23
กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture ) โดย น.พ.ธเนศ วรรธนอภิสิทธิ

กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

Embed Size (px)

DESCRIPTION

กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

Citation preview

Page 1: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

กระดูกสันหลังหัก(Spine Fracture )

โดย น.พ.ธเนศ วรรธนอภสิิทธิ์

Page 2: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

กระดูกสันหลังเป็นโครงสร้างของร่างกายที่มีหน้าที่ป้องกันไขสันหลังที่อยู่ภายใน เมื่อมีการหักของกระดกูสันหลังท าให้มีการบาดเจ็บของไขสันหลังร่วมด้วย ความรุนแรงของการเสียการท างานของระบบประสาทขึ้นกับต าแหน่งของการบาดเจ็บและความรุนแรงของอุบัติเหตุ

สาเหตุเกิดจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ 24% ตกจากที่สูง9%อุบัติเหตุจากการท างาน 28% และอุบัติเหตุจากการเล่นกีฬา16%

การบาดเจบ็ของไขสันหลังพบในผู้ชาย61%และในผู้หญิง 39%

Page 3: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

อาการของกระดูกสันหลังหักปวดคอหรือหลังบริเวณที่กระดูกหกั การเคลื่อนไหวบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บลดลงมีการผิดรูปของกระดูกสันหลังการสูญเสียการท างานของระบบประสาท แขนขาชาอ่อนแรง เป็นอัมพาตสูญเสียการควบคุมระบบขับถ่าย

Page 4: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

การตรวจวินิจฉัย

การตรวจ X-ray เป็นการตรวจเบื้องต้นในรายที่สงสัยว่ามีการบาดเจบ็ในบริเวณดังกล่าว

CT scan ช่วยในการบอกถึงลักษณะการหักของกระดกูสันหลังได้ดีกว่า x –ray

MRI ช่วยประเมินการบาดเจ็บของไขสันหลังและเนื้อเยื่อโดยรอบ

Page 5: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

การรักษาเบื้องต้นการใส่ปลอกคอการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างระมัดระวังโดยใช้ backboard

การตรวจหาการบาดเจ็บอื่นที่พบร่วมการให้ยาสเตียรอยด์เพื่อลดการบวมของไขสันหลังในรายที่ด้รับอุบัติเหตุมา

ไม่เกิน 8ชั่วโมงซึ่งต้องใช้อย่างระมัดระวังการให้น้ าเกลอืและออกซิเจนการส่งตรวจทางรังสี

Page 6: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

การรักษาโดยไม่ผ่าตัดมีข้อบ่งชี้คือในรายที่กระดกูสันหลังหักทีไ่ม่เสียความมั่นคงของกระดูกสันหลังในรายที่ไม่มีหรือมีการบาดเจ็บของไขสันหลังไม่มากในรายที่สภาพร่างกายไม่พร้อมที่จะได้รับการผ่าตัด มีโรคประจ าตัวรุนแรง

รักษาโดยการใส่เฝือกพยุงคอหรือล าตัวประมาณ 8-12สัปดาห์การพักและการใช้ยาแก้ปวด

Page 7: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ตัวอย่างปลอกประคองคอและเฝือกดามกระดูกคอ

Page 8: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ตัวอย่างเสื้อประคองกระดูกสันหลังและเฝือกดามกระดูกสันหลัง

Page 9: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

การรักษาโดยการผ่าตัดมีข้อบ่งชี้คือใช้ในรายที่กระดกูสันหลังหักที่เสียความมั่นคงของกระดูกสันหลังในรายที่มีกระดกูหักกดทับไขสันหลังหรือเส้นประสาทในรายที่มีการผิดรูปของกระดูกสันหลังอย่างมากในรายที่รักษาด้วยวิธีไม่ผ่าตัดแล้วไม่ได้ผล

Page 10: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยหญิงอายุ 38 ปีได้รับอุบัติเหตุรถมอร์เตอร์ไซด์ 2ปีก่อน ปวดคอไม่มาก เริ่มมีอาการเดินเกร็งแขนขาชาอ่อนแรงประมาณ 2เดือน

X-ray และMRI พบกระดูกคอข้อที2่หักเคลื่อนกดทับไขสันหลัง(Nonunion fracture

odontoid with cord compression)

Page 11: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดดึงกระดูกเข้าที่และเช่ือมกระดูกต้นคออาการแขนขาอ่อนแรงดีขึ้นสามารถเดินได้ปกติ

Page 12: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยชายไทยอายุ 25 ปี ได้รับอุบัติเหตุรถยนต์ มีอาการปวดต้นคอ หน้าเอียงประมาณ 1เดือน แขนขวาชาอ่อนแรง X-rayและMRI พบว่ามีข้อต่อกระดูกคอข้อที5่-6 เคลื่อน (unilateral facet dislocation)

Page 13: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดดึงกระดูกเข้าที่และดามกระดูกด้วยโลหะ หลังผ่าตัดไม่มีอาการปวดคอและการอ่อนแรงของแขน

Page 14: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยหญิงอายุ 47ปี ตกจากบันได มีอาการปวดคออย่างรุนแรงเป็นอัมพาตตั้งแต่บริเวณมือลงไป มีรอยฟกช้ าที่ด้านหลังของคอ X-ray พบมีกระดูกคอข้อที่ 6-7เคลื่อน

Page 15: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

MRI พบว่ามีกระดูกคอเคลื่อนกดทับไขสันหลัง (Bilateral facet dislocation) ไขสันหลังฟกช้ าอย่างมาก ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดดึงกระดูกเข้าที่และเชื่อมกระดูกทางด้านหน้า

Page 16: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยชายหญิงอายุ 50 ปี ได้รับอุบัติเหตุรถยนต์ มีอาการปวดกลางหลังขาชาอ่อนแรง ควบคุมการขับถ่ายไม่ได้ X-ray พบกระดูกสันหลังส่วนเอวข้อที1่ หักยุบ( Burst Fracture

L1)

Page 17: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

MRI พบชิ้นกระดูกหกักดทับไขสันหลัง ไขสันหลังมีรอยฟกช้ า

Page 18: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

หลังผ่าตัดดามกระดูกสันหลัง ผู้ป่วยสามารถกลับมาเดินได้ ขับถ่ายได้ปกติ

Page 19: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยชายไทยอาย4ุ7 ปี ขับรถชนเกาะกลางถนน ปวดหลัง เป็นอัมพาตตั้งแต่เอวลงมา X-rayและMRI

พบกระดูกสันหลังหักเคลื่อนกดทับไขสันหลัง(Fracture dislocationT12-L1)

Page 20: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

รูปX-rayหลังได้รับการผ่าตัดดึงกระดูกเข้าที่และยึดตรึงด้วยโลหะ

Page 21: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยชายไทยอายุ 30ปีได้รับอุบัติเหตุขณะท างานก่อสร้างมีอาการปวดหลังและขา2ข้างขยับไม่ได้ X-ray พบมีกระดูกสันหลังหักเคลื่อน

(Fracture dislocation L4-5) และกระดูกเชิงกรานหัก

Page 22: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

MRI พบกระดูกเอวข้อที่4-5หักเคลื่อน

Page 23: กระดูกสันหลังหัก (Spine Fracture)

ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดดึงกระดูกเข้าที่และยึดตรึงด้วยโลหะ