเครื่องขยายเสียงทั้งดานขาง ดานซาย และดานขวาใกล ๆ เราอาจจะมีใครกําลังทะเลาะกันอยูก็ได หรืออาจจะมีใครเขามานั่งดาเราอยูใกล ๆ ก็ได เราตองเตรียมใจไว ถาอาการอยางนี้มันปรากฏ เราจะไมเอาจิตของเราเขาไปยุงกับเสียงกับอารมณตาง ๆ ทําจิตของเราใหสงัดจากเสียง เรื่องของเขาก็เรื่องของเขา เรื่องของเราก็เรื่องของเรา นี่เปนอันวาที่สงัดของเราไมใชหมายความวาสงัดเสียง ไมใชหมายความวาสงัดจากอาการกายกรรม คือการทํางานตางๆ ที่สงัดของเราคือใชอารมณจิตสงัดจากนิวรณ 5 ประการ และก็สงัดจากกิเลสดวย

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 132/56 อารมณพระกรรมฐานกับอารมณชาวโลกไมเหมือนกัน มันกลับจากหนามือเปนหลังมือ ไอการงานของชาวโลกนี่ ถาขยันมากมุมานะมาก ผลงานมันสูงแลวก็ดี แตการเจริญพระกรรมฐาน มุมานะมากถอยหลัง แทนที่จะกาวหนามันกลับลงต่ํา ใชไมได เพราะวาการปฏิบัติความดีเพื่อการบรรลุในพุทธศาสนา ตองละสวนสุดสองอยางคือ หนึ่ง อัตตกิลมถานุโยค การทรมานตนที่เรียกวาขยันเกินไป สอง กามสุขัลลิกานุโยค เวลาทรงสมาธิหรือพิจารณาวิปสสนาญาณ มีตัวอยากประกอบไปดวย อยากจะไดอยางนั้น อยากจะถึงอยางนี้ อยากจะไดตอนโนน อีตอนนี้มันเจง ทั้งสองทางที่ถูกคือ จะตองวางใจเฉย ๆ ปลอยอารมณใหมันเปนไปตามสบาย ๆ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 133/56 การปฏิบัติไมวากรรมฐานกองใดทั้งหมด อุปสรรคทางจิตยอมปรากฏมีขึ้นเสมอ และอุปสรรคใด ๆ เกิดจากอารมณก็ดี หรือวาเกิดจากทางกายก็ดี ถาเราไมยอมแพเสียอยางเดียว เราก็ชนะ อุปสรรคตาง ๆ มันจะมีขึ้นไดมันก็ตองสลายตัวไดเหมือนกัน ตองถือวามันเปนเรื่องธรรมดา ทุกอยางถาเราเอาจิตเขาไปจับธรรมดาเสียอยางเดียว จิตมันก็มีความสุข การเจริญพระกรรมฐาน ความมุงหมายขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพทุธเจาก็คือ ตองการใหมีความสุข

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 134/56 ความจริงการทําจิตใหเปนสมาธิ หรือทําจิตใหเปนฌานสมาบัติเปนของไมยาก คนที่จะไดดีเขาทํากันแบบนี้ ขณะที่ฟงก็ดี ขณะที่ตั้งใจทรงสมาธิจิตก็ดี เขาไมใหอารมณสงไปสูอารมณอ่ืน รูจักควบคุมใจของเราใหอยูเฉพาะกิจที่เราจะพึงทํา คือกําหนดรูลมหายใจเขาออก และคําภาวนาลมหายใจเขานึกวา พุท ลมหายใจออกนึกวา โธ นึกอยูควบคุมกําลังอยู

Page 4: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

เทานี้ตามเวลาที่เรากําหนดไว เราจะไมยอมใหอารมณจิตเราไปสูอารมณอ่ืน นอกจากลมหายใจเขาออก และคําภาวนาวาพุทโธ ถาเราบังคับจิตของเราอยางนี้ไปทุกคราวที่เจริญพระกรรมฐาน จนกระทั่งจิตมีอารมณชินอยางนี้จิตของเราก็เปนฌาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 135/57 มีคนพูดกันวาถาเจริญสมถกรรมฐาน วิปสสนากรรมฐาน จะตองสามารถระงับทุกขเวทนาไดหมด ไมเจ็บไมปวยไมรอนไมหนาว นี่ไมใชความจริง รางกายยังมีความรูสึก รางกายยังมีจิตเปนเครื่องรักษา รางกายยังมีวิญญาณรูการสัมผัส ถึงแมวาพระอรหันตก็ดี พระพุทธเจาก็ดีก็ยังรูสึก รูสึกเจ็บ รูสึกปวดเหมือนกัน นี่วากันถึงอารมณของพระโสดาบัน เมื่อจิตเขาถึงพระโสดาบันแลว มีความไมประมาทในชีวิต มีความรูสึกเสมอวา เราจะตองแกเราจะตองตาย แลวก็ขึ้นชื่อวาความตายนี้ไมมีนิมิตเครื่องหมาย ไมใชวาจะไปกําหนดอายุการตาย วาตองตายเทานั้นเทานี้ จะตายตั้งแตความเปนเด็ก หรือความเปนคนหนุมเปนสาวความเปนคนแก อาการที่จะตาย อาจจะดวยโรคภัยไขเจ็บ อาจจะตายดวยอุบัติเหตุหรือตายเชา ตายสาย ตายบาย ตายเที่ยง ตายกลางคืน ตายดึก ตายหัวคํ่า เอาแนนอนไมได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 138/57 การเจริญสมถภาวนานี่เราตองการใหจิตสงบจากอกุศล และจิตนอมอยูในสวนของกุศลเปนปกติ พระโบราณาจารยทานแนะนําใหนึกถึงความดีของพระพุทธเจาเปนอารมณ โดยใชคําภาวนา พุทโธ แตวาถาภาวนาวาพุทโธอยางเดียว จิตก็จะลอยเกินไป ไมมีที่เกาะ เพราะจิตมีสภาพกวัดแกวง ทานจึงแนะนําใหกําหนดรูลมหายใจเขาออก อานาปานุสสติกรรมฐาน หรือการกําหนดรูลมหายใจเขาออกนี้เปนกรรมฐานที่ลดความฟุงซานของจิตและเปนกรรมฐานที่ระงับกายสังขาร เวลาที่เราปวยไขไมสบาย ใหใช อานาปานุสสติกรรมฐาน เขาระงับ และ ประการที่สาม อานาปานุสสติ นี้เปนกรรมฐาน ระงับ โมหจริต และ วิตกจริต รวมความวาตัดความโงของจิตทําใหจิตฉลาดขึ้น

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 141/58 ดานสมาธิก็ฝกซอมไวเปนปกติ เวลาฝกซอมไมตองไปนั่งหลับตา หลับตามันไมเกง ลืมตาอยูอยางนี้แหละใหจิตมันทรงสมาธิ ลืมตาอยูอยางนี้แหละใหจิตมันทรงตัวยอมรับนับถือกฏของธรรมดาและความเปนจริง เห็นอะไรเขาตายหมด เห็นคนคนตาย เห็นสัตวสัตวตาย เห็นวัตถุธาตุ วัตถุธาตุพัง แลวก็นึกถึงวาเราจะตองตายเหมือนกัน นี่ตองถอยหนา ถอยหลัง จะกาวไปแตขางหนาแลวก็ไมเหลียวหลัง ทานทั้งหลายที่ระงับความวุนวายของจิตไม

Page 5: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ไดนั้นนะ เขาเรียกวา สีลัพพตปรามาส เปนผูลูบคลําในศีล จิตตปรามาส ลูบคลําในสมาธิ ปญญาปรามาส ลูบคลําในวิปสสนาญาณ ทําเทาไรเทาไรก็ไมพนความวุนวายของจิต มีอารมณหุนหันพลันแลนโฉงเฉงโวยวาย ปราศจากเหตุผล คนประเภทนี้ทํากี่แสนกัปก็ลงนรก เพราะสักแตวาปฏิบัติ ไมรูจักพิจารณาจิตตัวเองวา ดีหรือชั่ว

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 148/61 จงตั้งใจไววา สมถภาวนาเปนอุบายเครื่องสงบใจ อารมณสมาธิของเราจะถึงไหนก็ชาง เราพอใจอารมณสมาธิที่เราถึงในขณะนั้น ตองการอยางเดียว คืออารมณจิตเปนสุข ถาหากวาทานไปกําหนดวา วันนี้จะตองเอาอยางนั้นวันนี้จะตองเอาอยางนี้ นั้นมันเปน นิวรณ เขามาครอบงําจิต คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ถาอารมณไมสามารถจะถึงจุดนั้นไดจริง ๆ ความกลุมมันก็เกิด แทนที่จะมีสุขอารมณสงบตามความมุงหมายของสมถภาวนา มันก็เลยกลายเปนจิตพลานไป ขาดทุน ตอนนี้ตองจําใหดี วิธีที่จะดีที่สุดนั้นก็คือ นั่งอยูก็ดี ยืนอยูก็ดี นอนอยูก็ดี เดินไปบิณฑบาต เดินไปทํางานหรือทํางานทําการอยูก็ดี เอาจิตจับคําภาวนาวา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ไวเปนปกติ อยาใหอารมณขาดจากอนุสสติทั้ง 3 ประการ ถาอาการของทานทรงไดอยางนี้ละก็ ก็ถือวาทานเปนผูทรงฌาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 149/62 คําวาจิตเปนสมาธินั้น หมายถึงจิตตั้งมั่นอยูในอารมณอยางใดอยางหนึ่ง ไมใชจิตหยุดโดยไมรับอารมณใดเลยทั้งสิ้น นักปฏิบัติใหมหรือทานที่ไมเคยปฏิบัติสมาธิเลยมักจะเขาใจอยางนั้น ความจริงการเขาใจอยางนั้นเปนการเขาใจที่ไมตรงตอความเปนจริง ธรรมดาของนักปฏิบัติใหม จิตที่วางจากอารมณ โดยไมรับรูอารมณเลย สําหรับการปฏิบัติเบื้องตนนี้ ไมมีอาการอยางนั้น จิตที่วางจากอารมณ เปนอาการของ สัญญาเวทยิตนิโรธ พระอรหันตขั้นปฏิสัมภิทาญาณหรือพระอนาคามีระดับปฏิสัมภิทาญาณเทานั้นที่จะเขาได พระอริยะนอกนั้นแมจะเปนพระอรหันตระดับเตวิชโช หรือฉฬภิญโญก็ไมสามารถทําได ปกติของจิตเปนอยางนี้ เมื่อทราบแลววาจิตไมวางจากอารมณ เพื่อฝกฝนจิตใหมีกําลังที่ควรแกการเจริญวิปสสนาญาณในขั้นตอไปทานจึงสอนใหภาวนา เพื่อโยงจิตใหอยูในอารมณ ภาวนา คือหาทางใหจิตนึกคิด แตนึกคิดในขอบเขตที่มอบหมายให ไมใชจะนึกคิดเพนพานไป การภาวนาคาถาบทใดบทหนึ่งนี้ เปนการระงับการฟุงซานของจิต

Page 6: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 151/62 ไอตัวสงบนี่ตองระวังใหดีนะ มันไมใชวาง คําวาสงบนี่ไมใชวาง จิตของคนนี่มันไมวาง คือวามันตองเกาะสวนใดสวนหนึ่ง ถามันละอกุศลมันก็ไปเกาะกุศล ไอจิตตัวที่เรียกวาสงบก็เพราะวา สงบจากกรรมที่เปนอกุศล คือ อารมณที่เปนอกุศล อารมณชั่ว สงบความปรารถนาในการเกิด อารมณสงบคือไมคิดวาเราตองการความเกิดอีก และจิตก็มีความสงบ เห็นวาสภาพรางกายนี้ไมใชเรา ไมใชของเรา เราไมมีในรางกาย รางกายไมมีในเรา ไอตัวคิดวาเรา วาของเรานี่สงบไป สงบตัวยึดถือวัตถุก็ตาม สิ่งมีชีวิตก็ตาม วาเปนเรา เปนของเรา นี่สงบตัวนี้นะ มีอารมณเปนปกติอยูเสมอ คิดวาอัตภาพรางกายนี้ไมมีเรา ไมมีของเรา และมันก็ไมมีอะไรเปนเราอีก หาตัวเราในนั้นไมได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 152/63 จิตนี่มันสภาพรับอารมณ อารมณเดียว เมื่อจิตมันรับอารมณที่เปนกุศล ทรงสติสัมปชัญญะดวย อานาปานุสสติกรรมฐาน แลวอะไรมันจะเขามาอีก

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 153/63 ถาหากวา ทานไมสามารถจะทรง อานาปานุสสติกรรมฐาน ไดถึง ปฐมฌาน ผลแหงการเจริญวิปสสนาญาณ ของทานทั้งหลาย จะไมมีผลตามตองการเพราะจิตมีกําลังไมพอที่จะทําลายกิเลสใหเปนสมุจเฉทปหานได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 154/63 จิตของฌาน 4 มีเอกัคคตากับอุเบกขาเปนปกติ จิตดวงนี้ตองจําเอาไววาตองใหมันทรงอยูตลอดเวลา ถามันทรงตัวอยูตลอดเวลา แลวเรื่อง ทิพจักขุญาณ มันงายเหลือเกิน ยิ่งกวาปอกกลวยเขาปาก แตถาวา ถาจิตเขาถึงจุดนี้แลว ทานที่มีความรูในขั้นนี้จริงๆ ทานบอกวา ถายังใชอารมณจิตของตนรูอยู ทานบอกวาใชไมได ตองหาทางเขาถามถึงพระ ถามพระกันตอนไหน จับภาพนิมิตพระองคใดองคหนึ่งขึ้นเปนบรรทัดฐาน เรียกวาภาพพระพุทธนิมิต จับแลวเวลาที่ตองการอยากจะทราบอะไรก็ถามพระ พระบัญชาการมาอยางไร เปนคําตอบที่เราไดรับปรากฏเองแลวก็ถูกตองตามความเปนจริง ตองจําไวเลยทีเดียว วาพระลักษณะนี้ที่เราเห็น เราถามแลว ทรงพยากรณ ตรงตามความเปนจริงทุกประการ จําภาพพระไว ถาทําอยางนี้จนชํานาญก็เลิกฝกวิธีอ่ืน ตองการอะไรก็ถามพระ

Page 7: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 155/64 ทิพจักขุญาณ นี่ถาหากวาจะดูกันใหแจมใสจริง ๆ รูกันใหแจมใสจริง ๆ ก็ตองทําจิตของเราเขาสูอารมณวิปสสนาญาณ แลวอารมณวิปสสนาญาณนี้ ตองวากันใหตรง ๆ จริงนะ อยาปสฯ สงเดช ถาปสฯ สงเดชไมมีผล ถาเราไดทิพจักขุญาณเสียแลว การปสฯ สงเดชยอมไมมี นี่สําหรับคนดีนะ แตคนที่เหลิงแลวก็ใชอะไรไมไดเหมือนกัน บางทีพอไดทิพจักขุญาณแลวก็เหลิง นึกวาตัวเปนผูวิเศษ ความจริงยังไมพนนรก ถาเหลิงเสียหนอยเดียวฌานโลกียมันก็จะเสื่อม ทิพจักขุญาณมันก็จะสูญ ทีนี้ก็เหลือแตอุปาทาน พวกเหลือแตอุปาทานหรือไดทิพจักขุญาณใหม ๆ จะมีอุปาทานกันมาก เห็นเทวดาหัวเปนชาง นี่อยางนี้ก็มี เห็นเทวดาไมใสเสื้อเสียบางก็มี อะไรอยางนี้เปนตน เห็นพระจุฬามณีเปนอิฐเปนปูน หรือเปนทองคํา อยางนี้ยังใชไมไดนะ เขาไมใชกันเลย เปนอารมณจิตที่เลวมาก เรียกวา เลวจนใชไมได ถาจะเปนการตรวจคะแนนในสนามหลวง จะใหสักกี่รอยศูนยก็ยังไมพอกับความเลว ทีนี้ความจริงมันก็ดีบางแลวเหมือนกัน แตดีไมถึงดี ถาไปเทียบกับระบบของความดีเขาก็เลวมาก เพราะฟนเฝอเห็นไมตรงกับความเปนจริง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 156/64 เจโตปริยญาณ พระพุทธเจาสอนไว คือ หนึ่ง มีไวใหเปลื้องความสงสัยวากิเลสมีจริงไหม สอง รูจิตของตนเองวา เวลานี้กิเลสอะไรมันเขามาสิงอยู อะไรเขามาทับอยู แลวเราจะแกอารมณของกิเลสนั้นดวยประการใด นี่ทานมีไวใหดูใจตนเองนะ ใจของชาวบานชาวเมืองจะเปนอยางไรก็ชางเขา อยาไปยุง ยกเวนบุคคลนั้นเปนบุคคลที่เราจะตองสงเคราะหจึงคอยรูเขา แตเวลาอยากจะรูของเขาก็รูเถอะ รูแลวนิ่งๆไว อยาทําปากบอนไป ถาเขายังไมปรารถนาจะรับฟงก็อยาพูด เขาไมเลื่อมใสไมศรัทธาจงอยาพูด อยาเปนขี้ขาของชาวบาน อยาเอาความรูของตนที่มีอยูไปเปนเครื่องมือเปนลูกจางชาวบาน ใหชาวบานชมวาดี คําชมของชาวบานไมมีความหมาย ถาเราเลวเสียอยางเดียว เขาจะชมอยางไรเราก็ดีไมได ถาเราดีเสียอยางเดียว เขาจะนินทาวารายอยางไร เราก็เลวไมไดเหมือนกัน ไมมีความสําคัญ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 157/64 *******************************

มหาสติปฏฐาน

Page 8: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

มหาสติปฏฐานสูตร ที่ยากจริง ๆ ก็คือ อานาปานุสสติกรรมฐาน เทานั้น ที่ตองทํากันชาหนอยแลวก็ทําถึงฌานที่เหลือทั้งหมดเปนอารมณคิด ฉะนั้นกอนจะใชอารมณคิดทุกครั้ง ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทและพระคุณเจาที่เคารพ โปรดทําสมาธิจิตจนถึงฌานใหเต็มที่กอน ไดระดับไหนทําใหถึงระดับนั้น ทําแลวปลอยใหจิตสบายจึงคอยใชอารมณคิด ปญญาจะเกิด นี่เปนหลักการในการปฏิบัติพระกรรมฐาน ถาใชอารมณคิดแลวจิตใจมักฟุงออกนอกลูนอกทาง ก็ทิ้งอารมณคิดนั้นเสีย กลับมาจับ อานาปานุสสติ ใหม จนกระทั่งจิตสบายแลวก็ใชอารมณคิดตอไป นี่เปนหลักการที่ปฏิบัติ นักปฏิบัติที่ไดผลจริง ๆ เขาทํากันแบบนี้ แมแตในสมัยพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาก็เหมือนกัน เขาปฏิบัติกันอยางนี้จึงไดผลตามกําหนดที่องคสมเด็จพระทรงธรรมบรมศาสดาตรัสไว

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 170/69 กรรมฐานใน มหาสติปฏฐานสูตร ยากอยางเดียว คือ อานาปานุสสติกรรมฐาน เทานั้น นอกนั้นไมมีอะไรยากมันเปนของงาย ๆ ของกลวย ๆ ทําเปนเสียนิดเดียว เดี๋ยวก็เขาถึง นิพพิทาญาณ เมื่อเขาถึง นิพพิทาญาณ แลวประเดี๋ยว สังขารุเปกขาญาณ มันก็มา สังขารุเปกขาญาณ มาแลวก็ทบทวนไปทบทวนมา ประเดี๋ยว โคตรภูญาณ มันก็มา เมื่อ โคตรภูญาณ มาแลว อารมณรักพระนิพพานอยางยิ่ง ประเดี๋ยว พระโสดาบัน ก็มา พระโสดาบัน มาแลว สกิทาคามี ก็มา สกิทาคามี มาแลว อนาคามี ก็มา ถึง อนาคามี มาแลว อรหัตผล ก็มา ไมเห็นมีอะไรยากขอใหทําถูกทําจริง ตามพระพุทธเจาสอน อยาฝน ฝนแลวไมมีผล

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 171/69 จิตของเราที่ยุง วาจาของเราที่เสีย กายของเราที่ไมสํารวม ก็เพราะอาศัยจิตไมดี ไมใชปญญา ไมใชสัญญา สัญญาจําไวแคนี้ ทําจิตใหเปนสมาธิ ปญญามันก็เกิด ปญญาก็พิจารณา เห็นคนเมื่อไร เห็นสัตวเมื่อไร มีความรูสึกทันทีวารางกายของคนและสัตวทั้งหมดเต็มไปดวยความสกปรก ความผูกพันกระสันอยากไดปรารถนาจะสัมผัสไมมีในจิต ใหจิตมันทรงสภาพเชนนี้ เห็นคนเหมือนกับเห็นซากศพ เห็นคนเหมือนกับเห็นของเนาเปอย เห็นคนเหมือนกับวา เห็นสิ่งที่เขาบรรจุอุจจาระปสสาวะไวเต็ม เทานี้จิตก็จะไมยึดมั่นถือมั่นไมผูกพันในรูปกายใด ๆ ทั้งหมด

Page 9: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 174/70 นักเจริญ มหาสติปฏฐาน เขาตองดูอารมณ อารมณตัวใดมันเกิด ตัดตัวนั้นทันที ไมไดไปนั่งไลเบี้ย 1,2,3,4,5,6,7 ถึง 13 จบเปนอรหันต ถาคิดแบบนี้ลงนรกมานับไมถวนแลว เขาตองรวบรวมกําลัง มหาสติปฏฐาน ทั้งหมดทุกบรรพ เขามาใช ในขณะที่อารมณนั้นเกิดทันที ไมใชวาทําอยางนี้ไดแลว ก็ทิ้งอยางนั้นไปจับขั้นตอไป ตอไปพอใจสบายก็ทิ้งอยางนี้ไปจับตัวโนน อยางนี้ลงนรกมานับไมถวน เพราะวาไมเขาถึงความเปนจริง ตกอยูในเขตของความประมาท

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 177/71 พระพุทธเจาจึงบอกไดวา คนที่ทรงฌาน 4 ได และก็รูจักใชอารมณของฌาน 4 ควบคุมวิปสสนาญาณได ถามีบารมีแกกลาจะเปนพระอรหันตภายใน 7 วัน ถามีบารมีอยางกลางจะเปนพระอรหันตภายใน 7 เดือน มีบารมีอยางออนจะเปนพระอรหันตภายใน 7 ป บารมีเขาแปลวากําลังใจ มีบารมีแกกลาคือมีกําลังจิตเขมขนนั่นเอง ตอสูกับอารมณที่เขามาตอตาน แตวาถาบารมีมันเขมบาง ไมเขมบาง เดี๋ยวก็จริงบาง เดี๋ยวก็ไมจริงบาง ยอ ๆ หยอน ๆ ตึงบาง หยอนบาง อยางนี้ทานบอกวาภายใน 7 เดือน ทีนี้บารมีมียอหยอน เปาะแปะ ๆ ตามอัธยาศัย ถึงก็ชางไมถึงก็ชางตามอารมณ อยางนี้ไมเกิน 7 ป นี่ผมพูดถึงคนที่ทรงฌาน 4 ได และก็ฉลาดในการใชฌาน 4 ควบวิปสสนาญาณ ถาโงละก็ดักดานอยูนั่นแหละ กี่ชาติก็ไมไดเปนอรหันต

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 178/71

ทรงความดี

ทานทั้งหลาย จงอยาลืม อยาเบื่อในความดีที่ทานทํา เมื่อเราทําความดีเทานี้แลว เราก็ทําดีใหมันยิ่ง ๆ ขึ้นไป เอามันใหมันเต็มดีใหได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 179/72

จงจําไววา จริยาที่เราจะตองทรงใจมีดังนี้ 1. ยามปกติ เราจะไมสนใจในจริยาของบุคคลอื่น ใครเขาจะดี ใครเขาจะเลวมันเรื่องของเขา อยาโออวด อยายกตนขมทาน อยาถือตัวเกินไป

Page 10: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

2. ไมมีกังวล 3. ไมทําลายศีลดวยตนเอง และไมยุยงสงเสริมใหบุคคลอื่นทําลายศีล ไมยินดีเมื่อ

บุคคลอื่นทําลายศีลแลว 4. ระงับนิวรณไดโดยฉับพลัน เมื่อเราตองการความเปนทิพยของจิต ขณะใดที่จิต

ตองการสมาธิ ไอความเปนทิพยนี่มาจากสมาธิมีความตั้งใจจิตสะอาด ถาตองการจิตเปนสุขหรือตองการสมาธิ ตองระงับนิวรณไดทันทีทันใด

5. จิตทรงพรหมวิหาร 4 ตลอดเวลา คือเปนปกติตลอดวัน 6. และขอแถมอีกนิดหนึ่งคือ ใจยอมรับนับถือความดีของพระพุทธเจา ความดีของ

พระธรรม ความดีของพระสงฆ มีความรูสึกวาชีวิตนี้มันตองตาย ถาตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น

ถากําลังใจของบรรดาทานพุทธบริษัททําไดอยางนี้ฌานสมาบัติจะทรงตัว คําวาเศราหมอง ไมผองใส กําลังใจไมเสมอกัน สวางบางมืดบางจะไมมี จะมีแตคําวาผองใสเรื่อยข้ึนไปตามลําดับ ขึ้นชื่อวาการเกิดในอบายภูมิตอไป ไมมีแน จะเปนการเกิดเปนสัตวนรกเปนเปรตเปนอสุรกาย เปนสัตวเดรัจฉานเหลานี้ ไมมีตอไปอีก มีอยางเดียวคือมุงหนาไปนิพพาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 180/72 จงอยาลืมวาเราฝกฝนกันที่ใจ เรื่องกายนี้ไมมีความหมาย กายมันเปนที่อาศัยของใจ

ความบริสุทธิ์ผุดผองจะมีขึ้นมาได หรือไมได มันอยูที่ใจเปนสําคัญ ถาใจดีเสียอยางเดียว ปากก็พูดดี กายก็ทําดี ถาใจเลว ปากก็พูดเลวกายก็ทําเลว ฉะนั้น เวลาที่ฝกจะตองใช มัชฌิมาปฏิปทา คือทําปานกลาง หมายถึงวาทําแบบสบาย ๆ อารมณฝนทางกายอยาใหมี ปลอยกายมันไปตามปกติ มันอยากจะนอนก็ใหมันนอน มันอยากจะนั่งก็ใหมันนั่ง มันอยากจะเดินก็ใหมันเดิน มันอยากจะยืนก็ใหมันยืน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 181/72 รักษากําลังใจใหมันมั่นคงจริง ๆ ใหจิตมันแนวแนจริง ๆ อยาเอาจิตเขาไปยุงกับอารมณภายนอก ทํางานทุกอยางเพื่อสาธารณประโยชน เราทําเพื่อพระนิพพาน ที่เราทํานี่เพื่อไมเกิด ไมใชทําเพื่อเกิด ไมเกิดทําทําไม ก็ทําเพื่อเปนการตัดอารมณวา ไองานที่เราทําไปแลว เราลงทั้งทุน ลงทั้งแรง แตวาทําไปแลวเราก็รูวามันเปนอนิจจังของไมเที่ยงนะ อนัตตาไมชาก็สลาย มันไมตายกอนเราก็ตายกอน มันไมพังกอนเราก็ตายกอน เราทําเพื่อจิตตัดโลภะความโลภ การทํางานอารมณมันจุกจิก ฝกอารมณใจใหมันเย็น ตัดความโกรธ

Page 11: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

การไมสนใจวามันเปนของเราเพราะวาเรากับมันไมชาตางก็บรรลัย เปนการตัดความหลงไปนิพพานเลย เราตั้งใจไวโดยเฉพาะรักษาอารมณ อุปสมานุสสติกรรมฐาน เปนอารมณวา เราตองการพระนิพพานในชาตินี้ โดยสรุปตัวทายเสียทันที คือ ตัดอวิชชา ความโง มานั่งใครครวญวา มนุษยโลกก็ดี เทวโลกก็ดี พรหมโลกก็ดี เปนดินแดนที่ไมพนความทุกข ความทุกขมันมีกับเราไดทุกขณะจิต เราเปนมนุษยเต็มไปดวยความรอน ความหนาว ความหิว ความกระหาย ความปวด ความเมื่อย ปวยไข มีความไมสบาย มีความตายไปในที่สุด มีการกระทบกระทั่งกับอารมณของชาวโลก เรื่องโลกมนุษยไมดี เทวโลกกับพรหมโลกก็พักความดีอยูชั่วคราว ไมมีความหมาย ใจเราตองการอยางเดียวคือ พระนิพพาน มีพระนิพพานเปนอารมณ ถาจิตถึงตอนนี้ละบรรดาทานพุทธบริษัท จิตจะเบามาก เหมือนกับมีความรูสึกวาเราไมไดอะไรเลย จิตมันสบาย ๆ กําลังฌานที่เราเคยมั่นคง กดอารมณนิ่ง มีความหนัก มันจะสลายตัวไป แตวาจิตของเรามีความสุข จะกระทบกระทั่งอาการอยางใดอยางหนึ่งก็ตามที ไมมีความรูสึกวามันจะมีความลําบาก ไมมีอะไรที่จะมีความหนัก ไมมีอะไรที่จะทําจิตใจของเราใหเรารอน ไดยินเสียงคนดาก็สบายใจ คิดวาเขาไมนาจะทําความชั่ว เปนปจจัยของความทุกข เห็นใครเขาสรรเสริญเรา ก็ไมมีความสุขใด ๆ ไมสั่นคลอน รูสึกวาการสรรเสริญไมมีความหมาย เราดีขึ้นมาไดไมใชอาศัยการสรรเสริญ หรือวาถาเราไมดี ก็ไมใชอาศัยการแชงดาของบุคคลใด ความดีจะมีขึ้นมาไดหรือความไมดีจะมีขึ้นมาได ก็เพราะอาศัยเราปฏิบัติเทานั้น ถาจิตใจของบรรดาทานพุทธบริษัททรงไดอยางนี้เรียกวา อรหัตผล

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 188/75

วิปสสนาญาณ

วิปสสนาญาณที่พิจารณากันมานั้น ทานสอนไวเปนสามนัย คือ 1. พิจารณาตามแบบ วิปสสนาญาณ 9 ตามนัย วิสุทธิมรรค 2. พิจารณาตามนัย อริยสัจ 4 3. พิจารณา ขันธ 5 ตาม นัย พระไตรปฏก ที่มีมาใน ขันธวรรค

Page 12: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ทั้งสามนัยนี้ ความจริงก็มีอรรถ คือความหมายเปนอันเดียวกัน โดยทานใหเห็นวาขันธ 5 ไมเที่ยง เปนทุกขเปนอนัตตาเหมือนกัน ทานแยกไวเพื่อเหมาะแกอารมณของแตละทาน เพราะบางทานชอบคอยทําไปตามลําดับตามนัย วิปสสนาญาณ 9 เพราะเปนการคอยปลดคอยเปลื้องตามลําดับทีละนอย ไมหนักอกหนักใจ บางทานก็ชอบพิจารณาตามแบบ อริยสัจ นี้พระพุทธเจาทรงคนพบเองและนําสอน ปญจวัคคีย เปนครั้งแรก ทานเหลานั้นไดมรรคผลเปนปฐม ก็เพราะไดฟง อริยสัจ แตทวาทั้งสามนี้ก็มีความหมายอยางเดียวกัน คือ ใหเห็นอนัตตาในขันธ 5 เหมือนกัน ทานกลาวไวใน วิสุทธิมรรค และในขันธวรรค ใน พระไตรปฏก วา ผูใดเห็น ขันธ 5 ผูนั้นก็เห็น อริยสัจ ผูใดเห็น อริยสัจ ก็ชื่อวาเห็น ขันธ 5

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 189/76 กอนที่จะคํานึงถึงวิปสสนาญาณ ก็จงทําใจใหมีความสุขดวยอํานาจของสมาธิจิตกอน เมื่อจิตมีสมาธิดีแลว ก็ใชปญญาพิจารณาใหปรากฏ เมื่อพิจารณาไปแลว ถาหากยังเห็นไมพอเพราะจิตมันจะซาน ก็ดับความรูสึกในการพิจารณาเสีย กลับมาภาวนาและทรงจิตใหหยุดในอารมณเดิมกอน ใหจิตสบายเปนสมาธิ ทําสลับกันไปสลับกันมา

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 190/76 ถาใครสามารถทรงฌานไดดี เวลาเจริญวิปสสนาญาณนี่มันรูสึกวางายบอกไมถูก เมื่อ ฌาน 4 เต็มอารมณแลว เราจะใชวิปสสนาญาณก็ถอยหลังมาถึงอุปจารสมาธิ เราจะตองตัดตัวไหนละ ตัดราคะ ความรักสวยรักงาม เราก็ยก อสุภกรรมฐาน ขึ้นมาเปนเครื่องเปรียบ ยก กายคตานุสสติกรรมฐาน ขึ้นมาเปนเครื่องเปรียบ เปรียบเทียบกันวาไอสิ่งที่เรารักนะ มันสะอาดหรือมันสกปรก กําลังของฌาน 4 นี่เปนกําลังที่กลามาก ปญญามันเกิดเอง เกิดชัดมีความหลักแหลมมาก ประเดี๋ยวเดียวมันเห็นเหตุผลชัด พอตัดไดแลวมันไมโผลนะ รูสภาพยอมรับสภาพความเปนจริงหมด เห็นคนปบไมตางอะไรกับสวมเดินได จะเอาเครื่องหุมหอสีสันวรรณะขนาดไหนก็ตาม มันบังปญญาของพวกทานพวกนี้ไมได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 191/77 จงอยาลืมวา กอนพิจารณาทุกครั้งตองเขาฌานกอน แลวถอยจากฌานมาหยุดอยูเพียงอุปจารฌาน แลวพิจารณาวิปสสนาญาณจึงจะเห็นเหตุเห็นผลงาย ถาทานไมอาศัยฌานแลว วิปสสนาญาณก็มีผลเปนวิปสสนึกเทานั้นเอง ไมมีอะไรดีไปกวานั่งนึกนอนนึก แลวในที่สุดก็เลิกนึกและหาทางโฆษณาวา ฉันทํามาแลวหลายป ไมเห็นไดอะไรเลย จงจําระเบียบไวใหดี และปฏิบัติตามระเบียบใหเครงครัด วิปสสนาไมใชตมขาวตม จะไดสุกงาย ๆ ตามใจนึก

Page 13: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 193/77 ความเบื่อหนายในรางกาย เบื่อในการเกิด เปน นิพพิทาญาณ ในวิปสสนาญาณ ถาทานคิดใครครวญในรูปสมถะใหเห็นซากศพอยูเสมอ และใครครวญหากฎธรรมดาควบคูกันไป คือเมื่อเกิดความทุกขอันเกิดแตการปวยไขหรืออารมณที่ไมพอใจ หรือความแกเฒาเขารบกวน ทานก็วางใจเฉยเสีย ไมดิ้นรนกระเสือกกระสนโดยคิดวา นี่เปนเรื่องของธรรมดา เกิดมามันก็ตองเจ็บไขไมสบาย มีลาภแลวลาภมันก็เสื่อมได มียศแลวยศมันก็สิ้นได มีสุขแลวทุกขมันก็มีได มีคนสรรเสริญแลวคนนินทาก็มีได เกิดแลวก็ตองตายได ทุกอยางมันธรรมดาแทๆ จนจิตชินตออารมณ มีอะไรที่เปนทุกขเกิดขึ้นก็รูสึกวาเปนปกติ ไมดิ้นรนหวั่นไหวอยางนี้ ทานเรียกวา ได สังขารุเปกขาญาณ ในวิปสสนาญาณ เปนคุณธรรมที่ใกลความเปนผูบรรลุพระโสดาบันแลว

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 195/78 การพิจารณาวิปสสนาญาณควรมุงตัดกิเลสเปนตอน ๆ ไป ถาตอนใดคิดวาจะละใหเด็ดขาด ก็ยังละไมไดก็ไมยายขอที่ตั้งใจจะละตอไปในขออ่ืน ตองย้ําซ้ํา ๆ ซาก ๆ อยูในขอนั้น จนเห็นวาตัดไดเด็ดขาดไมกําเริบแลว จึงเลื่อนไปพิจารณาละขอตอไป อยาทําแบบสุกเอาเผากินคราวเดียวมุงละหมดทั้ง 10 หรือคราวละหลาย ๆ ขอ ถาทําอยางนั้นจะกลายเปนพวก โมฆกรรม คือทําไมไดผลไป จงอยาใจรอน เพื่อผลแนนอนในการปฏิบัติ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 196/78 เมื่อรางกายมันเปนของสกปรก มันก็เปนของไมเที่ยง มีอนัตตาคือสลายตัวไปในที่สุด จิตก็ไมยึดมั่นถือมั่นไมผูกพันในรูปกายใด ๆ ทั้งหมด จะเปนที่มีชีวิตหรือไมมีชีวิตก็ตาม เห็นวาไมเปนสาระ หรือวาไมเปนแกนสาร มันมีแตความสกปรก เครื่องประดับที่แตงกายเปนของหลอกลวงไมมีอะไรดี ผาผอนทอนสไบหามาแลวอยางดีสีสดสวยเดี๋ยวก็ทรุดโทรม ความจริงนึกวาสวมแลวก็เกบ็จะใชใหมก็ตองซักตองฟอก นี่แสดงวามันสกปรก เครื่องอาภรณตาง ๆ ก็คอยปดคอยสีขัดเกลา ทําลายสิ่งสกปรกอยูเสมอ ทีนี้อะไรมันเปนของสะอาด เปนอันวาวัตถุก็ดีสิ่งที่มีชีวิตก็ดี มันก็ของไมสะอาดทั้งหมด จิตคิดอยางนี้ใหมันเปนปกติ จิตก็ตัดความรักเสียได

Page 14: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 198/79 ใชปญญาพิจารณาใหเห็น คอยๆ คิด คอยๆ นึก เห็นตามความจริง เราเรียนหาความจริงกัน ในหลักพระพุทธศาสนา ไมใชจะมานั่งโกหกมดเท็จตนเอง ถาเห็นตัวเราแลวก็เห็นบุคคลอื่น ดูหาความเปนจริงใหพบ จนกระทั่งจิตสลดคิดวา รางกายของคนและสัตวเต็มไปดวยความสกปรกจริง ๆ รางกายของคนและสัตวมีทุกขจริง ๆ รางกายของคนและสัตวหาความเที่ยงไมไดจริง ๆ มันมีการสลายตัวไปในที่สุด ไมมีใครจะบังคับบัญชารางกายใหมีสภาพทรงตัว ไมมีใครกลาจะแสดงวาเราเปนเจาของรางกายจริงจัง โดยการบังคับใหทรงตัวได ในเมื่อรางกายมันไมดีอยางนี้ เราจะไปเมามันเพื่อประโยชนในโลกียวิสัยทําไม

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 199/79 ใช สังขารุเปกขาณาณ เฉยทั้งอาการที่เขามากระทบกระทั่งจิต ในดานของโลกียวิสัย เฉยทั้งคําชม เฉยทั้งคํานินทา เฉยทั้งไดมา เฉยทั้งเสื่อมไป เฉยหมด ไมมีอะไรสนใจ คํานินทาวารายเกิดขึ้นกระทบใจแผล็บปลอยหลุดไปเลย ชางมัน ฉันไมยุงอารมณอาการตางๆ ที่เกิดขึ้นกับรางกาย จะปวยไขไมสบาย มันจะแก มันจะตายก็ชางมัน แตการรักษาพยาบาล การบริหารรางกายเปนของธรรมดา ถือวาทําตามปกติ ถาเขาจะถามวา ถาทําจิตไดอยางนี้ยังสูบบุหรี่ไหม ยังกินหมากไหม ยังจะตองใชของที่เคยใชกับรางกายไหม ก็ตองตอบวาใชตามปกติ เขาไมไดติด แตรางกายตองการ เหมือนกับพระพุทธเจาที่เปนพระพุทธเจาแลวยังฉันภัตตาหาร เรื่องอะไรที่ประสาทตองการเปนเรื่องธรรมดาที่ตองบํารุงโดยประสาท เพื่อเราจะเอาไวใชเปนประโยชน เหมือนกับคนที่ลงเรือรั่วเพื่อหวังจะขามฟาก ถาขณะใดที่ยังอาศัยเรืออยู เมื่อน้ํามันรั่วข้ึนมาเราก็ตองอุด มันผุตรงไหนก็ตองทํานุบํารุง ซอมแซม ไมใชวาปลอยใหมันรั่วใหมันพังไปจนกวาเราจะขึ้นฝงได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 200/80 จงคิดไวเสมอวาเรามีรางกายที่ไมใชของเรา ไมใชเรา เราไมมีในรางกาย รางกายไมมีในเรา รางกายเปนของไมเที่ยง เปนทุกข มีการสลายตัวไปในที่สุด รางกายเปนเรือนเชาชั่วคราวเทานั้น เราจะไมติดใจในรางกาย จะไมเมาในรางกาย เราจะไมหวังในรางกายตอไปอีก ขึ้นชื่อวาความเกิดจะไมมีสําหรับเรา และก็ตั้งใจตัดความโลภดวยการใหทาน ตัดความ

Page 15: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โกรธดวยการเจริญพรหมวิหาร 4 ตัดความหลง ดวยการยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ไมหว่ันไหวในเมื่อรางกายมันจะเปนอะไรเกิดขึ้น และจงมีความเคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ คือเปนที่พ่ึงอยางแทจริงดวยความจริงใจ เมื่อเคารพแลวก็ปฏิบัติตามคําแนะนําของทาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 202/81 จงวางอารมณเสีย ใครเขาจะอยางไรก็ชาง เขาจะดี เขาจะชั่ว เขาจะเลว เขาจะอยางไรก็ตามเถอะ ไมสนใจ เห็นหนาคนเราคิดไวเสมอวา เปนคนที่เราควรแกการปรานี เห็นหนาสัตวก็คิดวาเปนสัตวควรแกการปรานี พยายามไมถือตน คนและสัตวก็ตามถือวามีธาตุ 4 คือ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม ธาตุไฟ เสมอกัน มีอาการ 32 เหมือนกัน มีความเกิดขึ้นในเบื้องตน มีความเปลี่ยนแปลงไปในทามกลาง มีการสลายตัวไปในที่สุดเหมือนกัน สรางอารมณใหเปน สังขารุเปกขาญาณ ในวิปสสนาญาณอยางนี้ การระวังการถือตัวถือตนยอมเปนของไมยาก

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 210/83 ชีวิตมีความตายเปนที่สุด ถาเราเกิดอีก เราก็ลําบากอีก อยาเกิดเลยดีกวา งานที่ทําขอใหคิดวาทําเพียงหนาที่ คือ หนาที่ ๆ จะตองเลี้ยงตัวเอง เลี้ยงครอบครัว ทําไป และอยาติดหนาที่ คิดวาง คิดปลอย คลายความเมา ปลอยใหเปนเรื่องของกรรม แตอยาบกพรองในหนาที่ พระพุทธพยากรณเมื่อไมชานี้ พอดีใจ ทานตรัสวา ความยาวของชีวิตพอมีประโยชนกับลูกและหลาน ลูกทุกคนจะไมมีโอกาสไดเกิดอีก พอดีใจ ถาตองการทรมานกายเพื่อความถึงที่สุดของลูกและหลาน พอทนไดเสมอ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 220/86 ความจริงเราทุกคนไมตองกลัวตาย กลัวเกิดดีกวา ถาเราไมเกิดเสียอยางเดียว มันจะตายอยางไรใหมันรูไปถาไมเกิดใหมันตายที ทีนี้เราเกิดมา เพราะตาเราเห็นรูป เราพอใจในรูป หูไดยินเสียง พอใจในเสียง เปนตน ความพอใจไอตัวจริงๆ ที่เปนตัวราย ที่เราจะตองตัดคือใจ ตัดอารมณของใจเสีย อยาใหใจมันโง แนะนํามันบอกวา นี่ไอแกไปหลงไหลใฝฝนในรูป รูปนี้สวย ทรวดทรงดี ถามมันดูซิวา มีรูปอะไร ที่มีการทรงตัว ไมเปลี่ยนแปลงบาง ไมมีการทรุดโทรม ไมมีการเสื่อมมันมีบางไหม ถามใจมันดู

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 221/87

Page 16: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ทานทั้งหลายจงอยาประมาทกับชีวิต เพราะวาชีวิตเปนของไมเที่ยง แตความตายเปนของเที่ยง ขอทุกทานจงคิดไวเสมอวา อยางไรก็ดีเราตองตายแน สําหรับเวลาการตายของเราไมมีแนนอน เพราะความตายไมมีนิมิตเครื่องหมาย ทานทั้งหลายจงประกอบแตความดีเขาไว ถาใครสรางความชั่ว ตายแลวจะไปสูอบายภูมิ มีนรกเปนตน เกิดมาเปนคนก็จะมีแตความเรารอน มีแตความลําบาก แตถาคนใดสรางความดี คิดถึงความตาย ไมประมาทในชีวิต คิดไวเสมอวาเราจะตองตายแน จงอยาคิดวาวันพรุงนี้ หรือเดือนหนา ปหนา เดือนโนน เราจึงจะตาย คิดไวเสมอวาวันนี้เราอาจจะตาย แลวก็สรางความดีเขาไว ความดีจะสงผลใหทานมีความสุขทั้งในปจจุบันและสัมปรายภพ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 222/87

พิจารณาขันธ 5

ใหพิจารณาวา ขันธ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไมใชเรา ไมใชของเรา เราไมมีในขันธ 5 ขันธ 5 ไมมีในเรา โดยใหพิจารณาเปนปกติ เมื่อเห็นวาขันธ 5 ปวยก็รักษา เพื่อใหทรงอยู แตเมื่อมันจะพังก็ไมตกใจ หรือมันเริ่มปวยไข ก็คิดวาธรรมดามันตองเปนอยางนี้ เราจะรักษาเพื่อใหทรงอยู ถาทรงอยูได ก็จะอาศัยเพื่องานกุศลตอไป ถาเอาไวไมไดมันจะผุพัง ก็ไมมีอะไรหนักใจ ความทุกขจะเกิดแกตัวเองหรือใคร อะไรก็ตามไมผูกจิตติดใจอยางนี้ จนกระทั่งบรรลุอรหัตผล

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 227/89 ถาเราตองการนิพพาน เราก็วางขันธ 5 คือรางกาย เห็นวารางกายนี้มันไมใชเรา ไมใชของเรา เราไมมีในรางกาย รางกายไมมีในเรา จนกระทั่งเราไมยึดถือในรางกาย และทรัพยสมบัติภายนอกวามันเปนเรา เปนของเรา ทุกสิ่งทุกอยางถือวาเปนกฎธรรมดา โลกทั้งโลกเราเห็นวาเปนความทุกข เราไมปรารถนาความเกิดอีก มีใจชุมชื่นมีอารมณเบิกบาน มีจิตจับเฉพาะพระนิพพานเปนอารมณอยางนี้เราก็ถึงพระนิพพาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 228/89

กฎของธรรมดา

Page 17: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

รางกายเราก็ดี รางกายเขาก็ดี วัตถุธาตุทั้งหมดก็ดีไมมีอะไรจีรังยั่งยืน มีความเกิดขึ้นในเบื้องตน มีความแปรปรวนไปในทามกลาง มีการสลายตัวไปในที่สุด และรางกายของแตละรางกาย ก็เต็มไปดวยความสกปรกโสโครก มันไมมีอะไรเปนจริงเปนของเราเสียจริง ๆ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 233/92 ทุกสิ่งทุกอยางในโลกมันเปนอนิจจัง หาความเที่ยงไมได ถามันไมเที่ยง เราจะเขาไปยุงกับความไมเที่ยง ใหมันเที่ยงมันก็เปนทุกข อารมณของคนที่เปนทุกขมันก็เพราะไมยอมรับนับถือกฎของความเปนจริง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 235/92 จําไววาโลกนี้ไมมีอะไรเที่ยง ถาเราเกาะความไมเที่ยง มันก็ทุกข แตทวาจะสุขหรือทุกขก็ตาม อนัตตามันก็เขามาถึง อยายึดอยาถือวามันเปนเรา เปนของเรา คิดไวเสมอวาชาตินี้เปนชาติสุดทายที่เราจะอยูกับมัน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 236/92 รางกายของเราก็ดี รางกายของบุคคลอื่นก็ดี นอกจากมันจะสกปรกแลว มันก็ไมมีสภาวะเปนเรา เปนของเรา ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะรางกายเปนกฎธรรมดาอยางหนึ่ง ที่มันมีความเกิดขึ้นในเบื้องตน มีความแปรปรวนไปในทามกลาง มีการแตกสลายในที่สุด ที่เรียกกันวา เมื่อมีเกิดขึ้นแลว แลวก็ตองมีความแกเปนธรรมดา ไมสามารถจะลวงพนความแกไปได ตองมีความปวยไขเปนธรรมดา ไมสามารถจะลวงพนความปวยไขไปได ตองมีความตายเปนธรรมดา ไมสามารถจะลวงพนความตายไปได ทรัพยสินทั้งหลายที่เรามีอยู สิ่งที่รักอยูก็ตองพลัดพรากจากกันไป

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 237/92 ใหพิจารณาใหมีความเบื่อหนายจากสังขาร เพราะสังขารเกิดแลวดับในที่สุดนี้ประการหนึ่ง สังขารมีความดับเปนปกติทุกวันเวลา หรือจะวาทุกลมหายใจเขาออกก็ไมผิดนี้ประการหนึ่ง สังขารเปนภัย เพราะมีโรคภัยไขเจ็บเบียดเบียนเปนปกติ และทําลายในที่สุดประการหนึ่ง สังขารเต็มไปดวยความทุกขและโทษประการหนึ่ง ฉะนั้นสังขารนี้เปนสภาพที่นาเบื่อหนาย ไมเปนของนารัก นาปรารถนาเลย ญาณนี้ควรเอา อสุภสัญญา ความเห็นวา

Page 18: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ไมสวยไมงามมารวมพิจารณาดวย เอา มรณานุสสติ ธาตุ 4 มารวมพิจารณาดวยจะเห็นเหตุผลชัดเจนเกิดความเบื่อหนายไดโดยฉับพลัน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 238/93 ใหพยายามพิจารณาใครครวญเสมอๆ วา สังขารนี้มีความเกิดขึ้นในเบื้องตนแลว ตอไปก็แตกสลายทําลายไปหมด ไมมีสังขารประเภทใดเหลืออยู พยายามหาเหตุผลในคําสอนนี้ใหเห็นชัด ดูตัวอยางคนที่เกิดแลวตาย ของที่มีขึ้นแลวแตกทําลาย ดูแลวคิดทบทวนมาหาตน และคนที่รักและไมรัก ของที่มีชีวิตและไมมี คิดวานี่ไมชาก็ตองตายทําลายอยางนี้ และพรอมเสมอที่จะไมหว่ันไหว ในเมื่อสิ่งเหลานั้นเปนอยางนั้น พิจารณาทบทวนอยางนี้จนอารมณเห็นเปนปกติ ไดอะไรมา เห็นอะไรก็ตาม แมแตเห็นเด็กเกิดใหม อารมณใจก็คิดวา นี่ไมชามันก็พัง ไมชามันก็ทําลาย แมแตรางกายเรา ไมชามันก็สิ้นลมปราณ อะไรที่ไหน ที่เราคิดวามันจะยั่งยืนถาวรตลอดกาลไมมี รักษาอารมณใหเปนอยางนี้

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 239/93 ถารูวาทุกสิ่งทุกอยางเปนธรรมดาเสียแลว ความอาลัยในชีวิตมันก็ไมมี เราศึกษาพระธรรมวินัยกัน ปฏิบัติสมถวิปสสนาธุระกันก็เพื่อความดับไมมีเชื้อ คือการตัดอาลัยในชีวิตเทานั้น อารมณที่จะตัดอาลัยในชีวิตได ก็มีอารมณรักธรรมดาคือยอมรับนับถือกฎของธรรมดา อยาไปสนใจกับเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ใหมากนัก ไอเรื่องที่จะทําใหถูกใจเราทุกอยาง มันไมมีถาใจเราเลว แตวาถาใจเราดีเสียอยางเดียว ทุกอยางในโลกมันไมมีอะไรผิดใจเรา เพราะวาเราทราบวามันเปนเรื่องธรรมดา

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 240/93 การที่เราจะไดดีหรือไมไดดี มันอยูที่ความจริงใจของเราเทานั้น การเจริญพระกรรมฐานที่บอกวาทําแลวไมไดดี ก็เพราะคนเราหาความจริงไมไดนั่นเอง ไมใชมีอะไรยากลําบากอะไรที่ไหน เปนของธรรมดา องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาไมไดทรงหาอะไรมาสอนเรา นอกจากนํากฎธรรมดาที่เรามีอยู ใหเรามาใชปฏิบัติใหถูกทางเทานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งสมาธิจิต เราก็ใชกันอยูเปนปกติ แตวาองคสมเด็จพระชินศรีเห็นวา สมาธิแบบนั้นเปนโลกียสมาธิ ไมเปนทางหมดทุกข องคสมเด็จพระบรมครูตองการใหเรามีความสุข จึงใหใชสมาธิดานกุศลจิตคิดหากุศลเขาใสใจไวเปนประจํา ใหจิตมันจําไวเฉพาะดานกุศลอยางเดียวจนเปนเอกัคตารมณ เมื่อจิตทรงสมาธิไดดีแลว องคสมเด็จพระประทีปแกวก็สอนวิปสสนาญาณ มีอริยสัจ เปนตน ใหพิจารณาเห็นทุกข เหตุแหงความทุกขที่มันจะพึงมีขึ้นมา

Page 19: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ไดก็เพราะอาศัยตัณหา มีความผูกพันในรางกาย ซึ่งมันไมใชเรา ไมใชของเรา เราก็วางรางกายเสีย เพื่อพระนิพพาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 243/94

อริยสัจ สําหรับการที่เราเจริญพระกรรมฐาน ก็ตองใครครวญอยูเสมอวา เราเจริญพระกรรมฐานเพื่อตองการความรูเปนเครื่องพนจากความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย เพราะความเกิดเปนทุกข ความแกเปนทุกข ความเจ็บ ความตาย เปนทุกข ถาเรายังตองเกิดแกเจ็บตายอยูอยางนี้ เราก็มีแตความทุกข เวียนวายตายเกิดอยูในวัฏฏะ การเจริญสมถกรรมฐาน วิปสสนากรรมฐาน เราทําเพื่อสิ้นความเกิด เพราะเราไมตองการความทุกขตอไป จงพิจารณาหาทุกขใหพบใน อริยสัจ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 245/96 ใหพิจารณาเห็นวา ทุกขทั้งหมดที่ไดรับเปนประจําไมวางเวนนี้เกิดมีขึ้นได เพราะอาศัยตัณหา ความทะยานอยาก 3 ประการ คืออยากมีในสิ่งที่ไมเคยมี อยากเปนในสิ่งที่ไมเคยเปน อยากปฏิเสธในเมื่อความสลายตัวเกิดขึ้น ไมอยากใหสลายตัว เจาความอยากทั้ง 3 นี้แหละเปนผูสรางความทุกขขึ้นมา ทุกขนี้จะสิ้นไปได ก็เพราะเขาถึงจุดของความดับ คือนิโรธเสียได จุดดับนั้นทานวางมาตรฐานไว 3 ประการ คือ ศีล สมาธิ ปญญา ที่ทานเรียกวามรรค 8 ยอมรรค 8 ลงเหลือ 3 คือ ศีล สมาธิ ปญญานี้ เพราะอาศัยศีลบริบูรณ สมาธิเปนฌาน ปญญารูเทาทันสภาวะความเปนจริง หมดความเมาในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และดับอารมณพอใจ ไมพอใจเสียได ตัดอารมณพอใจใน โลกียวิสัยได ตัดความกําหนัดยินดีเสียได ดวยปญญาวิปสสนาญาณ ชื่อวาเห็นใน อริยสัจ 4 ทําอยางนี้ คิดอยางนี้ใหคลอง จนจิตครอบงําความรัก ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความเมาในชีวิตเสียได ชื่อวาทานได วิปสสนาญาณ 9 และ อริยสัจ 4 แตอยาเพิ่งพอ หรือคิดวาดีแลว ตองฝกฝนพิจารณาเรื่อยไป จนตัด สังโยชน ทั้ง 10 ประการไดแลว นั่นแหละชื่อวาเอาตัวรอดไดแลว

Page 20: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 246/96 เราเกิดมาเพื่อประสบกับความทุกข คนที่เกิดมาแลวทุกคนจะไมมีทุกขเปนไมมี ถาหากวาเรายังยึดถือวารางกายเปนของเรา ทรัพยสินเปนของเรา ญาติพ่ีนองเพื่อนฝูงเปนของเรา อารมณทุกขมันก็เกิด เกิดเพราะวาเราเกาะ เรียกวา อุปาทาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง โลกธรรมแปดประการ คือ มีลาภดีใจ ลาภสลายตัวไปเสียใจ มียศดีใจ ยศสลายตัวไปเสียใจ มีความสุขในกามดีใจ ความสุขหมดไปรอนใจ ไดรับคํานินทาเดือดรอน ไดรับคําสรรเสริญมีสุข องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาแนะนําใหพวกเราใชอารมณคิดอยูเสมอวา ทุกขนี้เปนกฎธรรมดาของโลก ทุกอยางเราทํางานตามหนาที่

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 247/96 แลวตัวสําคัญที่รายที่สุดที่สรางความทุกข ก็คืออารมณความรักในกามารมณ นี่ตัวสําคัญ เปนตัวสรางเหตุรายใหเกิดขึ้นกับจิต หรือเปนเหตุใหเกิดขึ้นกับจิต หรือเปนเหตุใหเกิดขึ้นกับกาย อาศัยความรักเปนสําคัญ ที่เราจะตองเศราโศกเสียใจ เพราะอาศัยของรักพลัดพรากไป ภัยอันตรายจะเกิดขึ้นกับเรา โทสะ ความพยาบาทมันจะเกิดขึ้น จะตองประทุษรายซึ่งกันและกนั ก็เพราะวาสิ่งที่เรารัก ความรักที่เนื่องดวยกามารมณไมมีสําหรับเราแลว มันจะมีภัยอันตรายมาจากไหน จะมีความเศราโศกเสียใจมาจากไหน ตอนนี้เปนอันวา กิเลสหยาบหมดไป ที่องคสมเด็จพระจอมไตรวา อันนี้เปน อธิจิตสิกขา ก็หมายความวาตองทรงอารมณในดานความรูสึกอยางนี้เปนปกติ มีความเขมแข็งพอที่จะไมทําลายความดีสวนนี้ไปจากจิต มันจะทรงอยูไดทุกขณะจิตที่ชีวิตเราทรงอยูตลอดไป

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 248/97 เหตุของความทุกขจริง ๆ คือ ตัณหาไดแกความทะยานอยาก เมื่อเรามีตัณหาขึ้นแลว รางกายมันจึงมี อารมณจิตเรามีตัณหา มันจึงมีรางกาย รางกายเปนจุดรับภาระของความทุกขทั้งหมด ขึ้นชื่อวาทุกขทุกอยางที่เราจะมีขึ้นมาได ก็อาศัยรางกายเปนสําคัญ ถาเราไมมีรางกาย เราก็หมดตัณหา ถาหมดทั้ง 2 อยาง คือหมดตัณหาก็ชื่อวาหมดรางกาย ถาเราไมติดอยูในรางกายก็ชื่อวาหมดตัณหา คําวาไมติดในรางกายก็หมายถึงวา ไมติดอยูในรางกายของเราดวย และก็ไมติดอยูในรางกายของบุคคลอื่นดวย อารมณไมติดอยูในวัตถุธาตุใดๆ ดวย โดยยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ที่เราเรียกกันวา วิปสสนาญาณตัวสุดทายการยอมรับนับถือนี้ก็หมายถึงวาอารมณมันเฉย คําวาอารมณเฉย ไมไดหมายความวา อารมณไมคิด ตามที่เขาบอกวาอารมณวาง วางโดยไมคิดอะไรเลยนั้น ไมมีในชีวิตของคน

Page 21: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 249/97 อริยสัจ เขาสอน 2 อยางเทานั้น สําหรับอีกสองอยางไมมีใครเขาสอนหรอก อยาง นิโรธะ แปลวาดับ อันนี้มันตัวผล ไมตองสอน มันถึงเอง มรรค คือปฏิปทา เขาถึงความดับทุกข มันก็ทรงอยูแลว คือ ศีล สมาธิ ปญญา นี่ อริยสัจ เขาตัดสองตัว คือ ทุกข กับ สมุทัย นี่เทานั้น

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 250/98

สังโยชน 10

สังโยชนทั้ง 10 ขอนี้ ถาทานพิจารณาวิปสสนาญาณแลว จิตคอย ๆ ปลดอารมณที่ยึดถือไดครบ 10 อยาง โดยไมกําเริบอีกแลว ทานวาทานผูนั้นบรรลุอรหัตผล เครื่องวัดอารมณที่พระพุทธเจาตรัสจํากัดไวอยางนี้ ขอนักปฏิบัติจงศึกษาไว แลวพิจารณาไปตามแบบทานสอน เอาอารมณมาเปรียบกับ สังโยชน 10 ทางที่ดีควรคิดเอาชนะกิเลสคราวละขอ เอาชนะใหเด็ดขาด แลวคอยเลื่อนเขาไปทีละขอ ขอตน ๆ ถาเอาชนะไมได ก็อยาเพิ่งเลื่อนเขาไปหาขออ่ืน ทําอยางนี้ไดผลเร็ว เพราะขอตนหมอบแลว ขอตอไปไมยากเลย จะชนะหรือไมชนะก็ขอตน นี่แหละ เพราะเปนของใหม และมีกําลังครบถวนที่จะตอตานเรา ถาดานหนาแตก ดานตอไปงายเกินคิด ขอใหขอคิดไวเพียงเทานี้

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 252/99 สักกายทิฏฐิ ตามแบบทานอธิบายไวในหลักสูตร นักธรรมชั้นโท เปนคําอธิบายถึงอารมณพระอรหันต ถาจะปฏิบัติกันตามลําดับแลวตองใชอารมณตามลําดับคือใชอารมณ ขั้นตน ขั้นกลาง และขั้นสูงสุด อารมณขั้นตนนั้น ใหใชอารมณแบบเบา ๆ คือ มีความรูสึกตามธรรมดาวา ชีวิตนี้ตองตาย ไมมีใครเลยในโลกนี้ที่จะทรงชีวิตไดตลอดกาลไปคูกับฟาดิน ในที่สุดก็ตองตายเหมือนกันหมด แตทานใหใชอารมณใหสั้นเขา คือมีความรูสึกไวเสมอวา ความตายไมใชจะมาถึงเราในวันพรุงนี้ ใหคิดวา เราอาจจะตายวันนี้ไวเสมอ จะไดไมประมาทในชีวิต อารมณขั้นกลาง ทานใหทําความรูสึกเปนปกติวารางกายของคนและสัตว ตลอดจนวัตถุทุกชนิดเปนของสกปรกทั้งหมด รางกายคนและสัตวมีสิ่งที่นารังเกียจฝงอยูก็คือ อุจจาระ ปสสาวะ น้ําเลือด น้ําเหลือง น้ําหนอง เปนตน เมื่อมีความรูสึกตามนี้ ก็พยายามทํา

Page 22: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

อารมณใหทรงตัวจนเกิดความเบื่อหนายในรางกายทั้งหมด ไมยึดถือวารางกายใด เปนที่นารักนาปรารถนา อารมณสูงสุด มีความรูสึกตามนี้ คือมีความรูสึกวารางกายนี้ ไมใชเรา ไมใชของเรา เราไมมีในรางกาย และรางกายไมมีในเรา มีอาการวางเฉยในรางกายทุกประเภทเปนอารมณของพระอรหันต

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 255/100 การที่จะเปนพระอริยเจาของทุก ๆ คน อยูใน สังโยชน ขอที่ 1 เทานั้น คือมาพิจารณาเห็นวา สภาพรางกาย ที่เรียกกันวา ขันธ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เอารางกายก็แลวกัน เห็นวารางกายนี้ ไมใชเรา ไมใชของเรา เราไมมีในรางกาย รางกายไมมีในเรา เทานี้พอ พยายามมองเห็นมันใหได ถาใจมันกระสับกระสายไมมั่นคง จิตจับกสิณ พอมีกสิณ มีทรงตัวดี แลวก็กลับมาคิดกันใหม จนกระทั่งกําลังใจเห็นรางกายของเราก็ดี รางกายของบุคคลอื่นก็ดี วัตถุธาตุทั้งหลายก็ดี ไมเปนสาระ ไมเปนแกนสาร จิตใจมีความรักพระนิพพานเปนอารมณ ไมสงสัยในคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา มีศีลบริสุทธิ์ จิตหมดจากความกําหนัดยินดี ในเพศตรงกันขาม อารมณจะโกรธ ชาวบานจะเมิน คิดจะฆาใครไมมี อารมณที่จะหลงในรูปฌาน และอรูปฌานก็ไมมี การถือเนื้อถือตัววาเราดีกวาเขา เราเสมอเขา เราเลวกวาเขาก็ไมมี อารมณจิตเปนสุข อารมณที่ซานคิดวาการเปนเทวดาหรือพรหมยังดีอยูไมมี จิตรักพระนิพพานเปนอารมณ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 256/101 คําวา วิจิกิจฉา นี่แปลวา สงสัย คือสงสัยในความดีของพระพุทธเจา สงสัยในความดีของพระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา สงสัยในความดีของพระอริยสงฆ มีพระอรหันต เปนตน สงสัยวาพระพุทธเจานะมีจริงหรือไมจริง ถามีจริง ๆ พระพุทธเจานะดีไหม คําสอนของพระองคดีจริง ๆ หรือเปลา นี่สงสัยคําสอน นี่สงสัยพระธรรมเลย แลวสงสัยวาพระอริยสงฆในพระพุทธศาสนานี่มีหรือไมมี หนักๆ เขาก็เลยคิดวาไมมี เพราะตัวสงสัย พระพุทธเจาจริงๆ ก็ไมมี พระไตรปฏกที่มีอยูอานกันอยู ก็เปนพระไตรปฏกโกหกมดเท็จ ใครเขียนขึ้นมาก็ไมรู ก็เขียนแบบโกหกขึ้นมาวาโลกนั้นมี โลกนี้มี ระลึกชาติไมได จิปาถะกันไป เลยสงสัยพระสงฆในพระพุทธศาสนาที่เขาบอกวาพระสงฆนะเปนพระสงฆจริงๆ หรือวาเปนตัวเบียดเบียนประชาชน ทําใหสังคมมีความทุกข มีความเรารอน เพราะพระไมเห็นจะทําอะไร ไดแตบิณฑบาต แลวก็กิน กินแลวก็นอน นอนแลวก็บิณฑบาตแลวก็บอกบุญบาง ขอ

Page 23: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

บุญบางเรี่ยไรกันบาง จิปาถะ มีแตพูดไปพูดมาแลวก็พูดไปไมเห็นมีอะไรใหเกิดประโยชน นี่ไมสงสัยนะ เลยไมเชื่อเสียเลย ลักษณะอยางนี้เปน สังโยชน ขอที่ 2 ที่ทําใหคนเราตองลงอบายภูมิ ขอยืนยันวาถามีอารมณอยางนี้ตองลงอบายภูมิเปนสัตวนรก เปนเปรต เปนอสุรกาย เปนสัตวดิรัจฉาน แนนอน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 257/101 แลวก็ สังโยชน ขอที่ 2 วิจิกิจฉา ความสงสัยในคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา จงอยามีในใจ ใชปญญาพิจารณานิดเดียว เราจะเขาใจวา พระพุทธเจาพูดถูก พูดจริงทุกอยาง ยอมรับนับถือคําสอนของพระองค ขอ 3 สีลัพพตปรามาส คือ ลูบคลําศีล รักษาศีลไมจริงไมจัง หลอกชาวบานในผากาสาวพัสตร ประเภทอยางนี้อยามีในเรา จงเปนผูทรงศีลพรต กําหนดใหแนนอนชัด ปฏิบัติใหครบถวน ถาปฏิบัติครบทั้ง 3 ประการ คือ

1. มีความรูสึกวารางกายนี้มันจะตองตาย 2. ไมสงสัยในคําสอน ขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พรอมยอมรับปฏิบัติ

ตาม และก็ 3. รักษาศีลครบถวนทุกประการโดยเครงครัด

อยางนี้องคสมเด็จพระผูทรงสวัสดิโสภาคยตรัสวาทานผูนั้นเปนพระโสดาบัน และ พระสกิทาคาม ี

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 258/102 1. ตื่นขึ้นแตเชามืด มีความรูสึกประจําอารมณวาเราอาจจะตายวันนี้ก็ได เราตองรวบ

รัดปฏิบัติเฉพาะความดี ทําตนหนีความชั่ว คือ 2. พิจารณาความดีของ พระพุทธเจา พระธรรม คําสั่งสอนของพระพุทธเจา พระ

อริยสงฆ สาวกของพระพุทธเจา ดวยปญญา พิจารณาดูวาทานดีพอที่เราจะยอมรับนับถือไหม ถามีปญญาพิจารณาแลววาดีพอที่จะยอมรับนับถือได ก็ตัดสินใจยอมรับนับถือดวยความจริงใจ และปฏิบัติตามคําแนะนําของทาน สิ่งใดที่ทานใหเราละ เราไมทํา สิ่งใดที่ทานแนะนําใหทํา เราทําตามดวยความเต็มใจ

Page 24: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

3. พยายามรักษาศีลใหบริสุทธิ์ สําหรับฆราวาส ก็มีศีล 5 เปนหลักที่จะปฏิบัติ เฉพาะพระและเณรเปนนักบวชอยูแลว คิดวาคงมีอารมณความดี ตัด สังโยชน 3 ไดเปนอยางนอย

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 261/103 ตอไปก็กําจัด กามฉันทะ คือมีความพอใจในกามคุณ คือ รูปสวย เสียงเพราะ กลิ่นหอม รสอรอย สัมผัส ระหวางเพศ รูตามความเปนจริงวา รางกายเต็มไปดวยความสกปรก เรื่องอะไรที่จะตองการในรางกายของเรา รางกายของบุคคลอื่น สิ่งโสโครกทั้งหลายเหลานี้เราไมตองการ และกําจัด ปฏิฆะ คือ การกระทบกระทั่งความไมพอใจออกจากจิต มีความเมตตา กรุณา เขามาแทน แมจิตใจมีความเบื่อหนายในรางกายเปนที่สุดอยางนี้ พระพุทธเจาตรัสวา เปนอารมณของ พระอนาคามี

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 262/103 ถาเราจะตัดความโงใหหมดก็ใหใครครวญหาความจริงวา รูปฌาน ก็ดี อรูปฌาน ก็ดี ทั้งสองประการนี้เปนแตเพียงบันไดกาวเขาไปสูพระนิพพานเทานั้น ไมใชอารมณที่เขาถึงพระนิพพาน ไมมัวเมาใน รูปฌาน และ อรูปฌาน แตจะรักษาไวเพื่อประโยชนแกจิตใจ แลวใชปญญาพิจารณา ขันธ 5 วามันไมใชเรา ไมใชของเรา เราไมมีใน ขันธ 5 ขนัธ 5 ไมมีในเรา ขันธ 5 มีแตความทุกข มีการสลายตัวไปในที่สุด ในเมื่อ ขันธ 5 ไมทรงตัวแบบนี้แลว มานะ การถือตัวถือตนเราจะไปนั่งถือตัววาเราดีกวาเขา เราเสมอเขา เราเลวกวาเขาเพื่อประโยชนอะไร วางอารมณแหงการถือตัวถือตนเสีย มีเมตตาบารมีเปนที่ตั้ง การจะตัด อารมณฟุงซาน นี้ก็ไปตัดที่ สักกายทิฏฐิ พิจารณารางกายวาในเมื่อรางกายจะพังแลว อะไรในโลกนี้มันเปนของเราอีก มันก็หาไมได เมื่อเหลือ อวิชชา ไดแก ฉันทะ กับ ราคะ ก็มาพิจารณาหาความจริงวา ขึ้นชื่อวาการเกิดเปนมนุษยก็ดี เทวดาก็ดี พรหมก็ดี ยอมไมเปนที่ปรารถนาของเรา เราตองการอยางเดียวคือพระนิพพาน มีอารมณจับพระนิพพานเปนอารมณ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 263/103 หลังจากนั้น ทําปญญาใหดี พิจารณาใหเห็นวา รูปราคะ รูปฌาน ก็ดี อรูปราคะ

อรูปฌาน ก็ดี ตองทรงอารมณเอาไว แตเราจะไมติดอยูแค รูปฌาน และ อรูปฌาน เราจะกาวตอไปเพื่อนิพพาน ในการตัดกิเลสใหเปนสมุจเฉทปหาน ตัด มานะ ความถือตัวถือตนออกจากใจ ทําใจเสมอกัน ตัด อุทธัจจะ คืออารมณฟุงซาน คิดวานิพพานเราไมตองการตัดทิ้งไป

Page 25: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

แตตอนนี้ไมตองตัดก็ไดนี่ ถึงอนาคามีแลวเขาก็สบายมาก ตอนนี้ไมตัดแน ทานพูดไวก็พูดตามทาน ตั้งกําลังใจไวเฉพาะพระนิพพานแนวแน ตัด อวิชชา ความระยําของจิตที่คิดวามนุษยโลก เทวโลก เปนของดีตัดออกไปจากใจ กําลังใจตั้งใจอยางเดียวคือพระนิพพาน และทําใจของทุกทานใหตั้งอยูใน สังขารุเปกขาญาน คือ ไมเมาในรางกาย วางเฉย รางกายมันจะแกเชิญแก ตามสบายของมัน ใจไมดิ้นรน ไมทุกข รางกายมันจะปวยเชิญปวยไป ตามเรื่องของมัน ใจไมดิ้นรน ไมทุกข รางกายมันจะตายก็เชิญตาย ฉันไมไดตายดวย ชวยใหฉันมีความสุข อยางนี้เปนอารมณของพระอรหันต

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 264/104 การถือตัวถือตน วาเราเสมอเขาก็ดี เราดีกวาเขาก็ดี เราเลวกวาเขาก็ดี เปนปจจัยของความทุกข ทีนี้เราจะวางใจอยางไรถึงจะสบาย อาการที่เราจะวางใจในตอนนี้ ก็วางใจแตเพียงวา ชราป ทุกขา ความแกเปนทุกข มรณัมป ทุกขัง ความตายเปนทุกข โสกะปริเทวะทุกขะ โทมะนัส อุปายาส ความเศราโศกเสียใจเปนทุกข ทุกขมาจากไหนทุกขมาจาก การเกิด แลวการเกิดนี่มันมาจากไหน การเกิดมาจาก กิเลส ตัณหา อุปาทาน อกุศลกรรม เปนอันวา วางใจเปนกลาง ใครจะดีใครจะชั่วอยางไรก็ชาง เราทําใจไวเสมอ เห็นคนใดเขาดี ก็ยินดีกับเขา เห็นคนใดเขามีความสม่ําเสมอกับเราโดยธรรมเราก็พอใจ เห็นใครเขาเลวกวาเรา เราก็แสดงธรรมสังเวชวาเขาไมนาจะประมาทในชีวิต ควรจะคิดปรับปรุงตัว ควรจะคิดปรับปรุงใจใหมีความดี เปนอันวาเราจะไมเหยียดหยามใคร เราจะไมตีเสมอใครเราจะไมขมขูใคร รักษากําลังใจของเราใหเปนสุข

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 265/104 การที่คิดวาเราเสมอกับเขา มันเปนตัวทะเยอทะยาน การที่คิดวาเราดีกวาเขาเปนการขมขู คิดทะนงตนวาตนเปนใหญ ถาคิดวาเราเสมอเขา มันก็เสียอีก เพราะบางคนเขามีจริยาเลว เราคิดวาเรากับเขาเสมอกัน ก็ตองพยายามเลวตามเขา ความเลวมันเปนปจจัยของความทุกข ไมใชปจจัยของความสุข ถาหากเขาดีกวาเรา เราดีไมเทาเขา แตเราคิดวาเราดีเทาเขา ก็เกิดความประมาท คิดวาเราดีแลว ก็เปนการทําลายความดีที่เราจะพึงแสวงหาตอไป ถาเราคิดวาเราเลวกวาเขา ตอนนี้ก็เปนการทําลายความดีของตนเอง จิตใจมันก็มีความสุขไมได เปนอันวาการถือตัวถือตนวาเราเสมอเขาก็ดี เราดีกวาเขาก็ดี เราเลวกวาเขาก็ดี เปนปจจัยของความทุกข

Page 26: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 266/105 อยามองคนดวยฐานะ อยามองคนดวยศักดิ์ศรี อยามองคนดวยความรู ความสามารถ มองคนแตเพียงวาสภาพของเขาเปนวัตถุเหมือนสภาพของเรา จิตใจของเราพรอมในการเมตตาปรานี ไมถือตน เขาจะมาในฐานะเชนใดก็ชาง ถือวาเปนเพื่อนเกิด แก เจ็บ ตาย เหมือนกันหมด การกําหนดอารมณอยางนี้ เราก็สามารถจะกําจัดตัว มานะ การถือตัวถือตนเสียได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 267/105 อวิชชา ทานหมายเอา อุปาทาน คือ ความยึดมั่นถือมั่น ไมรูตามความเปนจริง และ อุปาทาน นี้มีคําจํากัดอยู 2 คํา คือ ฉันทะ และ ราคะ ทานหมายเอาวา อุปาทาน นี้ก็ไดแก ฉันทะ ความหลงไหลใฝฝนในโลกามิสทั้งหมด มีความปรารถนา มีความพอใจในสมบัติของโลก โดยมิไดคิดวาสมบัติของโลกนี้ มันมีอันที่จะตองสลายฉิบหายไปในที่สุด ราคะ มีความกําหนัดยินดีในสมบัติของโลกดวยอารมณใครในกิเลส ฉะนั้นการกําจัด อวิชชา หรือ อุปาทาน ทานก็ใหพิจารณาเห็นวา สมบัติของโลกไมมีอะไรเปนเราเปนของเรา เราไมมีในสมบัติของโลก สมบัติของโลกไมมีในเรา จนมีอารมณไมยึดถืออะไร เปนอารมณมีอยู ก็เปนเสมือนไมมี จิตไมผูกพันเกินพอดี มีใชก็ใช เมื่อมันอันตรธานไป ก็ไมเดือดรอน เทานี้พอแลว มีอารมณเหือดแหงในโลกามิส มีจิตชุมชื่นตออารมณในพระนิพพาน เห็นอะไรใจไมของ ไมเศราหมองเดือดรอนในอารมณที่เปนโลกวิสัย มีความสุขใจเปนที่สุด หมดพันธะผูกพันในอารมณตาง ๆ ทั้งสิ้น เทานี้ทานจัดวาหมดภาระหนาที่ ที่จะตองแสวงหาภพเปนที่เกิดตอไป

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 268/105 อวิชชา ทานกลาวไวใน ขันธวรรค ในพระไตรปฏกวาไดแก ความมีฉันทะ กับ ราคะ ฉันทะ มีความพอใจในความเปนมนุษย แลวก็มีความพอใจใน รูปฌาน อรูปฌาน พอใจในการถือตัวถือตน พอใจในอารมณฟุงในดานกุศล ราคะ มีความยินดี เห็นวา รูปฌาน ดี อรูปฌาน ดี การถือตัวถือตนเบงทับคนนั้นบาง เบงทับคนนี้บางเปนของดี แลวก็อารมณฟุง คิดวาเราเปนแคอนาคามีก็พอใจ อยางไรๆ เราเปนเทวดาหรือวาพรหม เราก็มีความสุขแลวเรานิพพานบนนั้น ฉันทะ กับ ราคะ ทั้งสองประการนี้เปนอารมณของ อวิชชา ยังถือวาเปนความโง ยังไมเห็นทุกขละเอียด ความจริงอารมณตอนนี้ก็เขมแข็งพอ คนที่เปนอนาคามีแลวนี่จะมานั่งสอนกันละเอียดละออมันไมเกิดประโยชน เพราะวาเปนคนรูมีจิตสะอาด มี

Page 27: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

อารมณขุนมัวไปบางเล็ก ๆ นอย ๆ เทานั้น เปนอันวาเลิกแลวกันไปเลยวาอารมณใจที่มันยังเนื่องอยูในอวิชชา จะเห็นวาสิ่งทั้งหลายเหลานี้ มันยังไมเขาถึงสุขถึงที่สุดที่เรียกวา เอกันตบรมสุข ก็รวบรวมกําลังใจใช บารมี 10 ประการใหเขาถึงจุดเกณฑประหัตประหารเสียทันที

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 269/106 อวิชชา นี่ พระพุทธเจาทานตรัสไว 2 อยางคือ ฉันทะ กับ ราคะ คนที่มี ฉันทะ คือมีความพอใจในการเกิดเปนมนุษยเกิดเปนเทวดาหรือการเกิดเปนพรหม มี ฉันทะ กิเลส วาไดยังมีการติดอยู แลว ราคะ เห็นวา มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกดี ยังเปนกิเลสเบา ๆ คือไมสามารถจะพนทุกข ฉะนั้นถาจะตัด อวชิชา ใหตัด ฉันทะ กับ ราคะ ในอารมณใจ คิดวา มนุษยโลก พรหมโลก เทวโลก ทั้ง 3 ภพ นี้ ไมเปนที่หมายของเรา คือ เปนแดนของความทุกข เทวโลก พรหมโลก เปนแดนของความสุขชั่วคราว เราไมตองการ ตองการจุดเดียวคือ พระนิพพาน ถาในขณะใดเวลาใดของพุทธบริษัททั้งหลาย ในใจของทานตองการพระนิพพานเปนอารมณ เปน เอกัคคตารมณ กับ อุปสมานุสสติกรรมฐาน ถาเปนพระโสดาบัน แลวใกลจะตายเมื่อไร เปน พระอรหันต เมื่อนั้น ไปนิพพานเมื่อนั้น

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 270/106

*********************

พระโสดาบัน

องคของ พระโสดาบัน คือ 1. เคารพในพระพุทธเจา 2. เคารพในพระธรรม 3. เคารพในพระสงฆ 4. มีศีลบริสุทธิ ์5. มีจิตรักพระนิพพานเปนอารมณ

เทานี้ทํากันไดแลวหรือยัง ถายัง ไปที่ไหนก็ไปเจอะนรกที่นั่น เทานี้ทําไดหรือไมได ถาทําไมได ก็แสดงวาหมดหนทางแกหมดหนทางชวย

Page 28: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 271/108 เพื่อสะดวกแกการพิจารณาตัวเอง ขอบอก องคของพระโสดาบัน ไวเปนคูมือพิจารณาตัวเอง

1. รักษาศีล 5 เปนปกติ ไมทําใหศีลขาดหรือดางพรอยตลอดชีวิต 2. เคารพพระรัตนตรัยอยางเครงครัด ไมกลาวจวงจาบพระธรรมวินัย แมแตจะพูด

เลน ๆ ก็ไมพูด 3. มีอารมณรักใครในพระนิพพานเปนปกติ ไมมีความปรารถนาอยางอื่น นอกจาก

พระนิพพาน พระโสดาบัน ตามปกติ มีอารมณสามประการดังกลาวมานี้ ถาทานไดทานเปน พระโสดาบัน ทานก็จะเห็นวาอาการที่กลาวมานี้เปนความรูสึกธรรมดาไมหนัก แตถาอารมณอะไรตอนใดในสามอยางนี้ ยังมีความหนักอยูบางก็อยาเพอคิดวาทานเปน พระโสดาบัน เสียกอนสําเร็จ จะเปนผลรายแกตัวทานเอง ตองไดจริงถึงจริง แมไดแลวถึงแลวก็ควรกาวตอไปอยาหยุดยั้งเพียงนี้ เพราะมรรคผลเบื้องสูงยงัมีตอไปอีก

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 273/108 อันดับแรก ทรงศีลใหบริสุทธิ์ เมื่อทรงศีลใหบริสุทธิ์จริงๆ ศีลเปนเอกัคตารมณ ถาศีลจะทรงบริสุทธิ์ เพราะอาศัยความเคารพในพระพุทธเจา พระธรรม และพระอริยสงฆ อันนี้เราก็เปน พระโสดาบัน เขาถึงกระกระแสพระนิพพานแลว

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 274/109 การที่จะเปนพระโสดาบันมีกฎบังคับวา ถาอารมณจิตต่ํากวาปฐมฌานจะเปนพระโสดาบันไมได หรือวาจะเปนพระอริยเจาไมได อยางเลวที่สุดจิตตองทรงอยูใน ปฐมฌาน เปนปกติ และอยางดีที่สุดจิตก็จะทรงอยูในฌาน 4 เปนปกติ แต ฌาน 4 นี่ปกติไมได ปกตินี่ หมายความวา ถึงเวลาที่เราจะใชในยามปกติธรรมดาเราพูด เราคุย เราทํางาน จิตตองอยูใน ปฐมฌาน เปนปกต ิ แลวอารมณ ปฐมฌาน เปนอยางไร อารมณ ปฐมฌาน ก็คือวา เมื่อกิจการงานอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้นสําหรับเรา อารมณนี้จะคุมอยูใน อนุสสติ ทั้งหกตลอดเวลา เราจะไมลืมพระพุทธเจา เราจะไมลืม พระธรรม เราจะไมลืมพระสงฆ เราจะไมลืมศีล เราจะไมลืมพระนิพพาน เราจะไมลืมนึกถึงความตาย นี่ถาทุกคนมีอารมณอยางนี้ มันจะมีบางไหมที่จะสรางความเดือดรอนใหกับบุคคลอ่ืน จะไปยุงกับจริยาของบุคคลอื่น จะไปยุงกับอาการของบุคคลอื่น จะไปติโนนติงนี่ วา

Page 29: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

คนนั้น ดาคนนี้ เสียดสีคนโนน เสียดสีคนนี้ มันจะมีไหม แลวมีการทะนงตน มันจะมีไหม ไมมีสําหรับคนดีประเภทนี้

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 275/109 ความจริง พระโสดาบัน ไมใชของสูง เปนของธรรมดา ที่เรียกกันวา ชาวบานชั้นดี ทานพระอริยะเบื้องสูงทานกลาววา ธรรมที่จะทําใหคนเปน พระโสดาบัน เหมือนกับของเด็กเลน คือเปนของทํางาย ๆ มี พรหมวิหาร 4 ประจําใจ เราก็เปนพระโสดาบันไดแบบสบายถาเรามีความฉลาด แตถาหากวาเราโง ปลอยใหจิตเปนทาสของกิเลส ยังมีอารมณอิจฉาริษยาบุคคลอื่น อยากจะพิฆาตเชนฆาทําลายบุคคลอื่น ใหมีความทุกข ขาดความเมตตาปรานี มีอารมณอิจฉา มีอารมณหว่ันไหวในกฎของกรรมอันเปนสิ่งธรรมดา อันไมสามารถจะหลีกเลี่ยงได อยางนี้ปวยการจะกลาวไปไยถึงพระโสดาบัน แมแตเราจะเปนคนก็ยังเปนไมได เพราะจิตเปนวิสัยของอบายภูมิ คือเปนวิสัยของสัตวนรก เปนวิสัยของเปรต เปนวิสัยของอสุรกาย เปนวิสัยของสัตวเดรัจฉาน ฉะนั้น อารมณประเภทนี้ขอบรรดาทานพุทธบริษัททุกทาน ทั้งภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา จงเวนเสีย ทรง พรหมวิหาร 4 ใหเปนปกติ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 277/109 อารมณหรือการปฏิบัติตนหนีนรก จนนรกตามไมทันตอไปทุกชาตินั้น มีอารมณโดยยอดังนี้

1. มีความรูสึกวาชีวิตนี้ตองตายแน 2. ยอมรับนับถือพระพุทธเจา พระธรรม พระอริยสงฆสาวกของพระพุทธเจา 3. ฆราวาสมีศีล 5 ทรงอารมณเปนปกติ

ทั้ง 3 ประการนี้ เปนอารมณในขณะที่ปฏิบัติ เมื่ออารมณทรงตัวแลว อารมณที่ปกหลักมั่นคงอยูกับใจจริง ๆ ก็เหลือเพยีงสอง ที่ทานเรียกวา องค ก็คือ

1. ยอมรับนับถือพระพุทธเจา พระธรรม พรอริยสงฆ สาวกของพระพุทธเจามั่นคงจริง

2. มีศีล 5 บริสุทธิ์ผุดผองจริง เพียงเทานี้ นรกก็ดี เปรต อสุรกาย สัตวเดรัจฉานเราผานได ไมตองไปอยูหรือเกิดในเขตนี้อีกตอไป ถาจะถามวา บาปกรรมที่ทําแลวไปอยูที่ไหน ก็ตองตอบวายังอยูครบ แต

Page 30: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

เอื้อมมือมาฉุดกระชากลากลงไมถึง เพราะกําลังบุญเพียงเทานี้ มีกําลังสูงกวาบาป บาปหมดโอกาสที่จะลงโทษตอไป

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 278/110 ทานที่เขาถึงความเปนพระโสดาบัน หรือกําลังจะเขาถึงความเปนพระโสดาบัน จะตองทรง พรหมวิหาร 4 ตามปกติ เมื่อทรง พรหมวิหาร 4 แลวก็เปนปจจัยใหศีลบริสุทธิ์ดวย ทรง พรหมวิหาร 4 เปนปจจัยระงับ โทสะ และ พยาบาท ทําใหโทสะ และ พยาบาท คลายตัว แลวก็ พรหมวิหาร 4 เปนปจจัยใหคนใจดี พอใจในการใหทาน แลวก็ทานตัวนี้เปนปจจัยตัด โลภะ คือความโลภ คือปรารถนาในการยื้อแยงเขา พอใจในการหาไดดวย สัมมาอาชีวะ ฉะนั้น ขอบรรดาทานพระโยคาวจรทั้งหลายจงปรับกําลังใจของทานใหดีตามนี้ การเขาสูความเปน พระโสดาบัน จะเปนของไมยาก ไมมีอะไรลําบาก ที่บรรดาทานพุทธบริษัทจะตองหนักใจ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 282/111 ความเปนพระโสดาบันนี้มีความสําคัญอยูที่ศีล ถาหากวาทุกทานมีศีลบริสุทธิ์ ก็ไมตองกลาวยอนไปถึงการเคารพในพระรัตนตรัย ทั้งนี้เพราะวาศีลมาจากพระรัตนตรัยทั้ง 3 ประการ การที่เปนผูมีศีลบริสุทธิ์ ก็แสดงวาเปนผูเขาถึงพระรัตนตรัยอยูแลว ฉะนั้นศีลของทานทั้งหลายจึงบริสุทธิ์ ศีลจะบริสุทธิ์ไดตองอาศัย เมตตา กับ กรุณา เปนสําคัญ และยังมีเพื่อนอีกสอง เปนฝายสนับสนุน นั่นก็คือ มุทิตา กับ อุเบกขา

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 283/112 พระโสดาบัน ไมสงสัยในคําสั่งและคําสอน ขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา คําสั่งก็ไดแก ศีล คําสอนก็ไดแก จริยาอันหนึ่งที่เราเรียกกันวา ธรรมะ เปนความประพฤติดีประพฤติชอบ ศีล พระพุทธเจาสั่งใหละตามสิกขาบทที่กําหนด ธรรมะคําสอนทรงแนะนําวา จงอยาทําอยางนี้จะมีความสุข ทั้งคําสั่งก็ดี ทั้งคําสอนก็ดี พระโสดาบัน มีความเชื่อมั่นในคุณพระรัตนตรัย

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 284/112 พระโสดาบัน มีปญญาเพียงเล็กนอย รูแคตายเทานั้น ยังไมสามารถจะจําแนกรางกาย วาไมใชเราไมใชของเราได พระโสดาบัน ยังมีความรูสึกวา รางกายเปนเรา เปนของเรา ทรัพยสินทั้งหลายยังเปนเรา เปนของเรา แตทวามีความรูสึกวา สิ่งทั้งหลายที่เปนของเรานี้

Page 31: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ทั้งหมดเมื่อตายแลว เราก็ไมมีสิทธิที่จะเขามาครอบครอง หรือถาวาเรายังไมตาย สักวันหนึ่งขางหนา มันก็ตองสลายตัวไป

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 285/112 จิตใจของทานที่มีอารมณถึง โคตรภูญาณ ใจมีความตองการอยางเดียวคือ พระนิพพานเปนปกติ แตทวาพอจิตพน โคตรภูญาณ ไปแลว ถาเขาสูความเปน พระโสดาบัน เต็มที่ ที่เรียกวา โสดาปตติผล ตอนนี้อารมณจิตของทานละเอียดขึ้นมานิดหนึ่ง นอกจากจะรักพระนิพพานเปนอารมณแลว ก็มีความรูสึกวาทุกสิ่งทุกอยางในโลก มันเปนของธรรมดา การนินทาวารายที่จะปรากฏขึ้นกับบุคคลผูใดกลาวถึงเรา จิตตัวนี้จะมีความรูสึกวาธรรมดาของคนที่เกิดมาในโลกมันเปนอยางนี้ ความปวยไขไมสบายเกิดขึ้น การพลัดพรากจากของรักของชอบใจเกิดขึ้น มีความรูสึกหนักไปในดานของธรรมดา แตทวาธรรมดาของ พระโสดาบัน ยังออนกวาธรรมดาของพระอรหันตมาก ฉะนั้นทานที่เขาถึงความเปน พระโสดาบัน จึงยังมีความรักในระหวางเพศ ยังมีการแตงงาน ยังมีความอยากรวย ยังมีความโกรธ ยังมีความหลง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 288/113

พระอนาคามี

พระอนาคามี ตองมีอารมณจิตเขมแข็ง พระพุทธเจากลาวเปน อธิจิตสิกขา คือมีอารมณจิตเขมแข็งมาก ไมใชออนแอ คือวาอารมณจิตของเราทรงอยูใน กายคตานุสสติกรรมฐาน กับ อสุภกรรมฐาน เห็น คน สัตว วัตถุ มีสภาพสกปรกทั้งหมด ไมมีอะไรนารัก นอกจากสกปรกแลว อัตภาพรางกายนี้เปนปจจัยของความทุกข ไมมีการทรงตัว เปนเรือนรางที่จิตจะเขาอาศัยชั่วคราวเทานั้น มันทําลายตัวมันอยูตลอดเวลา ไมชามันก็สลายตัว เราตัดความมัวเมาในเพศเสียใหหมด ไมมีความรูสึกในเพศ อันนี้มีในจิตของเราแลวหรือยัง เรายังบกพรองขอไหน ประการที่สอง เราตัด ปฏิฆะ คําวา ปฏิฆะ นี่คืออารมณเขามากระทบจิต ไมใชความโลภ ไมใชความโกรธ ความพยาบาท ปฏิฆะ ยังไมทันจะโกรธ ยังไมทันจะ

Page 32: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

พยาบาท พอวาจาเขาเขามาปะทะจิต อาการกายเขาแสดงเขามาปะทะจิต แสดงถึงความเปนศัตรู หรือกลั่นแกลงเรา เราไมยอมรับอารมณนั้นทันที ถือวาเปนเรื่องธรรมดาของชาวโลก

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 290/115 ตอไปใหทรงสมาธิ อารมณตั้งมั่น คิดวาตายแนหนอ ญาติมิตรไมอยู ความรักในเพศไมมีความหมาย ความโกรธไมมีความหมาย ตั้งใจไวใน พรหมวิหาร 4 เอา กายคตานุสสติ กับ มรณานุสสติ ทั้ง 2 ประการนี้บวกกัน เห็นวามันไมใชดินแดนที่เราจะทรงการตั้งมั่น ไมใชสถานที่ยึดมั่นได ไมชาก็ตาย จนกระทั่งกําลังใจของเรา หมดจากความรักในระหวางเพศ หมดจากความโกรธแลว กายคตานุสสติ นี่มันสรางความรังเกียจในรางกาย จนกระทั่งจิตใจเห็นคนทั้งหลาย สัตวทั้งหลายเหมือนกับซากศพ เมื่อพบกับอารมณที่เราไมถูกใจ ใหอภัยไมถือโทษโกรธเขา ถือวาเปนเรื่องธรรมดาของคนมีกิเลส อันนี้องคสมเด็จพระบรมโลกเชษฐ ถือวา ทานผูนี้เปน พระอนาคามี

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 291/115 พระอนาคามี มีสิ่งที่เพิ่มสําคัญที่สุดในดานสมถภาวนา สําหรับวิปสสนาภาวนาตองเปนไปตามปกติ คือตองพิจารณาขันธ 5 วาไมใชเรา ไมใชของเรา ทุกสิ่งทุกอยางในโลกมันก็ไมใชเรา ไมใชของเรา ตัวนี้มีกําลังทรงตัวมากขึ้น อารมณที่เพิ่มเขามาพิจารณาอีก นั่นก็คือ กายคตานุสสติ กับ อสุภกรรมฐาน ตอนนี้ตองมีอารมณทรงตัวทรงตัวมากขึ้นกวา พระสกิทาคามี เพราะเปนการตัด กามราคะ ใหเด็ดขาด ควบกับวิปสสนาญาณ แลวก็ใช พรหมวิหาร 4 และ กสิณ 4 (วัณณกสิณ) เครงครัดยิ่งขึ้น คําวา เครงนี้ไมใชวา นั่งหลับตาทั้งวันทั้งคืน อยางนี้ใชไมได หลับตาทั้งคืนทั้งวันนี่ใชไมได ตองอารมณปกติมันมีความรูสึกอยู คืออารมณปกติของกายเห็นวารางกายสกปรก มันเปนชิ้นเปนทอน เหมือนกับสวมเดินได แลวก็การโกรธกัน การพยาบาทกันไมมีประโยชนอะไร คนเต็มไปดวยความทุกขมันตองแก ตองเจ็บ ตองตายอยูแลว

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 292/115 สําหรับ กายคตานุสสติ และ อสุภกรรมฐาน นี่สําหรับ พระอนาคามี ตองพิจารณาควบคูกันไปกับ สักกายทิฏฐิ พิจารณาใหจิตทรงตัว ไมใชวาจะไปนั่งหลับตาเปงนะ กลางวัน กลางคืน ตื่นอยู หลับอยู หลับตาอยู ทําใหจิตเสมอกัน เห็นสภาพตามความเปนจริง มองเห็นคนปบ ใหเห็นทะลุเขาไปถึงภายในเลย จิตนึกถึงเขาไปภายในวาคนทุกคนเต็มไปดวยความสกปรก และคนทุกคนเต็มไปดวยความทุกข คนทุกคนหาความสุขไมได ทุกขเพราะ

Page 33: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ความหนาว ความรอน ความหิว ความกระหาย การปวยไขไมสบาย การทรุดโทรมของรางกาย มีความปรารถนาไมสมหวัง มีความตายไปในที่สุด ทุกขเพราะประกอบกิจการงานทุกอยาง นี่มันทุกขทั้งหมด มันเปนตัวทุกข นอกจากทุกขแลวมันก็ยังจะมีสกปรกเสียอีก อันนี้เราจะพึงปรารถนาอะไรกับรางกาย ที่เต็มไปดวยความสกปรก รางกายเต็มไปดวยความทุกข รางกายที่หาความเที่ยงแทแนนอนไมได คอยๆ ใชใจพิจารณาวนมาวนไปอยูอยางนี้ พยายามใหเห็นตามความเปนจริงใหได ใหจิตมันรูซึ้งถึงความเปนจริง ไมใชนึกเลนๆ นึกจริงๆ นึกถึงตัวเราทุกวัน เห็นตัวเราแลวเห็นคนอื่นงายกวา

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 293/116 เราจะปกใจไวโดยอยางเดียว คือวา ขันธ 5 มันไมเที่ยง แลวก็จงทําจิตของเราใหเที่ยง คือเที่ยงอยูในอํานาจของ พรหมวิหาร 4 เพียงเทานี้ บรรดาทานพุทธบริษัท จิตใจของทานทั้งหลายก็จะเต็มไปดวยความชื่นบาน มีแตความหรรษา เมื่อจิตเปนเอกัคคตารมณแบบนี้ เราก็เห็นวาสภาวะรางกายนี้ มันไมใชเราไมใชของเรา โลกียวิสัยเปนปจจัยของความทุกข โลกุตตรวิสัย เปนปจจัยของความสุข เราตองการความสุขคือพระนิพพาน ถาพิจารณาอยางนี้บอย ๆ อารมณใจของบรรดาพุทธบริษัททุกทานก็สามารถจะตัด กามฉันทะ คือความรักในเพศเสียไดอยางเด็ดขาด ความรูสึกในเพศจะไมมี และอีกประการหนึ่ง โทสะ ความพยาบาท หรือความกระทบกระแสพระสัทธรรมเทศนาขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา อารมณใจของทานก็จะพนจากความทุกข ดวยอํานาจของความรักและความสงสาร อยางนี้องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงโปรดเรียกวา พระอนาคามิผล

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 294/116

พระนิพพาน

ถาถามวา ถาคนเขาอยากไปนิพพานเปนตัณหาไหมก็เห็นจะ 99 เปอรเซ็นตที่ตอบวา คําวาอยากแปลวาตัณหา ในเมื่ออยากไปนิพพาน ก็แสดงวาเปนตัณหาเหมือนกัน ก็เลยบอกวานี่แกเทศนแลว แกก็เดินลงนรกไปเลยนะ แกเทศนแบบนี้แกเลิกเทศน แลวก็เดินยองไปนรกเลยสบาย ไปเสียคนเดียวกอนดีกวา มาชวนชาวบานเขาไปอีก ถาตองการไปนิพพาน

Page 34: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

เขาเรียกวา ธรรมฉันทะ มีความพอใจในธรรม เปนอาการซึ่งทรงไวซึ่งความดี พวกเราฟงแลวจําไวดวยนะ ถาใครเขาถามจะไดตอบถูก

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 295/118 บรรดานักคิดนักแตงทั้งหลาย ไดพากันโฆษณามาหลายรอยปแลววา พระนิพพานเปนสภาพสูญ แตพอมาอานหนังสือของพระอรหันตทานเขียน คือ หนังสือวิสุทธิมรรค ทานกลับยืนยันวาพระนิพพานไมสูญ ดังทานจะเห็นตามบาลีทั้ง 8 ที่ทานยกมาเปนองคภาวนานั้น คือ มัททนิมมัทโน พระนิพพานตัดความเมาในชีวิต วิปาสวินโย นิพพานบรรเทาความกระหายในกามคุณ 5 อาลยสมุคฆโต พระนิพพานถอนอาลัยในกามคุณ วัฏฏปจเฉโท พระนิพพานตัดวนสามใหขาด ตัณหักขโย พระนิพพานมีตัณหาสิ้นแลว หรือสิ้นตัณหาแลวเขาสูนิพพาน วิราโค มีความเบื่อหนายในตัณหา นิโรโธ ดับตัณหาไดสนิทแลว โดยตัณหาไมกําเริบอีก นิพพานัง มีความดับสนิทแลวจากกิเลส ตัณหาอุปาทาน กรรม อันเปนเหตุใหเกิดอีกใน วัฏสงสาร ความหมายตามบาลี ที่ทานวาไวนี้ ไมไดบอกวาทานที่ถึงพระนิพพานแลวสูญ เพราะความเห็นวาตายแลวสูญ พระพุทธเจาตรัสวา เปนความเห็นผิด เมื่อบาลีทานยันวา นิพพานไมสูญแลว ทานบรรดานักเขียนนักแตงทั้งหลายทานเอามาจากไหนวา นิพพานสูญ อันนี้นาจะเกิดจากความเขาใจผิด อะไรกันสักอยาง เพราะมีพระบาลีบทหนึ่งวา นิพพานัง ปรมัง สุญญัง แปลวา นิพพานเปนธรรมวางอยางยิ่ง ทานอาจจะไปควาเอา ปรมัง สุญญัง โดยเขาใจวา สูญโญเขาให เรื่องถึงไดไปกันใหญ

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 296/118 สําหรับทานที่รักการปฏิบัติจริง เรื่องมรรคผลนิพพาน เปนเรื่องใหญ นิพพานที่เขาใจกันวาสูญนั้นเปนการเขาใจผิดชัดๆ ความจริง นิพพานไมสูญ เปนแดนพิเศษที่เหนือเทวดาและพรหม มีความสวยสดงดงามมากกวาเทวดาและพรหม มีความสุขละเอียดกวา สุขุมกวา ไปไหนมาไหนไดตามสบาย ไมมีสภาพสิ้นซากหรือไรความรูสึก

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 297/119 นิพพาน นิพพะ เขาแปลวา ดับ คือ ดับความชั่ว ไดแก โลภะ ความโลภ โทสะ ความโกรธ โมหะ ความหลง เปนอารมณจิตที่บริสุทธิ์ ไมมีความชั่วเจือปน เขตของพระนิพพานไมมีความตาย ไมมีการปวย ไมมีการเปลี่ยนแปลง ฉะนั้น ถาทานพุทธบริษัทสงสัย

Page 35: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

ก็พยายามฝกมโนมยิทธิ หรือทิพจักขุญาณใหได และทําวิปสสนาญาณไดพอสมควร ทานจะไดรูจักสภาวะของพระนิพพาน ดีกวาอานหนังสือแลวก็เดากัน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 298/119 พระนิพพานมีแดนไหม หรือวาพระนิพพานสูญ สูญหรือไมสูญ มีแดนหรือไมมีแดน ถาเราหรือสาวกขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ก็ไมตองคิด คิดวาธรรมใด ที่องคสมเด็จพระธรรมสามิสรสอนเราในชาตินี้ ที่องคสมเด็จพระชินสีหวา นี่เปนเชื้อของความทุกข มันก็ทุกขจริงๆ อันนี้เปนปจจัยใหเกิดความสุข มันก็สุขจริงๆ อันนี้ของสกปรกโสมมมันไมสะอาด มันก็สกปรกจริงๆ ในเมื่อทุกสิ่งทุกอยางที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาสอนเรา เราพิจารณาเห็นแลววาเปนความจริงทุกอยาง ฉะนั้นแดนที่มีความสุขจริงอยางยิ่ง ไมมีทุกขเจือปน ก็คือแดนพระนิพพาน แดนพระนิพพาน ก็เปนแดนจริงๆ มีความสุขจริงๆ และก็ตองมีจริง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 299/119 ถาอยากจะเห็นพระนิพพาน ตองเจริญวิปสสนาญาณ ใหไดบรรลุพระโสดาบันเปนอยางต่ํา อาศัยญาณที่ไดไวในสมัยโลกียฌาน พอไดมรรคผลเปนพระอริยะ ญาณนี้ก็กลายเปนโลกุตตรญาณ และอาศัยผลที่เปนพระอริยะทานเรียกญาณที่ไดวา วิมุตติญาณทัสสนะ แปลวา หลุดพนจากกิเลสพรอมดวยญาณเปนเครื่องรู เทานี้พระนิพพานก็ปรากฏชัดแกญาณจักษุ พระโสดาบันนี้ไดแตเห็นนิพพานยังอาศัยนิพพานเปนที่พักผอนไมได ถาสําเร็จอรหัตผลแลว ทานก็ไปนอนคางบนนิพพาน อันเปนสถานที่อยูสําหรับตนไดเลย บนนิพพานก็คลายกับพรหม มีวิมานแตวิจิตรมาก รางของทานที่เขานิพพานเปนทิพยละเอียดใสสะอาด ใสคลายแกวประกายพรึก มีรัศมีสวางมากกวาพรหม อยางเทียบกันไมไดเลย มีความสุขที่สุด อยางไมมีอะไรเปรียบ เพราะความรูสึกอยางอื่นไมมี มีแตจิตสงเคราะห

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 300/119 เรื่องของพระนิพพาน นับตั้งแตบัดนี้เปนตนไป หากวาทานไมสามารถสรางทิพจักขุญาณใหปรากฏ แลวก็ไมสามารถจะทําจิตของทานใหเขาถึง โคตรภูญาณ เรื่องของพระนิพพานเย็บปากไวเสียกอนดีกวา เย็บเสียเลยนะ อยางเผยอพูดไปเลย พูดเทาไรผิดเทานั้น เพราะอะไร ฟงมาเยอะแลวฟงมามากแลวที่ทานไมเขาถึงจังหวะแลวพูดถึงพระนิพพาน ไมเห็นมีใครพูดถูกสักราย แมแตเพียงแคเปรตยังพูดไมถูก อสุรกายก็พูดไมถูกแลว ทําไมจะไปพูดเรื่องพระนิพพาน

Page 36: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 301/120 การเปนพระอรหันตไมเห็นยาก คือตัดความพอใจในโลกทั้งสาม มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก ตัดราคะความเห็นวามนุษยโลกสวย เทวโลกสวย พรหมโลกสวย โลกทั้งสามไมมีความหมายสําหรับเรา เราไมตองการ สิ่งที่เราตองการคือพระนิพพาน มีความเยือกเย็นเปนปกติ ไมเห็นอะไรเปนเรา เปนของเรา ทุกสิ่งทุกอยางที่เรากระทบถือวาเปนเรื่องธรรมดา มีขนตกอยูเปนปกติ คือ วาไมมีการสะดุงหวาดหวั่นอันใด

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 302/120 เราตั้งใจไวเฉพาะวา เราตองการพระนิพพานในชาตินี้ มานั่งใครครวญวา มนุษยโลกก็ดี เทวโลกก็ดี พรหมโลกก็ดี เปนดินแดนที่ไมพนความทุกข ความทุกขมันมีกับเราไดทุกขณะจิต เราเปนมนุษยเต็มไปดวยความรอน ความหนาว ความหิว ความกระหาย ความปวด ความเมื่อย ปวยไข มีความไมสบาย มีความตายไปในที่สุด มีกระทบกระทั่งกับอารมณของชาวโลก เรื่องโลกมนุษยไมดี เทวโลกกับพรหมโลกก็พักความดีอยูชั่วคราว ไมมีความหมาย ใจเราตองการอยางเดียวคือพระนิพพาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 303/120 พระอรหันตยอมไมปรากฏเห็นวาอะไรในโลกนี้เปนเราเปนของเรา ไมเห็นวาอะไรในโลกนี้เปนของดี และไมเห็นวาอะไรในโลกนี้เปนของเลว ทั้งนี้เพราะพระอรหันตยอมรับนับถือกฎแหงความเปนจริง วาธรรมดาของโลกนี้เปนอยางนั้น ทุกสิ่งทุกอยางในโลก เปนกฎธรรมดาไปหมด ไมมีอะไรเปนเครื่องสะเทือนใจ พระอรหันตเขาดาก็ไมสะเทือนใจ เขาชมก็ไมสะเทือนใจ อะไรๆ เกิดขึ้นมาทั้งทีก็เปนเรื่องธรรมดา

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 304/120 อรหัตผล นี่เปนของไมยาก ก็ตัด ฉันทะ กับ ราคะ คือไมสนใจกับรางกายของเราดวย ไมสนใจกับรางกายของบุคคลอื่นดวย ไมสนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดวาสิ่งเหลานี้ไมชามันก็สลายตัว ไมมีอะไรดีสําหรับเรา เราไมถือวามันเปนสรณะ เปนที่พึงของเรา และเราก็ไมถือวาทะของบคุคลอื่น ไมถืออารมณของบุคคลอื่น ทําใจใหแชมชื่นอยูอยางเดียววา รางกายไมใชเรา ไมใชของเรา ทรัพยสินในโลกไมใชเรา ไมใชของเรา มันเปนกิเลส ตัณหา อุปาทาน เมื่อพังเมื่อไรพอใจเมื่อนั้น ขึ้นชื่อวาความเกิดมีขันธ 5 รางกายอยางนี้จะไมมีสําหรับเรา ความเปนเทวดาหรือพรหม จะไมมีสําหรับเรา สิ่งที่เราตองการ คือ พระนิพพาน นี่แคนี้เทานั้นแหละ ไมเห็นมีอะไรยาก

Page 37: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 305/121 ขอบรรดาทานพุทธบริษัทชายหญิง มีอารมณจับพระนิพพานเปนอารมณจิตมันก็ไมถอย เมื่อจิตมันไมถอยทําอยางไร ก็มีอยางเดียว การกาวไปสูพระนิพพาน แตวาขอเตือนสักนิด ถาจะทําจิตของเราใหทรงอารมณเปนพระนิพพานจริงๆ ขอบรรดาทานภิกษุ สามเณร และทานพุทธบริษัทชายหญิง จงพยายามทรงอารมณ บารมี 10 ประการ ไวใหครบถวน อันนี้ทิ้งไมได เกาะ บารมี 10 ประการ วาสิ่งไหนบางที่ยังไมมีสําหรับเรา เรายังบกพรองอยาใหบกพรอง และใชกําลังสมาธิควบคุม ใหทรงตัวใหมีกําลัง จรณะ 15 ที่เปนกําแพงกั้น ที่จะไมใหเราตกอยูในภาวะของความชั่วแหงจิต และใช อิทธิบาท 4 เปนเครื่องสนับสนุน ใหเราเขาถึงความสุข ทรงกําลัง 3 ประการใหทรงตัว แลวใครครวญหาความจริงวา รางกายมันเปนโทษมันเปนทุกข มันเปนอนัตตา หาความดีไมได เกิดเปนคน เกิดเปนเทวดา เกิดเปนพรหม ก็ไมพนทุกข จิตยึดพระนิพพานเปนอารมณ องคสมเด็จพระพิชิตมารบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา แนะนําใหบรรดาทานพุทธบริษัททั้งหลาย ทรงกําลังใจไวเพื่อพระนิพพาน วาการเกิดในคราวนี้ ถือวาเปนการเกิดในวาระสุดทายที่สุดในชีวิตของเรา วาการเกิดเปนมนุษยก็ดี เปนเทวดาก็ดี เปนพรหมก็ดี ไมเปนแดนพนความทุกข ไมสามารถจะทรงความสุขไดอยางจริงจัง ในเมื่อความสุขมันทรงไมไดอยางจริงจัง เราก็ไมตองการมัน แดนที่มีความสุข มีความสําราญอยางยิ่ง ที่องคสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสกับบรรดาทานพุทธบริษัทชายหญิง นั่นก็คือแดนของพระนิพพาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 307/121 คิดไวเสมอวาชาตินี้ เปนชาติสุดทายสําหรับเรา ชาติหนาไปขึ้นชื่อวาการเปนมนุษยก็ดี เปนเทวดาก็ดี เปนพรหมก็ดี ไมมีสําหรับเรา แลวเราจะเปนอะไร เราจะเปนอะไรก็ชางมัน เราไมเปนคน เราไมเปนสัตวเดรัจฉาน ไมเปนเปรต ไมเปนอสุรกาย ไมเปนสัตวนรก เราไมเปนเทวดา เราไมเปนพรหม ไมตองการ ไมนิยมอะไรมันทั้งหมด แลวมันจะเปนอะไรก็ชางมัน ที่ทานเรียกวา นิพพาน

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 308/122 เจาจงใครครวญอยางนี้ จงคิดวาเราเปนผูไมมีอะไรเลย ทรัพยสินก็ไมมี ญาติ เพื่อน ลูก หลาน เหลนก็ไมมี แมรางกายเราก็ไมมี เพราะทุกอยางที่กลาวมามีสภาพพังหมด เราจะทํากิจที่ตองการทําตามหนาที่ เมื่อสิ้นภาระคือรางกายพังแลว เราจะไปนิพพาน เมื่อความปวยไขปรากฏ จงดีใจวาวาระที่เราจะมีโอกาสเขาสูพระนิพพานมาถึงแลว เราสิ้นทุกขแลว

Page 38: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

คิดไวอยางนี้ทุกวัน จิตจะชินจะเห็นเหตุผล เมื่อจะตายอารมณจะสบาย แลวก็จะเขานิพพานไดทันที

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 309/122 สําหรับคนที่มีความชํานาญในดานมโนมยิทธิ ถาพอเริ่มจับอารมณปบจิตมันจะขึ้นพระนิพพานทันที ก็ไมตองมานั่งพิจารณาขันธ 5 นั่นแสดงวาจิตของเรามันตัดขันธ 5 อยูแลวเปนปกติ โดยที่เราไมรูตัว เราไมไดคิดจําไวนะ พอเริ่มตนจับอารมณปบ จิตมันไมเอาไหน จะพิจารณารางกายรึ มันก็ไมเอาดวย ไมเห็นมีอะไรดีนี่ ไปดีกวา ถาเปนอยางนี้ใหตดัสินใจไปเลยถึงนิพพาน เพราะการพิจารณารางกายเปนการศึกษา เปนการซอมกําลังใจคนที่มีจิตเปนฌานนี่ วิปสสนาญาณทรงตัว เมื่อเวลารวบรวมกําลังใจนิดเดียว จิตมันจะตัดทันทีแลวไปเลย หาจุดปลายทางคือ นิพพานเปนที่ไป ฉะนั้น ใครก็ตามที่มีความคลองในอารมณพระนิพพาน พอรวบรวมกําลังใจปบจิตมันจับพระนิพพานเปนอารมณก็ไมตองหันมาพิจารณาอีก เสียเวลาเปลาเพราะเราเขาถึงแลว

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 310/122 การเขานิพพานไมมีอะไรยาก เพียงแตชนะใจตัวเองเทานั้น คือ

1. ไมทําหรือคิดวาจะทําความชั่วทุกอยาง (ตามแบบศีล 5) 2. สรางความดีที่ทําใหเกิดความสุขแกตนและคนอื่นทุกอยาง 3. ชําระใจ ใหเขาใจในเหตุผล เคารพตามความเปนจริง ไมมีอารมณฝนกฎธรรมดา

เห็นโลกเปนทุกขตามความเปนจริง รูเหตุที่จะทําใหเกิดทุกข คือความอยากไมรูจบ ไมสนใจกับความเคลื่อนไปของสิ่งมีชีวิต หรือไมมีชีวิต เห็นความตายเปนกีฬาของชีวิต ไมตองการความเกิด รูตัวเสมอวาทรัพยสินที่หามาไดนั้น เราไมมีโอกาสปกครองไดตลอดกาล เมื่อถึงเวลาแลว ตองพลัดพรากจากมันเปนปกติเมื่อมันจากเรา หรือเราจากมัน ไมมีอารมณเปนหวงหรือหนักใจ เห็นความตายเปนกีฬาสําหรับเด็ก เทานี้จะทําใหใจสบาย เรื่องสวรรคหรือพรหม ถือวาต่ําเกินไป ไปนิพพานเลยดีกวา นิพพานมีแตสุขหาทกุขไมได

โอวาทหลวงพอ เลม 1 ขอ 311/123

Page 39: ศิวโมกข์ เล่ม 1 โดย ลพ.ฤๅษี วัดท่าซุง

“สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ” การใหธรรมเปนทาน ชนะทานทั้งปวง