20
Year 2 Volume 3 April-June 2011 ÀÒÃм١¾Ñ¹·Ò§¡ÒäÅѧ¢Í§ÃÑ°ºÒÅ สบน . ดำเนินการอยางไร สบน . ดำเนินการอยางไร ในประเทศของรัฐบาล ในประเทศของรัฐบาล สบน . ดำเนินการอยางไร ในประเทศของรัฐบาล เกี่ยวกับการกอหนี้ เกี่ยวกับการกอหนี้ และชำระคืนหนี้เงþนกู และชำระคืนหนี้เงþนกู เกี่ยวกับการกอหนี้ และชำระคืนหนี้เงþนกู

ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

Citation preview

Page 1: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

Year 2 Volume 3 April-June 2011

ÀÒÃм١¾Ñ¹·Ò§¡ÒäÅѧ¢Í§ÃÑ°ºÒÅ

สบน. ดำเนินการอยางไรสบน. ดำเนินการอยางไร

ในประเทศของรัฐบาลในประเทศของรัฐบาล

สบน. ดำเนินการอยางไร

ในประเทศของรัฐบาล

เกี่ยวกับการกอหนี้เกี่ยวกับการกอหนี้และชำระคืนหนี้เงนกูและชำระคืนหนี้เงนกูเกี่ยวกับการกอหนี้และชำระคืนหนี้เงนกู

Page 2: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

พระบรมราโชวาท

“...¤ÇÒÁÊØ¢¤ÇÒÁà¨ÃÔÞÍѹ᷌¨ÃÔ§¹Ñé¹ ËÁÒ¶֧¤ÇÒÁÊØ¢¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ·ÕèºØ¤¤ÅáÊǧËÒÁÒä Œ́´ŒÇ¤ÇÒÁ໚¹¸ÃÃÁ ·Ñé§ã¹à¨μ¹ÒáÅСÒáÃÐ·Ó äÁ‹ãª‹ä Œ́ÁÒ Œ́ǤÇÒÁºÑ§àÍÔÞ

ËÃ×Í´ŒÇÂá¡‹§á‹§àºÕ´àºÕ¹ÁÒ¨Ò¡¼ÙŒÍ×è¹ ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ·Õèá·Œ¹Õé ÁÕÅѡɳÐ໚¹¡ÒÃÊÌҧÊÃä � à¾ÃÒÐÍӹǻÃÐ⪹ �¶Ö§¼ÙŒÍ×è¹áÅÐʋǹÃÇÁ´ŒÇ μç¡Ñ¹¢ŒÒÁ¡Ñº¤ÇÒÁà¨ÃÔÞÍ‹ҧà·ç¨à·ÕÂÁ

·Õèà¡Ô´¢Öé¹ÁÒ Œ́ǤÇÒÁ»ÃоÄμÔäÁ‹à»š¹¸ÃÃÁ¢Í§ºØ¤¤Å «Öè§ÁÕÅѡɳÐ໚¹¡Ò÷ÓÅÒÂŌҧ à¾ÃÒÐãËŒâ·Éº‹Í¹àºÕ¹·ÓÅÒ¼ٌÍ×è¹áÅÐʋǹÃÇÁ ¡Òú‹Í¹àºÕ¹·ÓÅÒ¹Ñé¹ ·ÕèÊØ´¡ç¨Ð¡ÅѺÁÒ·ÓÅÒÂμ¹ Œ́ÇÂàËμØ·ÕèàÁ×èÍʋǹÃÇÁ

¶Ù¡·ÓÅÒÂàÊÕÂáÅŒÇ μ¹àͧ¡ç¨ÐÂ×¹μÑÇÍÂÙ‹äÁ‹ä Œ́ ¨ÐμŒÍ§Å‹Á¨Áŧä»àËÁ×͹¡Ñ¹...”

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เนื่องในพิธีพระราชทานปริญญา และอนุปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘

Page 3: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

เกาะสีชัง เมืองสงบใกลกรุงเท่ียวไดในวันเดียว

ตะลอนทัวร 11

ÊÒèҡºÃÃ³Ò Ô̧¡Òà ส วั ส ดี ค ะ ท า น ผู อ า น ว า ร ส า ร

หนี้สาธารณะทุกทาน วารสารหนี้สาธารณะ

ฉบับนี้ เปนฉบับที่ 3 ประจำปงบประมาณ

2554 ถือวาเปนฉบับตอนรับการเปดเทอม

ทานผูอานหลายๆ ทานคงไดเผชิญอุปสรรค

ในการเดินทาง เน่ืองจากการจราจรท่ีติดขัด

ประกอบกับฟาฝนท่ีตกกันอยางสม่ำเสมอ

อย า ง ไ ร ก็ดี ขอให ทุ กท าน เ ดินทางด วย

ความระมัดระวังและปฏิบัติตามกฎจราจร

เพ่ือความปลอดภัยของทานและผูรวมใชถนน

ทุกทานนะคะ

ใ น ว า ร ส า ร ฉบั บ นี้ คณะ ผู จั ด ท ำ

มี บทความที่คิดวานาจะเปนประโยชนและ

นาสนใจอีกเชนเคย ทั้ ง เ ร่ืองภาระผูกพัน

ทางการคลังของรัฐบาล ซึ่งไดกลาวถึงหน้ี

ที่ซอนเรน (ฟงดูนาต่ืนเตนมั้ยคะ) และแนวทาง

การชำระหน้ีในประเทศ เน่ืองจากองคประกอบ

สวนใหญของหน้ีสาธารณะเปนหน้ีสาธารณะ

ในประเทศ ถาสำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

มีแนวทางท่ีชัดเจนในการชำระหน้ีไมวาจะเปน

หน้ีในประเทศหรือหนี้ตางประเทศ เราก็จะ

สามารถรักษาความนาเช่ือถือของประเทศได

สิริภา สัตยานนท ผูอำนวยการสวนความรวมมือระหวางประเทศ สำนักนโยบายและแผน

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) วิสัยทัศน: เปนมืออาชีพในการบริหารหน้ีสาธารณะ เพ่ือการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืน พันธกิจ: บริหารหน้ีสาธารณะตามกฎหมายวาดวยการบริหารหน้ีสาธารณะ โดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการกอหนี้ ค้ำประกัน และปรับโครงสรางหน้ีของรัฐบาล หนวยงานในกำกับดูแลของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้ง การชำระหน้ีของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพ่ือใหการบริหารหน้ีสาธารณะเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และเสริมสรางความย่ังยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ

วารสารหน้ีสาธารณะ จัดทำโดยสำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ สังกัดกระทรวงการคลัง เพ่ือเผยแพรแกประชาชนท่ัวไป

ÊÒúÑÞ เก่ียวกับการกอหน้ีและชำระคืนหน้ีเงินกูในประเทศของรัฐบาล

สบน. ดำเนินการอยางไร 2

16

Transformers 3 : Dark of the Moon

อัลบั้ม Asia ศิลปน Lisa Ono

สารพันบันเทิง 10

สถานะของหน้ีสาธารณะ ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2554

สถานะของหนี้สาธารณะ

5 (Contingent Liabilities)

ภาระผูกพันทางการคลังของรัฐบาล

คำศัพทนารู 12

มุมสุขภาพ 13

ขาวประชาสัมพันธ 14 จากสำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

8

เครียดแลวแก กินตานเครียด…คืนวัยวันอันสดใส

ธรรมะสำหรับการทำงานในแบบ Perfectionist ธรรมะกับการงาน

Page 4: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

2

นางสาววงเดือน สิทธิเดชศักดิ์ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหน้ี นางสาวจันทิรา ตรงรัศมีทอง เศรษฐกรชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหน้ี นายธีระศักดิ์ อิญญาวงค นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหน้ี

“สบน. ดำเนินการอยางไร “สบน. ดำเนินการอยางไร เกี่ยวกับการกอหนี้และชำระคืนหนี้เก่ียวกับการกอหนี้และชำระคืนหน้ีเงินกูในประเทศของรัฐบาล” เงินกูในประเทศของรัฐบาล”

จากวารสารหน้ีสาธารณะฉบับกอน (ฉบับท่ี 2 เดือนมกราคม-มีนาคม 2554) ผูเขียนไดกลาวถึงแนวทางปฏิบัติในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศของรัฐบาลวามีวิธีการอยางไรไวแลว ในฉบับน้ีผูเขียนจึงขอกลาวถึงแนวทางปฏิบัติในการกอหนี้ในประเทศและการชำระคืนหนี้เงินกูในประเทศของรัฐบาลพอสังเขป เพื่อใหเกิดความครบถวนของขอมูล แตกอนจะอธิบายถึง ร ายละ เ อี ยด ดั งกล า ว ผู เ ขี ยนขอส รุปข อ มู ล เกี่ ย ว กับสถานะของ ยอดหน้ีสาธารณะคงคาง (Outstanding Debt) และขอมูลในประเด็นตางๆ

ที่เกี่ยวของดวย โดย ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2554 ประเทศไทยมียอดหนี้สาธารณะคงคาง จำนวน 4.26 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 41.28 ของ GDP ซึ่งประกอบดวยหน้ีในประเทศและ หนีต้างประเทศ (ดูรายละเอียดเพิม่เตมิไดทีบ่ทความสถานะหน้ีสาธารณะ หรือเว็บไซต สบน. www.pdmo.go.th ในหัวขอ “รายงานหนี้สาธารณะ”) โดยเปนหนี้ที่รัฐบาล กู โดยตรง ในสวนของหน้ีในประเทศ จำนวน 2.94 ลานลานบาท หรือคิดเปน รอยละ 27.07 ของ GDP ซึ่งมีทั้งหนี้ระยะส้ันและหนี้ระยะยาว ไมวาจะเปนพันธบัตร

ตั๋วสัญญาใชเงิน ตั๋วเงินคลัง และเงินกูจากธนาคารพาณิชย ทั้งนี้ สามารถสรุปวัตถุประสงคของการกูเงินและแหลงเงินที่ใชในการชำระคืนหนี้ดังกลาว ดังนี้

Page 5: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

3

สัดสวนยอดหนี้สาธารณะคงคางของหนี้เงินกูในประเทศ ที่เปนหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง จำแนกตามวัตถุประสงคของการกูเงิน

ทั้งนี้ รูปแบบการระดมทุนในประเทศ (Domestic Financing) ซึ่ง สบน. ดำเนินการเพื่อใหสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ

หรือหนวยงานในกำกับดูแลของรัฐนำไปดำเนินโครงการตางๆ ตามภารกิจภายใตนโยบายรัฐบาล สบน. จะดำเนินการตามกรอบและแนวทางปฏิบัติที่กฎหมายกำหนด เพื่อใหมีตนทุนต่ำสุดภายใตความเส่ียงท่ีเหมาะสม โดยจำแนกได 4 รูปแบบ ดังนี้

ที่มา : สำนักนโยบายและแผน สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

วัตถุประสงคการกู • เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณและ

การบริหารหน้ีสาธารณะ

• เงินกูชดเชยความเสียหายใหแกกองทุนฟนฟูและ

พัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF)

- FIDF 1

- FIDF 3

• เงินกูเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความม่ันคง

ทางเศรษฐกิจ (TKK)

ยอดหน้ีคงคาง 1.41 ลานลานบาท

1.13 ลานลานบาท

0.46 ลานลานบาท

0.67 ลานลานบาท

0.40 ลานบาท

แหลงเงินในการชำระคืน งบประมาณรายจายประจำป

ตนเงิน : ธนาคารแหงประเทศไทย

รับผิดชอบ

ดอกเบ้ีย : งบประมาณรายจาย

ประจำป

งบประมาณรายจายประจำป

หมายเหตุ : FIDF1 ชำระจากบัญชีกองทุนเพ่ือการชำระคืนตนเงินกูชดใชความเสียหายของกองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (กระทรวงการคลังดูแลกองทุนฯ) FIDF3 ชำระจากบัญชีสะสมเพ่ือการชำระคืนตนเงินกูชดใชความเสียหายของกองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (ธนาคารแหงประเทศไทยดูแลบัญชี)

TKK 14%

FIDF 38%

ชดเชยขาดดุล และบริหารหน้ี

48%

ตารางแสดงยอดหน้ีสาธารณะคงคางของหนี้เงินกูในประเทศ ที่เปนหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง จำแนกตามวัตถุประสงคของการกูเงิน

ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2554

Page 6: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

4

1. พันธบัตรรัฐบาล (Government Bond) : เปนตราสารท่ี รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังเปนผูออก ซึ่งสัญญาวาจะจายดอกเบ้ียพรอมเงินตนใหแกผูถือเมื่อครบกำหนด โดยมีการจายดอกเบ้ียเปนงวดๆ ตามท่ีกำหนดในประกาศกระทรวงการคลัง รัฐบาลจะออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน บริษัทประกันภัย นิติบุคคล กองทุนฯ ตางๆ และประชาชนท่ัวไป ฯลฯ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการออกพันธบัตรน้ันๆ เชน รัฐบาลมี ความจำเปนตองใชเงินเปนจำนวนมาก สบน. ก็จะออกพันธบัตรรัฐบาล โดยจำหนายใหแกสถาบันการเงินเปน กลุมเปาหมายหลัก หากรัฐบาลมีนโยบายตองการใหประชาชนมีทางเลือกในการออม สบน . ก็จะออกเปนพันธบัตรออมทรัพย และผูซื้อพันธบัตรจะมีฐานะเปนเจาหนี้รัฐบาลตามกฎหมาย

2. ตั๋วสัญญาใชเงิน (Promissory Notes-P/N) : ตราสารซ่ึงบุคคลผูหนึ่ง เรียกวา ผูออกตั๋ว ใหคำม่ันสัญญาวาจะใชเงินจำนวนหนึ่งใหแกบุคคลอีกผูหนึ่ง หรือใชใหตาม คำสั่งของบุคคลอีกผูหนึ่ง เรียกวา ผูรับเงิน ซึ่งสวนใหญ การออก P/N ของกระทรวงการคลังจะเปนการกูเงินจากธนาคารพาณิชย และมีการกูจากบริษัทประกันภัยบาง แตก็เปนสวนนอย

3. ตั๋วเงินคลัง (Treasury Bill–T/B) : เปนตราสารที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังเปนผูออกเพื่อกูยืมเงินระยะส้ันจากสถาบันการเงินตางๆ ปกติจะมีอายุไมเกนิ 1 ป ตัว๋เงนิคลงัไมมีการจายดอกเบ้ียเปนผลตอบแทน แตผลตอบแทนจะ อยูในรูปของสวนลด ซึ่งรัฐบาลกำหนดจะชำระคืนตามราคาท่ีตราไวเมื่อตั๋วเงินคลังครบกำหนดไถถอนคืน ตั๋วเงินคลังจะทำการซ้ือขายท่ีราคาคิดลด ซึ่งหมายถึงเงินลงทุนคร้ังแรกจะนอยกวาราคาหนาตั๋ว และเม่ือครบกำหนดไถถอนจะไดรับเงินเต็มจำนวนตามที่ตราไวหนาตั๋ว

4. การกูเงินจากธนาคารพาณิชยตางๆ สำหรับวิธกีารชำระคนืหนีเ้งนิกูในประเทศจะมีข้ันตอนและความสลับซับซอนนอยกวาการชำระคืนหนี้ตางประเทศ กลาวคือ ในการชำระคืนหน้ีเงินกูในประเทศมีการดำเนินการโดยเริ่มจากการตรวจสอบรายละเอียดใบแจงหนี้ จากนั้นดำเนินการต้ังเบิกเงินงบประมาณผานระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) และติดตามผลการรับเงินของเจาหนี้ พรอมท้ังดำเนินการปรับปรุงขอมูล หนี้สาธารณะในระบบบริหารหน้ีสาธารณะ (GFMIS-TR) เปนลำดับสุดทาย

Page 7: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

กุลกานต์ อร่ามทอง เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

ภาระผูกพันทางการคลังของรัฐบาล

(Contingent Liabilities)

เมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้ เศรษฐกิจของประเทศไทยเข้าสู่ภาวะวิกฤติส่งผลใหเ้กดิปญัหาในหลายๆ ดา้น ทัง้ตอ่ภาครฐัและภาคเอกชน

เช่น สถาบันการเงินหลายแห่งต้องเพิ่มทุน ในขณะที่ บางแห่งต้องปิดตัวลง ส่วนราชการหลายแห่งต้อง

ประหยัดการใช้จ่ายของตน สถานการณ์ดังกล่าวเหล่านี้ทำให้เกิดการดำเนินนโยบายแบบใหม่ของรัฐบาลขึ้น จากเดิมที่รัฐบาลกระตุ้นเศรษฐกิจ

ผ่านวิธีการใช้จ่ายและการก่อหนี้ของรัฐบาล เปลี่ยนเป็นการใช้จ่ายผ่านหน่วยงานของรัฐหรือ

องค์กรพิเศษต่างๆ เพื่อให้หนี้ที่เกิดขึ้นใหม่นั้นในบางกรณีไม่ถูกบันทึกในฐานะเป็นหนี้ของรัฐบาลหรือ หนี้สาธารณะ (Public Debt) แต่เป็นหนี้ของหน่วยงานหรือ

องค์กรนั้นๆ ซึ่งหนี้ในลักษณะนี้ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ถูกบันทึก ตามช่องทางปกติเช่นเดียวกับหนี้สาธารณะ แต่ก็ยังถือว่าเป็น

ภาระผูกพันที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต (Contingent Liability) นอกจากนี้ การระดมทุนวิธีใหม่ที่เน้นการลงทุนของภาคเอกชน ซึ่งเกิดขึ้นและมีบทบาทอย่างมากในหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว

คือ การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public Private Partnership : PPP) ในโครงการลงทุนพื้นฐานของภาครัฐ ซึ่งหนี้ดังกล่าวไม่ได้ถูกบันทึกไว้ในระบบงบประมาณและ ไม่ถูกนับรวมเป็นหนี้สาธารณะ ในขณะที่รัฐบาลอาจมีภาระผูกพันที่ก่อให้เกิดภาระทางการคลังในอนาคตจากการดำเนินโครงการในลักษณะดังกล่าว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการตระหนักถึงภาระดังกล่าวนี้

ภาระผูกพันทางการคลังสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่

1. ภาระผูกพันแบบชัดแจ้ง (Explicit Contingent Liabilities) เป็นภาระผูกพันตามที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของกฎหมายหรือข้อกำหนดในสัญญา (ภาระผูกพันโดยนิตินัย) โดยเป็น

ผลจากการดำเนินโครงการลงทุนที่ภาครัฐดำเนินนโยบายผ่านรัฐวิสาหกิจ โดยรัฐบาลเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้หรือเป็นผู้จัดหา เงินกู้และนำมาให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ (On lending) เพื่อดำเนินโครงการ และเมื่อรัฐวิสาหกิจดังกล่าวไม่สามารถชำระหนี้เงินกู้

ดังกล่าวได้ ส่งผลให้รัฐบาลในฐานะผู้ค้ำประกันจะต้องเป็นผู้รับภาระการชำระหนี้เงินกู้ดังกล่าวแทน

Page 8: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

2. ภาระผูกพันแบบกึ่งชัดแจ้ง (Semi-Explicit Contingent Liabilities)

เป็นภาระผูกพันที่เกิดจากการดำเนินนโยบายของรัฐ

ผ่านรัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ซึ่งรวมถึง การดำเนินนโยบายกึ่งการคลัง (Quasi Fiscal Policy) และโครงการลงทุนแบบ PPP ในส่วนการดำเนินการของ

ภาคเอกชน ตัวอย่างเช่น การจัดตั้งองค์กรที่แยกออกจากภาครัฐ ซึ่งเป็นการดำเนินนโยบายกึ่งการคลังในรูปแบบหนึ่ง

โดยการดำเนินนโยบายดังกล่าวจะไม่ปรากฏเป็นภาระทางการคลังในทันที แต่จะปรากฏก็ต่อเมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบายนั้น และมีการเรียกร้องให้

รัฐบาลรับภาระดังกล่าว โดยรัฐบาลจะมีนโยบายการให้ เงินอุดหนุนองค์กรของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงิน

เฉพาะกิจ ในรูปแบบของการเพิ่มทุนภายใต้กฎหมายต่างๆ อย่างไรก็ดี ภาระที่เกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบายดังกล่าว จะถกูบนัทกึเปน็ภาระขององคก์ร และรฐับาลอาจตอ้งรบัภาระ

เมื่อโครงการที่ดำเนินการภายใต้นโยบายเกิดความเสียหาย นอกจากนี้ การดำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่

ของภาครัฐในรูปแบบการลงทุนร่วมกันระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน (Public Private Partnership : PPP) ซึ่งเป็น การให้ภาคเอกชนเข้าร่ วมลงทุนในโครงการพื้นฐาน

ด้านสาธารณูปโภคของภาครัฐ เพื่อแบ่งเบาภาระการลงทุน

ของรัฐบาลผ่านระบบงบประมาณ และให้รัฐบาลสามารถ

ดำเนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การดำเนินโครงการ PPP ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงทางการคลังโดยภาครัฐอาจต้องเข้าไปรับความเสี่ยงบางส่วน

จากภาคเอกชน เช่น การประกันรายได้ขั้นต่ำ (Revenue

Guarantee) หรือในบางกรณีภาคเอกชนอาจไม่สามารถ

ดำเนินการได้และต้องยกเลิกสัญญาดำเนินโครงการ กอ่นกำหนด (Early Termination) ทำใหร้ฐับาลอาจตอ้งเปน็ ผู้เข้าไปดำเนินการต่อด้วยตัวเอง เพื่อให้โครงการสามารถให้บริการสาธารณะต่อไปได้ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนผู้ใช้บริการ ก่อให้เกิดภาระผูกพันทางการคลัง

ของรัฐบาล ซึ่งภาระดังกล่าวนี้จึงเป็นภาระที่ขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอก เช่น การบริหารจัดการของภาคเอกชน หรือผลประกอบการจากการดำเนินโครงการ

3. ภาระผกูพนัโดยนยั (Implicit Contingent Liabilities)

เป็นภาระผูกพันที่รัฐบาลอาจให้ความช่วยเหลือตาม

หลักศีลธรรมตามความคาดหวังของสังคมหรือแรงกดดัน

ทางการเมือง โดยเป็นภาระที่เกิดขึ้นนอกเหนือขอบเขตบทบัญญัติกฎหมายและรัฐบาลเข้ารับผิดชอบโดยศีลธรรม

ยกตัวอย่างกรณีที่รัฐบาลเข้าไปมีบทบาทให้ความช่วยเหลือในกองทุนนอกงบประมาณ ซึ่งมีประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) เป็นจำนวนมาก เช่น กองทุนประกันสังคม

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ หรือแม้แต่หน่วยงาน ในกำกับดูแลของรัฐที่เกิดขึ้นใหม่ เช่น

สถาบันคุ้มครองเงินฝาก ซึ่งแม้กฎหมายจะห้ามไม่ให้รัฐบาลต้ อ ง เ ข้ า ไ ป รั บ ภ า ร ะ

ทางตรงหรือทางอ้อมของสถาบันนี้ แต่อย่างไร

ก็ ต า ม เ นื่ อ ง จ า ก ผลการดำ เนิ นกา ร

ข อ ง อ ง ค์ ก ร ก ลุ่ ม นี้ ส่งผลกระทบต่อสังคมใ น ว ง ก ว้ า ง จึ ง เ ป็ น ก า ร ย า ก ที่ รั ฐ บ า ล จ ะ หลีกเลี่ยงการให้เงินอุดหนุน

หรือเข้ามาสนับสนุนเพื่อให้องค์กรเหล่านี้สามารถอยู่ ร อด และดำ เนิ นภารกิจของตนได้อย่างราบรื่น

Page 9: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น ภาระผูกพันทางการคลัง ดังกล่าวอาจก่อให้เกิดความเสียหายทางการคลังได้ เนื่องจาก

ไม่สามารถรู้ถึงช่วงเวลาและผลกระทบของความเสียหาย ที่อาจเกิดขึ้น เพราะเป็นสิ่งที่นอกเหนือการบริหารจัดการ ซึ่ งความไม่แน่นอนดังกล่าวนั้น เมื่ อประกอบเข้ากับ ความไม่ครอบคลุมทางกฎหมายของไทยที่ไม่ได้กำหนดให้มีการรายงานภาระผูกพันในทุกประเภทที่ภาครัฐดำเนินการ

ภาระผูกพันเหล่านี้จึงไม่ปรากฏอยู่ในรายงานทางการเงินใดๆ ของรัฐบาล (Off Balance Sheet) ทำให้ภาครัฐขาด การเตรียมการและไม่สามารถจัดสรรงบประมาณเพื่อรองรับภาระที่เกิดขึ้นได้ ในที่สุดจึงมีความจำเป็นที่จะต้องก่อหนี้

ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (2554)

ตัวอย่างโครงการที่ก่อให้เกิดภาระผูกพันทางการคลัง ประเภทภาระผูกพัน

ภาระผูกพันแบบชัดแจ้ง

(Explicit Contingent

Liabilities)

ภาระผูกพันแบบ

กึ่งชัดแจ้ง (Semi-

Explicit Contingent

Liabilities)

ภาระผูกพันโดยนัย

(Implicit Contingent

Liabilities)

ลักษณะโครงการ

โครงการที่รัฐบาลค้ำประกันเงินกู้หรือให้

เงินกู้ต่อแก่รัฐวิสาหกิจ

โครงการที่ดำเนินนโยบายกึ่งการคลังที่

รัฐบาลดำเนินการผ่านสถาบันการเงิน

เฉพาะกิจ และการร่วมลงทุนระหว่าง

รัฐวิสาหกิจกับภาคเอกชน

โครงการของสถาบันประกันเงินฝากและ

กองทุนนอกงบประมาณต่างๆ

ตัวอย่างโครงการ

• โครงการก่อสร้างระบบขนส่งทางรถไฟ

เชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

• โครงการบ้านเอื้ออาทร

• โครงการจำนำผลิตผล ปีการผลิต 2551/52

• โครงการประกันรายได้เกษตรกร

ผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2552/53

• โครงการลงทุนในรูปแบบ PPP (Public

Private Partnership) : การร่วมลงทุนระหว่าง

รัฐวิสาหกิจ (รฟม.) กับภาคเอกชน ในโครงการ

ระบบรถไฟฟ้า : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน

และสายสีม่วง

• กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา

ระบบสถาบันการเงิน

• สถาบันคุ้มครองเงินฝาก

• กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)

เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การดำเนินการในการบริหารหนี้สาธารณะเป็นไปโดยยาก เนื่องจากประมาณการหนี้และภาระหนี้

ขาดความแม่นยำ และความเสี่ยงต่อการผิดนัดชำระหนี้ สูงขึ้น ดังนั้น รัฐบาลควรจะมีการประเมินภาพรวมของภาระทางการคลังทั้งในแบบภาระทางตรง (Direct Liabilities) และภาระผูกพันที่ซ่อนเร้น (Contingent Liabilities) ซึ่ง ไม่ได้บันทึกเป็นหนี้สาธารณะอย่างชัดแจ้ง เพื่อเป็นกรอบ

และแนวทางในการกำหนดนโยบายการบริหารหนี้สาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อรักษาวินัยและความยั่งยืนทางการคลังของรัฐบาลในอนาคต

Page 10: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

8

ศิรี จงดี เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักนโยบายและแผน

ʶҹТͧ˹ÕéÊÒ¸ÒóР³ Çѹ·Õè 31 ÁÕ¹Ò¤Á 2554

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 หนี้สาธารณะคงคางมีจำนวนทั้งส้ิน 4,246.115 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 41.28 ของ GDP1 โดยสัดสวน หนี้สาธารณะคงคางประกอบดวย 1. หนี้ที่ รัฐบาลกูโดยตรง (Direct Government Debt) 2. หนี้รัฐวิสาหกิจท่ีไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs Debt) 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงินที่รัฐบาลค้ำประกัน (SFIs Guaranteed Debt) 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน (FIDF) โดยมีวงเงินและสัดสวนของแตละรายการดังแสดงในตาราง

รายการ 1. หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง (Direct Government Debt)

2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs Debt)

3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงินที่รัฐบาลค้ำประกัน

(SFIs Guaranteed Debt)

4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF)

รวม

วงเงิน (พันลานบาท)

2,988.845

1,065.872

160.340

31.057

4,246.115

รอยละตอ หนี้สาธารณะคงคาง

70.39

25.10

3.78

0.73

100.00 ที่มา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

ตารางแสดงสัดสวนหน้ีสาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554

Page 11: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

9

ทำความรูจัก : หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง เมื่อดูสัดสวนของหนี้สาธารณะแลวจะเห็นไดวา หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรงเปนองคประกอบสำคัญ และเม่ือพิจารณา

ในรายละเอียดแลวพบวา หนี้รัฐบาลดังกลาวสามารถจำแนกเปนการกอหนี้เพื่อ 3 วัตถุประสงค ไดแก 1. เงินกูเพื่อชดเชย การขาดดุลเงินงบประมาณ 2. เงินกูชดเชยความเสียหายใหแกกองทุนเพื่อการฟนฟูฯ (FIDF) 3. เงินกูเพื่อการลงทุน ทั้งนี้ เงินกูใน 2 รายการแรกซ่ึงนับรวมเปน 85% ของเงินกูรัฐบาลจะใชการกูเงินในประเทศทั้งหมด โดยมีเครื่องมือหลัก ในการกูเงิน ไดแก พันธบัตรและต๋ัวสัญญาใชเงิน นอกจากนี้ สำหรับการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลเงินงบประมาณจะใช ตัว๋เงนิคลังกูเงนิระยะส้ัน เพือ่บริหารเงินสดดวย ในสวนของเงนิกูรัฐบาลเพือ่การลงทุนซึง่คิดเปน 15% ของหน้ีทีรั่ฐบาลกูโดยตรง จะประกอบดวยท้ังเงินกูในประเทศและตางประเทศ โดยหนี้ในประเทศเกิดจากการกูเงินเพื่อการลงทุนภายใตโครงการเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความม่ันคงทางเศรษฐกิจ (ไทยเขมแข็งฯ) ซึ่งจะกูเงินจากธนาคารพาณิชยรวมถึงออกพันธบัตรและ ตั๋วสัญญาใชเงิน โดยในสวนของเงินกูตางประเทศจะเปนการกูเงินจากแหลงเงินกูทางการตางประเทศท่ีมีเงื่อนไขผอนปรนและการออกตราสารหน้ีในตลาดการเงินตางประเทศ

1วิธีการคำนวณ GDP ในแตละเดือน เพื่อใหสัดสวน Debt/GDP สะทอนคาที่ใกลเคียงความเปนจริงที่สุด ซึ่งไดคำนวณ GDP ของเดือนมีนาคม 2554 ดังนี้ [(GDP ป 53/12)*9]+[(GDP ป 54/12)*3] เทากับ 10,287.375 พันลานบาท โดยประมาณการ GDP ป 2553 และป 2554 เทากับ 10,103.00 พันลานบาท และ 10,840.50 พันลานบาท ตามลำดับ (สศช. ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ 2554)

แผนภูมิแสดงองคประกอบหน้ีสาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554

Fiscalized FIDF Debt, 37.76%

Direct Government Debt, 70.39%

Budget Deficit, 47.10%

Non Finacial SOEs Debt,

25.10%

SFIs Guarenteed Debt, 3.78%

FIDF, 0.73%

Investment, 15.13%

ที่มา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

Page 12: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

10

สารพันบันเทิง

อัลบั้ม Asia ศิลปน Lisa Ono อัลบั้ม Asia ศิลปน Lisa Ono Lisa Ono (ลิซา โอโนะ) นักรองสาวลูกคร่ึงญี่ปุน-บราซิล เจาของฉายาราชินี

เพลงบอสซาโนวา ไดสงผลงานเพลงชุดใหมที่ชื่อวา Asia (เอเชีย) ออกมาขับกลอมใหแฟนเพลงไดสัมผัสกับกล่ินอายของเอเชีย ซึ่งรวมบทเพลงอันไพเราะระดับ คลาสสิกจากหลายประเทศในเอเชีย โดยนำมาทำดนตรีใหมและการขับรองใหมในสไตลบอสซาโนวา ดวยภาษาตางๆ ไมวาจะเปนภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเกาหลี รวมไปถึงภาษาอื่นๆ ในเอเชีย ภายใตคอนเซปตการเดินทางของดนตรี ซึ่งเพลง ที่บรรจุในอัลบ้ัมชุดน้ีเชื่อวาทุกคนตองรูจักกันดี อยางเพลง “สายชล” เพลงเพราะสุดคลาสสิค ของประเทศไทย ผลงานประพันธของ คุณไชย ณ ศีลวันต และคุณจันทนีย อุนางกูล ที่มีความไพเราะไมแพตนฉบับเลย และอีกหลากหลายเพลงดัง เชน “เหอ ยื้อ จวิ้น ไจ ไหล” และ “เย ไหล เชียง” เพลงฮิตระดับตำนานของนักรองสาวจากประเทศจีน “เติ้งล่ีจวิน” หรือ “อารีรัง” (เกาหลี) / Olu Pipila (ศรีลังกา) / Dahil Sa Iyo (ฟลิปปนส) / Rasa Sayang (มาเลเซีย) / Vande Mataram (อินเดีย) / Bengawan Solo (อินโดนีเชีย) / Buuvein Duu (มองโกล) ฯลฯ ลองหามาฟงกันไดในวันหยุดสบายๆ รับรองวาจะรูสึกผอนคลายไปกับเสียงรองของเธออยางไมรูเบื่อ

Transformers 3 : Dark of the Moon

กลับมาสร างกระแสฟ เวอรขึ้ นอีกค ร้ั ง กับ อภิมหาภาพยนตรเรื่องเยี่ยมท่ีสุดของความมันกับ มหาสงครามหุนยนตจักรกลท่ียิ่งใหญเหนือจินตนาการ เรื่อง ทรานสฟอรเมอรส ภาค 3 ที่มีชื่อวา ดารค ออฟ เดอะ มูน เพราะแคตัวอยางของหนังที่ออนไลนทางเว็บไซตก็มียอดการดาวนโหลดภายใน 24 ชั่วโมงแรก สูงกวา 6 ลานคร้ัง ถือเปนสถิติสูงสุดเทาที่เคยมีมา

จนนางเอกเซ็กซ่ีหนาใหม โรซี ฮันติงตัน ไวทลีย กลายเปนสาวฮอตสุดของปนี้

ในภาคน้ีนำเสนอเรื่องราวของ แซม วิทวิกกี (ไชอา ลาบัฟ) ที่กำลังจะยางเทากาวแรกเขาสูความเปนผูใหญ พรอมๆ กับการรักษาสถานะการเปนมิตรของมนุษยกับออพติมัส ไพรม เอาไว โดยมีฉากหลังเปนการแขงขันทางอวกาศระหวางสหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกา ซึง่บงบอกวาเหลาทรานสฟอรเมอรสมีบทบาทท่ีซอนเรนอยู

และน่ันก็คือหน่ึงในความลับท่ีอันตรายท่ีสุดของโลกและหน่ึงในหุนตัวรายของภาคน้ีคือ ช็อกเวฟ นอกจากน้ี ไมเคิล เบย ผูกำกับฯ ยังบอกวา ความพิเศษของภาพยนตรเร่ืองนี้คือถายทำดวยกลองสามมิติแทๆ แบบเดียวกับ Avatar และทันสมัยกวาดวยซีจี

ที่พัฒนาขึ้นมากกวาเดิม รวมท้ังหุนทรานสฟอรเมอรสท่ีมากข้ึนกวาเดิมดวย ซึ่งพรอมจะเปดฉากมหาสงครามคร้ังย่ิงใหญที่สุดในประวัติการณแลว

Page 13: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

11

à¡ÒÐÊժѧ àÁ×ͧʧºã¡ÅŒ¡Ãا à·ÕèÂÇä´Œã¹Çѹà´ÕÂÇ

“เกาะสีชัง” คือเกาะที่ตั้งอยูใกลกรุงเทพฯ มากท่ีสุด ใกลซะจนมักจะถูกลืมวา เกาะแหงนี้เปนตัวเลือกท่ีนาสนใจสำหรับวันหยุดอันแสนส้ันของใครหลายคน เพื่อใชเปน สถานที่เที่ยวและพักผอนซึ่งสามารถทำไดภายในเวลา 1 วัน แบบเชาไป-เย็นกลับอยางสบาย ๆ

เกาะสีชังเปนเกาะใหญและเปนอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี ซึ่งมีการต้ังชุมชนมานานกวา 100 ป มีประชากรราว 6,000 คน ทุกคนรูจักกันหมดจึงไมมีขโมยหรือผูราย และยังมีสถานท่ีทองเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตรรวมถึงปูชนียสถานหลายแหง ซึ่งแตละจุดหางกันไมมากเพียง 5-10 นาทีก็ถึง

โดยจุดแรกท่ีเรามาเท่ียวคือ ศาลเจาพอเขาใหญ ตั้งอยู ทางดานเหนือของเกาะ เปนศาสนสถานที่มีสถาปตยกรรมแบบจีนผสมกับไทยบาง ตัวศาลเจาพอเขาใหญอยูในถ้ำ ดานบน ตองเดินขึ้นบันไดไปกวา 150 ขั้น ที่มีทางแยกไป

ศาลรัชกาลที ่ 5 กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ ์และม ี พระสังขจายน ศาลเจาแมกวนอิม เจาพอเหงเจีย ซึ่งเปนสิ่งศักด์ิสิทธิ์ที่ชาวเกาะสีชังใหความเคารพนับถือมาก รวมท้ังชาวจีนที่จะมากราบไหวกันอยางเนืองแนนในชวงตรุษจีน และยังมีความเชื่อวาหากใครมาไหวติดตอกัน 3 คร้ัง ภายใน 3 ป จะมีความเจริญและร่ำรวย

สถานท่ีตอมา ชองเขาขาด (ชองอิศริยาภรณ) อยูดานหลังของเกาะ มีหาดหินกลม เต็มไปดวยหินกลมขนาดตาง ๆ มากมายจึงลงเลนน้ำไมได แตเราสามารถ

เดินชมวิวสวย ๆ ราวกับแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ตได บนสะพานวชิราวุธซึ่งประดับดวยโคมไฟหงสไปจนสุดสาย และจุดตอไป พระจุฑาธุชราชฐาน พระราชวังท่ีประทับในฤดูรอนของรัชกาลท่ี 5 ที่งดงามดวยสถาปตยกรรมไม

สไตลเรือนขนมปงขิง ซึ่งมีสถานที่นาสนใจหลายแหงอยาง

สะพานอัษฎางค เรอืนไมสีขาวยื่นไปในทะเลเปนมุมท่ีทุกคน

ต อ ง ม า ถ า ย รู ป กั น

หาดทาวัง ซึ่ ง เลนน้ำไมไดเชนกัน แตมีเกาอี้ใหนั่งรับลมชมวิวทะเล ส ว ย ง า ม ไ ด ส ว น อาคารไมสีเขียวท่ีเห็นคือ

เรือนไมทะเล ขางในแสดงนิทรรศการขอมูลเกาะสีชังและมีเครื่องด่ืมกับของวางขายดวย ใกล ๆ กันเปน

เรือนวัฒนา ตัวอาคารทำจากปูนใชเปนที่แสดงนิทรรศการเหตุการณสำคัญท่ีเกิดข้ึนบนเกาะสีชังในสมัยรัชกาลท่ี 5 จากน้ันเราเดินไปชมพิพิธภัณฑชลทัศนสถาน สถานท่ีแสดงสัตวน้ำตาง ๆ อาทิ ปลาดาว ปู หอย เมนทะเล ปะการัง

แลวเราก็มายังจุดสุดทายท่ี หาดถ้ำเขาพัง อยูทางดานตะวันตกของเกาะ มีหาดทรายขาวยาวเหยียดเปนรูปพระจันทร น้ำทะเลใสมากและเปนชายหาดแหงเดียวท่ี เลนน้ำได ซึ่งมีทั้งอาหาร เครื่องด่ืม เกาอี้และเตียงผาใบไวบริการ รวมท้ังมีกิจกรรมใหทำ อาทิ บริการเชาหวงยาง

เลนน้ำ เรือกลวย พายเรือคายัค เรานั่งชื่นชมบรรยากาศธรรมชาติอันเงียบสงบของท่ีนี่อยูพักหน่ึงก็เตรียมตัวกลับไปขึ้นเรือใหทันเที่ยวสุดทาย 6 โมงเย็น

หากใครตองการอยูคนเดียวเงียบ ๆ สักพัก ในท่ี ที่ ไม มีรานกาแฟสวยเกหรือแหลงทองเที่ยวยามค่ำคืน เวลาไปไหนไมตองระวังตัวมากเพราะมีความปลอดภัยสูง ก็ไมควรลืม “เกาะสีชัง” กันนะ

แหลงขอมูลเพ่ิมเติม 1. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ภาคกลางเขต 3 โทรศัพท 0 3842 7667, 0 3842 8750 2. สำนักงานจังหวัดชลบุรี www.chonburi.go.th

ตะลอนทัวร

11

Page 14: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

1212

มณฑาทิพย ชุมทอง นิติกรปฏิบัติการ กลุมกฎหมาย

“¤ÓÈѾ· �¹‹ÒÃÙŒ” ในวารสารหน้ีสาธารณะฉบับกอนๆ ไดมีการอธิบายความหมายของคำตางๆ ที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติการบริหาร

หนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 เชน หนี้สาธารณะ1 ตราสารหน้ี พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใชเงิน ฯลฯ และเม่ือทราบแลววาหนี้สาธารณะคืออะไร สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ในฐานะที่เปนหนวยงานที่มีหนาที่โดยตรงในการบริหารและจัดการหน้ีสาธารณะ จะมีวิธีการหรือแนวทางอยางไรเพื่อใชในการบริหารจัดการหน้ีใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด โดยวิธีการท่ี สบน. สามารถดำเนินการไดนั้นเปนไปตามท่ีกำหนดไวในมาตรา 142 เชน กูเงินรายใหมเพื่อชำระหน้ีเดิม แปลงหน้ี ชำระหนีก้อนถงึกำหนดชำระ ขยายหรือยนระยะเวลาชำระหน้ี ตออายุ ซือ้คนื หรือไถถอนตราสารหน้ีของรัฐบาล ฯลฯ ดังนั้น เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยการบริหารหนี้สาธารณะมากย่ิงขึ้น บทความน้ีจึงขออธิบาย

ความหมายของคำท่ีเกี่ยวของกับการบริหารและจัดการหน้ีสาธารณะ ดังนี้

การบริหารหน้ีสาธารณะ (Public Debt Management)

การกอหนี้ (Incurring of Debt)

การปรับโครงสรางหน้ี (Debt Restructuring)

การกูเงินจากแหลงใหม (Refinance)

การแปลงหน้ี (Swap)

การชำระคืนหนี้กอนครบกำหนด (Prepayment)

การขยายระยะเวลาชำระหน้ี (Extended Repayment Period)

การตออายุ (Roll Over)

การกอหนี้โดยการกูหรือการค้ำประกัน การชำระหน้ี การปรับโครงสรางหนี้ และการดำเนินการอื่นที่เกี่ยวของกับหนี้สาธารณะ

การกูเงินของกระทรวงการคลัง หนวยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจจากแหลงเงินในประเทศและ ตางประเทศ ทั้งท่ีรัฐบาลค้ำประกันและไมค้ำประกัน

การจัดการโครงสรางหนี้สาธารณะโดยใชเครื่องมือทางการเงินและโอกาสท่ีภาวะตลาดการเงิน เอื้ออำนวยในการทำ Refinance Swap Prepayment และ Roll Over โดยมีวัตถุประสงค เพื่อลดตนทุนการกูเงินภายใตกรอบความเส่ียงท่ีเหมาะสม

การกูเงินจากแหลงใหมที่มีเงื่อนไขเงินกูดีกวาแหลงเดิมเพื่อนำไปใชคืนแหลงเงินกูเดิม ซึ่งเปนการลดตนทุนการกูเงิน

การแปลงหน้ีโดยท่ัวไปสามารถดำเนินการได 2 วิธี คือ 1) การแปลงสกุลเงินหนึ่งไปอีกสกุลเงินหนึ่ง (Cross Currency Swap) อาทิ การแปลงหน้ีจากสกุลเงินเยนเปนเงินบาท 2) การแปลงอัตราดอกเบ้ีย (Interest Rate Swap) อาทิ การแปลงอัตราดอกเบ้ียแบบลอยตัวเปนอัตราดอกเบ้ียแบบคงท่ี

การชำระคืนหนี้กอนครบกำหนดอายุโดยการนำงบประมาณของรัฐบาลหรือรายไดของรัฐวิสาหกิจมาชำระคืน เพื่อลดยอดหน้ีสาธารณะและลดภาระดอกเบ้ียในอนาคต

การขยายระยะเวลาเงินกูออกไปอีกหลังจากท่ีเงินกูนั้นไดครบกำหนดชำระคืน ทั้งนี้ ตองดำเนินการขอขยายระยะเวลาชำระหน้ีกับแหลงเงินกูเดิม

การขยายกำหนดเวลาเงินกูออกไปอีกหลังจากท่ีเงินกูนั้นไดครบกำหนดชำระคืน โดยอาจตออายุเงินกูกับแหลงเงินกูเดิมหรือแหลงใหมก็ได

นอกจากน้ียงัมีธรุกรรมทางการเงินอืน่ทีเ่ปนประโยชนตอการปรับโครงสรางหนี้3 อาทิ การทำธุรกรรมเกี่ยวกับอนุพันธหรือเครื่องมือทางการเงินอื่นๆ เพื่อใชในการบริหารความเสี่ยงท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลง

ของอัตราดอกเบ้ียหรืออัตราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ เชน สัญญาซื้อขายเงินตราลวงหนา (Foreign Exchange Forward Contract) สัญญาซ้ือขายอัตราดอกเบ้ียลวงหนา (Forward Rate Agreement) สัญญาซ้ือขายเงินตราหรือ อัตราดอกเบ้ียลวงหนาในตลาดซ้ือขายลวงหนา (Futures Contract) ฯลฯ

1หนี้สาธารณะ (Public Debt) คือ หนี้ที่กระทรวงการคลัง หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจกู หรือหนี้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน แตไมรวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจ ที่ทำธุรกิจใหกูยืมเงินโดยกระทรวงการคลังมิไดค้ำประกัน

2พระราชบัญญัติการบริหารหน้ีสาธารณะ พ.ศ. 2548 มาตรา 14 บัญญัติวา “ใหกระทรวงการคลังมีอำนาจปรับโครงสรางหน้ีสาธารณะ โดยการกูเงินรายใหมเพื่อ ชำระหน้ีเดิม แปลงหน้ี ชำระหน้ีกอนถึงกำหนดชำระ ขยายหรือยนระยะเวลาชำระหน้ี ตออายุ ซื้อคืน หรือไถถอนตราสารหน้ีของรัฐบาล หรือทำธุรกรรมทางการเงินอ่ืนที่เปนประโยชนตอการปรับโครงสรางหนี้สาธารณะตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง”

3กฎกระทรวงวาดวยการทำธุรกรรมทางการเงินอื่นท่ีเปนประโยชนตอการปรับโครงสรางหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2549

Page 15: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

13

à¤ÃÕ´áÅŒÇá¡‹ à¤ÃÕ´áÅŒÇá¡‹ ¡Ô¹μ ŒÒ¹à¤ÃÕ´…¡Ô¹μ ŒÒ¹à¤ÃÕ´… ¤×¹ÇÑÂÇѹÍѹʴãÊ ¤×¹ÇÑÂÇѹÍѹʴãÊ

เครียด...หนานิ่ว ค้ิวขมวด เปนเรื่องปกติของคน ยุคใหม เพราะสารพัดปญหามากมายในชีวิตประจำวันที่ขยันผานมาใหขบคิด ทั้งเรื่องงาน เรื่องครอบครัว เรื่องหนี้สิน รวมไปถึงปญหาอกีรอยแปดประการท่ีเขามาสรางความกดดันใหเกิดความเครียด บางคนก็รูตัววาเครียด บางคนก็เครียดแบบสะสม ซ่ึง มักไมค อย รู ตั วว า เค รียด ไม ว าจะ เปนความเครียดรูปแบบใดลวนสงผลตอการทำงานของรางกาย

สงผลตอภาวะของอารมณและจิตใจ อาการท่ีพบบอยๆ เชน มึนงง ปวดศีรษะ นอนไมหลับ ระบบขับถายแปรปรวน หายใจไมอิ่ม คล่ืนไสอาเจียน วิตกกังวล หงุดหงิด ซึมเศรา นอนไมหลับ เปนตน

นอกจากน้ี ยัง มีผลตอพฤติกรรมการบริโภคท่ี เปล่ียนไป บางคนเครียดแลวกินจนควบคุมไมได หุนที่เคย

เพรียวลมสมสวนก็ตุยนุยข้ึนพรวดชนิดย้ังไมอยู ที่สำคัญคือจะกลับมาลดใหผอมก็ยากเย็นแสนเข็ญ สวนพวกท่ีมีอาการซึมเศราเหงาหงอย เบ่ืออาหาร ยิ่งไมกิน รางกายจะขาดน้ำตาล ความหงุดหงิด ออนเพลีย หมดแรงพลังก็เขามาแทนท่ี จะคิดทำการใดๆ ก็ไรเรี่ยวแรง ผลที่ตามมาคือ

เกิดความวิตกกังวล อันเปนวงจรซ้ำซากของความเครียด ที่เกิดกับคนในสังคมสวนใหญ

ในภาวะเครียด รางกายจะสลายไขมันและน้ำตาล ออกมาเพื่อผลิตพลังงานเพิ่มข้ึน ยิ่งเครียดมากเทาไร รางกาย

จะยิ่งดึงสารอาหารออกมาใชมากข้ึน จึงทำใหเรารูสึกเพลีย ออนแรง หงุดหงิด นอนไมหลับ

เคล็ดการกินตานเครียดน้ันสำหรับคนนอนไมหลับแนะนำวา อาหาร

ม้ือค่ำควรกินแบบเบาๆ ไมอิ่มมาก สวนคนที่ชอบด่ืมชา กาแฟ เพื่อกระตุนรางกายจากอาการมึนงง

งวงเหงา ถาด่ืมนอยๆ ก็อาจรูสึกวาดี ชวยใหสมองแจมใส แตถาด่ืมมากเกินไปกลับเปนผลลบ เพราะกาเฟอีนมีฤทธิ์เปนสารกระตุนและเพ่ิมการหล่ังของกรดในกระเพาะและฤทธ์ิ ในการขับปสสาวะ ทำใหไตทำงานหนักข้ึน เพิ่มความเครียดในการทำงานของรางกาย ดังท่ีเราเห็นกันวาทำไมบางคนท่ี

ติดกาแฟหรือด่ืมกาแฟมากๆ ถึงดูแกกวาวัย

สำหรับอาหารท่ีตานเครียดควรเลือกกินอาหารท่ีให ไขมันต่ำ มีกากใยอาหารสูง เชน ผัก ผลไมหลากชนิด นอกจากนี้ การกินวิตามินบีซึ่ งมีมากในขาวกลอง ถั่ว ธญัพชืตางๆ และสารอาหารประเภทแอนติออกซิแดนตหรือสารตานอนุมูลอิสระอยางวิตามินซีมีมากในผักและผลไม อยางสม มะละกอ แครอต บรอกโคลี กะหล่ำปลี มะเขือเทศ เปนตน ก็จะชวยใหรางกายมีระบบภูมิคุมกันและทนตอ

ความเครียดในสภาวะตางๆ ได ดีขึ้น การกินวิตามินซี นอกจากชวยตานความเครียดแลว ยังมีประโยชนมากมายท่ีสาวๆ ชอบกันมาก คือชวยเสริมสรางคอลลาเจนทำใหผิวเปลงปล่ัง สดใส และชวยตานหวัด

มุมสุขภาพ

นอกจากน้ี การมองโลกในแง ดี นอนพักผอนให

เพียงพอวันละ 6 -8 ชั่ ว โมง ด่ืมน้ำวันละ 8 แกว และ ออกกำลังกายสม่ำเสมอก็ทำใหเรื่องเครียดเปนปญหาท่ีเราสามารถจัดการไดไมยากนัก ยิ่งขจัดความเครียดไดมากและ

บอยเทาใด เทากับเปนการคืนกำไรใหแกชีวิต พรอมคืนวัย วันอันสดใสใหเราไดมีแรงตอสูกับปญหาตางๆ ไปไดอีกนาน

Page 16: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

14

ขาวประชาสัมพันธ จาก สบน. สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

¢‹ÒÇ¡Ô¨¡ÃÃÁ

2. เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะใหการตอนรับคณาจารย และนักศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 40 คน ในการเขาเยี่ยมชมองคกรและรับฟงการบรรยายเก่ียวกับการบริหารจัดการหน้ีสาธารณะ

1. เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2554 สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะไดจัดสัมมนาเพ่ือเผยแพรผลงานวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง “ภาระผูกพันทางการคลังของรัฐบาล : หน้ีสาธารณะท่ีซอนเรน” (Contingent Liability : The Hidden Public Debt) โดยมีผูแทนจากสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินตางๆ เขารวมรับฟงการสัมมนา ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ

Page 17: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

15

3. เม่ือวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะจัดกิจกรรมส่ือมวลชนสัมพันธระหวางผูบริหาร สบน. กับส่ือมวลชนสายเศรษฐกิจ ประจำกระทรวงการคลัง โดย

4. สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ จัดจำหนายพันธบัตรออมทรัพยกระทรวง การคลัง ในงานมหกรรมทางการเงินและ การลงทุน Money Expo 2011 ระหวาง

วันที่ 12-15 พฤษภาคม 2554 ณ อาคาร ชาเลนเจอร อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ ในโอกาสนี้ ผูอำนวยการสำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะไดรวมตอบคำถามเกี่ยวกับ

การลงทุนในตราสารหนี้ภาครัฐและนำเสนอหัวขอ “ออม-ลงทุนอยางไร ในยุคเงินเฟอพุง-ของแพง-คาแรงถูก” ใหแกผูเขารวมงาน

นายจักรกฤศฏ์ิ พาราพันธกุล ผูอำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะไดใหสัมภาษณพิเศษในประเด็น “ความพรอม และกำหนดในการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราผลตอบแทนผันแปรตามการเปล่ียนแปลงของเงินเฟอ (Inflation Linked Bond)”

Page 18: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

16แหลงอางอิงขอมูล สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาญจนบุรี www.kri.onab.go.th

ธรรมะกับการงาน

¸ÃÃÁÐÊÓËÃѺ¡Ò÷ӧҹã¹áºº Perfectionist

...อุปนิสัยการทำงานในแบบ Perfectionist (สมบูรณแบบนิยม) ในลักษณะ “เก็บทุกเม็ด” ราวกับมีบรรพบุรุษเปน “คุณยาละเมียด คุณแมละไม คุณนายละเอียด” นั้น มีทั้งขอดีและขอเสีย

ขอดี ก็คือ จะทำใหเปนคนทำงานคุณภาพชนิด “จำหลักไวในใจชน” ไมวาจะจับ ทำอะไรก็ตาม ก็จะทำใหไดงานคุณภาพท้ังหมด และคนประเภทน้ีหลังจากสรางงานแลว งานจะยอนกลับมาสรางคน เหมือนผูกำกับหนังชื่อกองโลกอยางจางอี้โหมวหรือสตีเวน สปลเบิรก พลันที่ปลอยงานช้ินหนึ่งหลุดมือออกไปสูสาธารณชนแลว งานก็ไดสรางชื่อเสียงใหเขามากมาย และทำใหเขาไมเคยตกงานอีกเลยตลอดชีวิต

ขอเสีย ก็คือ จะทำใหเปนคนที่แบกความเครียดสูง สุขภาพจิตเสื่อม สุขภาพกายออนแอ ไมมีเวลาใหแกตัวเอง ครอบครัว หรือสิ่งสุนทรียในชีวิต อาทิ การทองเที่ยว การเดินทาง การช่ืนชมธรรมชาติ การดูหนังฟงเพลง การอานหนังสือ หรือแมแต

การคบเพ่ือน หรือที่หนักหนอยก็กลายเปนคนที่ปวยหนักหนาสาหัสเพราะการทำงาน ทางแกสำหรับคนสมบูรณแบบนิยม ก็คือ ควรถือหลักของนักปฏิบัติธรรมท่ีวา

“ทำเหตุใหมาก ปลอยวางในผล” หมายความวา เวลาทำงานจงทำใหเต็มท่ี ทำใหดีที่สุด แตเม่ือทำแลวตองปลอยวางเปน ไมตองคาดหวังสูงสุดจนนำเอางานเขามารวมกับลมหายใจ

หรือเก็บไปฝนจนไมเปนอันกินอันนอน เมื่อทำงานในสวนของตนอยางดีที่สุดแลว คร้ันสงงานใหคนอื่นหรือแผนกอ่ืนแลว

หากงานน้ันไมเปนไปตามความคาดหวังก็ควรเรียนรูที่จะยอมรับดวยความเขาใจวา ในโลกน้ี

ไมมีใครไดทุกอยางดังใจหวัง และไมมีใครพลาดหวังทุกอยางไป ถาเราทำในสวนของเราอยางดีที่สุดแลว แมผลออกมาจะไมเปนไปอยางท่ีหวัง ก็ไมควรเสียใจ…

“เหนื่อยกับการ ที่ตองเปนคน

Perfectionist หรือเปลา…ทำทุกอยางตอง

Perfect”

ธรรมะกับการงาน

16

Page 19: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

17

คำคม

“You get the best out of others when you give the best

of yourself.” - - Harvey Firestone - -

“คุณจะไดรับสิ่งที่ดีที่สุดของคนอื่น เมื่อคุณไดใหสิ่งที่ดีที่สุดของคุณไป”

1. ยอดหน้ีสาธารณะคงคาง ณ สิ้นเดือน

มีนาคม 2554 คิดเปนรอยละเทาไร

ของ GDP

2. รูปแบบ การระดมทุนในประเทศ (Domestic Financing) จำแนกไดกี่รูปแบบ

อะไรบาง

3. การรวมทุนระหวางภาครัฐและภาคเอกชน (PPP)

ถือเปนหนี้สาธารณะหรือไม

4. การชำระคืนหนี้กอนครบกำหนด

ทำเพื่อประโยชนอะไรและใชเงิน

จากแหลงใด

5. วัตถุประสงค ของการกอหนี้ ประกอบไปดวย

อะไรบาง

ตอบคำถามชิงรางวัล กรุณาสงคำตอบมาท่ี E-mail Address : [email protected]

หรือทางไปรษณีย ที่อยูสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ถนนพระรามท่ี 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

ภายในเดือนกรกฎาคม 2554 พรอมระบุ ชือ่-ทีอ่ยูตดิตอกลับใหชดัเจน (วงเล็บมุมซองวาตอบคำถามรวมสนุก)

ผูที่ตอบถูก 10 ทานแรกเทานั้น จะไดรับรางวัลจาก สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

1. ทางโทรศัพท หมายเลข 02-2658050

ตอ 5128, 5105 รองเรียน/รองทุกข แจงเบาะแสการทุจริต

ประพฤติมิชอบ ของบุคลากรสำนักงาน บริหารหน้ีสาธารณะ 2. ทางโทรสาร

หมายเลข 02-2739147

3. ทางไปรษณีย ถงึคณะกรรมการบริหาร

ศนูยรับเรือ่งรองเรยีน สบน. กระทรวงการคลัง ท่ีอยู ถนนพระรามท่ี 6 แขวงสามเสนใน

เขตพญาไท กทม. 10400

4. เวบ็ไซต www.pdmo.mof.go.th (หวัขอ “ศนูยรับเรือ่ง

รองเรยีน”)

5. กลองแสดงความคิดเหน็ ณ ศนูยขอมูลขาวสาร

สบน.

ผานทาง

6. หรือมาดวยตนเองที ่สบน. อาคารสำนักงานเศรษฐกจิการคลัง

ชัน้ 4 ทีอ่ยู ถนนพระรามท่ี 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400

Page 20: ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554