7
บทที3 วิธีการดำเนินงานวิจัย ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การใชองคประกอบทางเรขศิลปสำหรับงานออกแบบสื่อแนะแนวเพื่อการศึกษาตอใน ระดับมหาวิทยาลัยดานการออกแบบและศิลปะ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นั้นเปนการสรางสื่อ เพื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียและเพื่อแนะแนวการ ศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียในสถาบันการศึกษาตางๆใหเปนที่รูจักมากขึ้น รวมถึง สรางตัวเลือกทางดานการศึกษาให กลุมนักเรียนที่ยังไมมีแนวทางที่แนชัดในการศึกษาตออีกดวย ในการศึกษาการวิจัยครั้งนี้ไดวางแนวขั้นตอนการ ดำเนินงานและศึกษา มีรายละเอียดดังตอไปนี3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 3.3 การสรางเครื่องมือที่ใชในการคนควา 3.4 การดำเนินงานทดลอง 3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีแนวโนมและความสนใจการศึกษา ตอดานดิจิตอลมีเดียมาจากการสุมแบบงาย (Simple Random Sampling) จำนวน 100 คน 3.1.2 กลุมตัวอยาง ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นมัธยมศึกษาปที6 สายวิทย - คณิต จำนวน 1 หอง 40 คน และ สายศิลป - ภาษา จำนวน 1 หอง 40 คนและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที5 จำนวน 10 คน และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที4 จำนวน 10 คน ซึ่งกลุมตัวอยางทั้งหมดไดมาจากการเลือกตัวอยางสุมแบบงาย (Simple Random Sampling) จากโรงเรียน .................................... 3.1.2 ผูเกี่ยวของในงานวิจัย 3.1.2.1 ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ เปนผูที่มีความรูความสามารถ และมีประสบการณในดานการออกแบบ 3.1.2.2 ผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหา เปนผูที่มีความรูความเขาใจในการแนะแนวการศึกษาตอในะดับอุดมศึกษา APA 486 Design and Analysis of Experiments ญาณพัฒน บุญเกตุ 52217276

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

Embed Size (px)

DESCRIPTION

3.1.2 กลุมตัวอยาง 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 3.3 การสรางเครื่องมือที่ใชในการคนควา 3.4 การดำเนินงานทดลอง 3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 3.2.2 เทคนิคที่ใชในการศึกษาแบงออกเปน 3 ขั้นตอนคือ 3.2.1 เครื่องมือที่ใชนการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย APA 486 Design and Analysis of Experiments

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง “ การใชองคประกอบทางเรขศิลปสำหรับงานออกแบบส่ือแนะแนวเพื่อการศึกษาตอใน

ระดับมหาวิทยาลัยดานการออกแบบและศิลปะ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ” นั้นเปนการสรางส่ือ

เพื่อแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียและเพื่อแนะแนวการ

ศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียในสถาบันการศึกษาตางๆใหเปนที่รูจักมากข้ึน รวมถึง สรางตัวเลือกทางดานการศึกษาให

กลุมนักเรียนที่ยังไมมีแนวทางที่แนชัดในการศึกษาตออีกดวย ในการศึกษาการวิจัยครั้งนี้ไดวางแนวข้ันตอนการ

ดำเนินงานและศึกษา มีรายละเอียดดังตอไปนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา

3.3 การสรางเครื่องมือที่ใชในการคนควา

3.4 การดำเนินงานทดลอง

3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.1.1 ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีแนวโนมและความสนใจการศึกษา

ตอดานดิจิตอลมีเดียมาจากการสุมแบบงาย (Simple Random Sampling) จำนวน 100 คน

3.1.2 กลุมตัวอยาง ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายวิทย - คณิต

จำนวน 1 หอง 40 คน และ สายศิลป - ภาษา จำนวน 1 หอง 40 คนและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 จำนวน 10 คน

และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 10 คน ซ่ึงกลุมตัวอยางทั้งหมดไดมาจากการเลือกตัวอยางสุมแบบงาย

(Simple Random Sampling) จากโรงเรียน ....................................

3.1.2 ผูเกี่ยวของในงานวิจัย

3.1.2.1 ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ เปนผูที่มีความรูความสามารถ และมีประสบการณในดานการออกแบบ

3.1.2.2 ผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหา เปนผูที่มีความรูความเขาใจในการแนะแนวการศึกษาตอในะดับอุดมศึกษา

APA 486 Design and Analysis of Experiments

ญาณพัฒน บุญเกตุ X 52217276

Page 2: บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือ ส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอ

ดานดิจิตอลมีเดีย และแบบประเมินคุณภาพ ของเครื่องมือ โดยผูเชี่ยวชาญทางดานส่ือและเนื้อหา และแบบประเมิน

ความพึงพอใจ โดยกลุม ตัวอยาง ซ่ึงในเครื่องมือแตละชนิดมีรายละเอียดดังนี้

3.2.1 เครื่องมือที่ใชนการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย

X 1. ส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย ขนาด A3

X 2. แบบประเมินคุณภาพของส่ือสำหรับผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบ และ ดานเนื้อหาการแนะแนว

X 3. แบบประเมินความพึงพอใจหลังจากการใชส่ือของกลุมตัวอยาง

3.2.2 เทคนิคที่ใชในการศึกษาแบงออกเปน 3 ขั้นตอนคือ

1. ทำแบบประเมินคุณภาพดานการออกแบบ ของส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจ

การศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย ซ่ึงประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบจำนวน 3 ทาน

2. ทำแบบประเมินคุณภาพดานเนื้อหา ของส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษา

ตอดานดิจิตอลมีเดีย ซ่ึงประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานการแนะแนวการศึกษาจำนวน 3 ทาน

3. ทำแบบประเมินพึงพอใจหลังจากที่ไดชมส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการ

ศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียของกลุมตัวอยางในรูปแบบของ Lickers ซ่ึงประเมินจากกลุมตัวอยางจานวน 100 คน

3.3 การสรางเครื่องมือที่ใชในการศึกษา

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ประกอบดวยส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการ

ศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย และแบบ ประเมินคณภาพของเครื่องมือ โดยผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบและดาน

การแนะแนวการศึกษา แบบประเมินความพึงพอใจ โดยกลุมตัวอยาง เครื่องมือแตละชนิดจะมีข้ันตอนใน การสราง

ดังนี้

APA 486 Design and Analysis of Experiments

ญาณพัฒน บุญเกตุ X 52217276

Page 3: บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

3.3.1 ส่ือแนะแนวมีลำดับขั้นตอนการทำงานดังนี้

3.3.1.1 การเตรียมงาน

ก. การศึกษาหัวขอเรื่องที่ใกลเคียงหรือมีความเกี่ยวของกับโครงงานที่จัดทำข้ึน

ข. ศึกษากลุมตัวอยางซ่ึงเปนการวิเคราะหกลุมตัวอยางวาอยูในกลุมใด และวัยใดที่จะมาชมส่ือชุดนี้ เชน ความรู

ความสามารถ ความสนใจ เพศ อายุ ระดับการศึกษา พื้นฐานทางวัฒนธรรมและ อื่น ๆ ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการ

สรางส่ือวีดิทัสนใหเหมาะสม และเปนการกำหนดวิธีการนำเสนอของ เรื่องเนื้อหา ในการศึกษาโครงงานครั้งนี้ กลุม

ตัวอยางที่ใชในการศึกาครั้งนี้ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายวิทย - คณิต

จำนวน 1 หอง 40 คน และ สายศิลป - ภาษา จำนวน 1 หอง 40 คนและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 จำนวน 10 คน

และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 10 คน ซ่ึงกลุมตัวอยางทั้งหมดไดมาจากการเลือกตัวอยางสุมแบบงาย

(Simple Random Sampling) จากโรงเรียน ....................................

ค. กำหนดวัตถุประสคของเครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ

(1) เพื่อสรางส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย

(2) เพื่อประเมินหาคุณภาพของส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดาน

ดิจิตอลมีเดีย

(3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดาน

ดิจิตอลมีเดีย

3.3.1.2 สรางแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart)

ทำการวิเคราะหเนื้อหา ศึกษาขอมุลที่เกี่ยวกับการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียในระดับอุดมศึกษาของไทย

โดยใชวิธีระดมสมอง (Brain Storm) เพื่อรวบรวมเนื้อหาโดยรวมทั้งหมดที่เกี่ยวของกับงานวิจัย

3.3.1.3 สรางแผนภูมิโครงขายเนื้อหา (Content Network Chart)

เปนการวิเคราะหโครงขายเนื้อหาของการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียในระดับอุดมศึกษาของไทย ออกเปนแผนภูมิโครง

ขายเนื้อหา อันประกอบดวยขอมูลที่จะนำมาใชในการออกแบบส่ือ ซ่ึงตองเปนขอมูลที่มีความสำคัญ เชน ลำดับ

คะแนน สูงสุด และ ต่ำสุดของแตละภาควิชาเปนตน

3.3.1.4 รวบรวมขอมูลและเอกสาร

รวบรวมขอมูลและเอกสารเพื่อการเตรียมเนื้อหาในการสรางส่ือแนะแนวการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียในระดับ

อุดมศึกษาของไทย ซ่ึงข้ันตอนนี้จะศึกษา รวบรวม บันทึก คัดลอก สืบคน ขอมูลเกี่ยวกับสถานศึกษาที่เกี่ยวกับดาน

ดิจิตอลมีเดียในประเทศไทย ในดานตางๆ

3.3.1.5 คัดเลือกขอมูลและเอกสาร

หลังจากรวบรวมขอมูลและตรวจสอบขอมูลและเอกสารทั้งหมดแลว จึงนำขอมูลมาคัดเลือกเอา เฉพาะที่เหมาะสม

จะใชในการออกแบบส่ือแนะแนวนี้

APA 486 Design and Analysis of Experiments

ญาณพัฒน บุญเกตุ X 52217276

Page 4: บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

3.3.1.6 วางแผนการทำงาน

โดยการเตรียมแผนการออกแบบ เตรียมขอมูลที่จำเปน คนหาขอมูลเพิ่มเติม และศึกษางานออกแบบอื่นๆที่มีความ

เกี่ยวของ หรือ คลายคลึงกับการผลิตส่ือดังกลาว

3.3.1.7 งานศิลป

จัดเตรียมทำหัวเรื่อง การเชื่อมเนื้อหา ภาพประกอบ สัญลักษณ แบบอักษร การใชสี การออกแบบโดยรวม ภาพราง

ที่จะใชในการผลิตส่ือแนะแนวการศึกษาดานดิจิตอลมีเดียชุดนี้

3.3.1.8 ตรวจสอบแกไข

หลังจากส้ินสุดการออกแบบ จะทำการตรวจสอบแกไขขอมูลใหมีความถูกตอง โดยมีอาจารยที่ปรึกษาใหคำแนะนำ

3.3.2 การสรางแบบประเมินส่ือแนะแนวมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้

3.3.2.1 ศึกษาวิธีการจัดสรางแบบประเมินส่ือแนะแนว เพื่อที่จะนำมาจัดสรางเปนแบบประเมินส่ือส่ือแนะแนว ที่ใช

เปนเครื่องมือที่ใชในการศึกษา

3.3.2.2 สรางแบบประเมินส่ือแนะแนว ซ่ึงประกอบไปดวยแบบประเมินคุณภาพของส่ือโดยผูเชี่ยวชาญดานการ

ออกแบบ และ ดานการแนะแนวการศึกษา โดยมีตัวเลือก 5 ระดับคือ ดีมาก ดี ปานกลาง นอย และปรับปรุง ซ่ึงการ

ประเมินในแตละขอจะมี นาหนักคะแนนดังตอไปนี้

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดีมาก XXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 5

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดี XXXXXXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 4X XX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปานกลาง XXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 3

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXนอย XXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 2XXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปรับปรุง XXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 1

3.3.2.3 นำแบบประเมินส่ือแนะแนวใหอาจารยที่ปรึกษาโครงงานพิจารณาตรวจสอบ และ ทำการแกไขใหถูกตอง

3.3.2.4 นำแบบประเมินส่ือแนะแนวพรอมกับส่ือแนะแนวเรื่องส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยม

ปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย มาให ผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบ จำนวน 3 ทาน และผูเชี่ยวชาญ

ดานเนื้อหาเกี่ยวกับการแนะแนวการศึกษา 3 ทาน เพื่อประเมินคุณภาพของส่ือแนะแนวเพื่อ ปรับปรุงแกไข

APA 486 Design and Analysis of Experiments

ญาณพัฒน บุญเกตุ X 52217276

Page 5: บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

3.3.3 การสรางแบบประเมินความพึงพอใจ

3.3.3.1 ศึกษาวิธีการจัดสรางแบบประเมินความพึงพอใจ เพื่อที่จะนำมาจัดสรางเปนแบบประเมินความ

พึงพอใจโดยกลุมตัวอยางหลังจากชมส่ือแนะแนว

3.3.3.2 สรางแบบประเมินส่ือแนะแนว ซ่ึงประกอบไปดวยแบบประเมินคุณภาพของส่ือโดยกลุมตัวอยาง โดยมีตัว

เลือก 5 ระดับคือ ดีมาก ดี ปานกลาง นอย และปรับปรุง ซ่ึงการประเมินในแตละขอจะมี นาหนักคะแนนดังตอไปนี้

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดีมาก XXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 5

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXดี XXXXXXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 4X XX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปานกลาง XXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 3

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXนอย XXXXXXXXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 2XXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXปรับปรุง XXXXมีน้ำหนักคะแนนเทากับ 1

3.3.3.3 นำแบบประเมินส่ือแนะแนวใหอาจารยที่ปรึกษาโครงงานพิจารณาตรวจสอบ และ ทำการแกไขใหถูกตอง

3.3.3.4 นำแบบประเมินส่ือแนะแนวพรอมกับส่ือแนะแนวเรื่องส่ือแนะนำแนวทางการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยม

ปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดีย ไปทดลองกับกลุมตัวอยาง

3.4 การดำเนินงานทดลอง

เม่ือทำการสรางส่ือแนะแนว และแบบประเมินคุณภาพเสร็จแลว จะมีวิธีการดาเนินการทดสอบ ดังนี้

3.4.1 ประเมินความพึงพอใจโดยกลุมตัวอยาง

ในการสอบถามความคิดเห็นของส่ือแนะแนวโดยกลุมตัวอยางจำนวน 100 คน โดยใชวิธีการสุมอยางงาย จากกลุม

ประชากร มีวิธีการดำเนินการทดลองดังนี้

X 3.4.1.1 แนะนำเนื้อหา บอกวัตถุประสงคในการจัดทำส่ือแนะแนวชุดนี้

X 3.4.1.2 แจกส่ือแนะแนวการศึกษาใหกับนักเรียนมัธยมปลายที่สนใจการศึกษาตอดานดิจิตอลมีเดียใหกลุม

X X ตัวอยางชม

X 3.4.1.3 ใหกลุมตัวอยางประเมินความพึงพอใจหลังจากชมส่ือ

X 3.4.1.4 รวบรวมแบบประเมินความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่ไดประเมินไวแลวมาทำการวิเคราะห

X ความคิดเห็นของส่ือแนะแนวตอไป

APA 486 Design and Analysis of Experiments

ญาณพัฒน บุญเกตุ X 52217276

Page 6: บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูศึกษาไดทำการหาคุณภาพของชุดส่ือแนะแนวที่สราง ข้ึนจากผูเชี่ยวชาญทาง

ดานส่ือการออกแบบกราฟคส่ือจำนวน 3 ทาน จากผูเชี่ยวชาญทางดานการแนะแนวเพื่อการศึกษาตอจำนวน 3 ทาน

และสอบถามความ คิดเห็นจากกลุมตัวอยางจานวน 100 คน โดยเลือกใชคาสถิติดังนี้

3.5.1 คาเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต

การหาคาเฉลี่ยสามารถหาไดโดยใชสูตร

X X X X X X X = ∑X X X X X X X N

โดยที่ X X X X = คะแนนเฉลี่ยของกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง

X X X X = คะแนนที่ไดของแตละกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง

X X X ∑ = ผลรวมของขอมูล

X X X N = จำนวนของกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง

3.5.2 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง เมื่อมีการกระจายจะใชสูตร

X X โดยที่ X X S.D = สวนเบี่บงเบนมาตรฐาน

X X X X ∑ = ผลรวมของขอมูล X X X X X

X X X X X = คะแนนเฉลี่ยของกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง

X X X X X = คะแนนที่ไดของแตละกลุมผูเชี่ยวชาญและกลุมตัวอยาง

X X X X n = จำนวนผูทำแบบทดสอบ

APA 486 Design and Analysis of Experiments

ญาณพัฒน บุญเกตุ X 52217276

Page 7: บทที่ 3 วิธีการดำเนินงานวิจัย

3.5.2 วิธีการเก็บขอมูล

ในการเก็บขอมูลจะทำการเก็บ โดยการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต และเสนอเปนตารางประกอบคำบรรยาย โดยการนำไป

เปรียบเทียบกับเกณฑการแปลความหมายคาเฉลี่ยกำหนดคาของชองที่ประเมินคาไวโดยชองความคิดเห็นดวยตาง

กันดังนี้ คือ

ดีมาก X มีคา 5

X X X X X ดี มีคา 4 X X X X X

X X X X X ปานกลาง มีคา 3 XX X X

X X X X X นอย มีคา 2 X X X X X

X X X X ปรับปรุง มีคา 1

3.5.4 วิธีเคราะหขอมูล

นำคาของแตละชองที่คำนวณไดมาบวกกันแลวหารดวยความถี่ทั้งหมด ก็จะไดคาเฉลี่ยของคานั้น ๆ แลวจึงนำมา

เปรียบเทียบกับเกณฑการแปลความหมายตามคาน้ำหนักคะแนนเพื่อทำการวิเคราะห ขอมูลที่ไดวาอยูในระดับที่ต้ัง

วัตถุประสงคไวหรือไม

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงคานาหนักคะแนนใชในการเปรียบเทียบของแบบประเมินคุณภาพ

น้ำหนักคะแนน คาระดับ

4.50 - 5.00 ดีมาก

3.50 - 4.49 ดี

2.50 - 3.49 ปรับปรุง

1.50 - 2.49 พอใช

1.00 - 1.49 ควรปรับปรุง

ตารางที่ 3.2 ตารางแสดงคานาหนักคะแนนใชในการเปรียบเทียบของแบบประเมินความพึงพอใจ

น้ำหนักคะแนน คาระดับ

4.50 - 5.00 มีความพึงพอใจมากที่สุด

3.50 - 4.49 มีความพึงพอใจมาก

2.50 - 3.49 มีความพึงพอใจปานกลาง

1.50 - 2.49 มีความพึงพอใจนอย

1.00 - 1.49 มีความพึงพอใจนอยที่สุด

APA 486 Design and Analysis of Experiments

ญาณพัฒน บุญเกตุ X 52217276