102

01 Knowledge 1-8

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 01 Knowledge 1-8
Page 2: 01 Knowledge 1-8

คํานํา

กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม มีหนาที่หลักในการดูแล คนหา และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชาติ ไดมีนโยบายในการจัดทําองคความรู โดยมอบหมายใหหนวยงานในสังกัดกรมศิลปากรไปดําเนินการ โดยมีวัตถุประสงคจะรวบรวมองคความรูที่กระจัดกระจายอยูตามสวนตาง ๆ ของประเทศไทยใหเปนสมบัติกลางที่ทกุคนสามารถจะเขาถึงองคความรูเหลานี้ได

สํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา ไดรับอนุมัติใหดําเนินการตามโครงการจัดการความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน (อาคารเรือนทรงไทย) ประจําปงบประมาณ 2553 จํานวนเงินงบประมาณ 72,000.- บาท (เจ็ดหมื่นสองพันบาทถวน) เสนอโครงการโดย นายฤทธิเดช ทองจันทร นักวิชาการชางศิลปชํานาญการ รับผิดชอบโครงการโดยกลุมอนุรักษโบราณสถาน สํารวจและเรียบเรียงโดย นายพเยาว เข็มนาค ขาราชการบํานาญกรมศิลปากร

บัดนี้ องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน (อาคารเรือนทรงไทย) ไดดําเนินการจัดทําตนฉบับเสร็จเรียบรอยแลว และหวังวาองคความรูเลมนี้คงนําไปใชประโยชนไดตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

สํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา 30 สิงหาคม 2553

Page 3: 01 Knowledge 1-8

สารบัญ

คํานํา บทนํา 1

- ความรูแบบชัดแจง 1 - ความรูที่ฝงอยูในตัวคน 1

บทท่ี 1 พัฒนาการทางสังคม 3 - ทวารวดี 3 - ลพบุรี 3 - อูทอง 3 - อยุธยา 3 - รัตนโกสินทร 3 - เรือนเครื่องผูก 5 - เรือนเครื่องสับ 6 - เรือนปนหยา 7 - เรือนมะนิลา 7 - เรือนขนมปงขิง 8

บทท่ี 2 ขอบเขตการศึกษาและคําจํากัดความของคําวาเรอืนในความหมายตาง ๆ 11 - ขอบเขตการศึกษา 11 - เรือนในความหมายตาง ๆ 17

บทท่ี 3 ขอกําหนดของเรือนไทย 25 - ขอกําหนดตาง ๆ 25 - เรือนไทยแบงโครงสรางหลักออกเปน 3 สวน 31

บทท่ี 4 ประเภทของเรือนไทยและภูมิอากาศ 33 - เรือนครอบครัวเดี่ยว 33 - เรือนหมู 34 - ภูมิอากาศ 38

บทท่ี 5 ขอดี ขอเสีย ของเรือนไทย คติความเชื่อ 39 - ขอดี 39 - ขอเสีย 39 - คติความเชื่อเกี่ยวกับการสรางเรือน 40

บทท่ี 6 องคประกอบของเรือนไทย 46

Page 4: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 7 บานเรือนสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทรตอนตน 70 - สมัยอยุธยา 70 - สมัยรัตนโกสินทรตอนตน 75

บทท่ี 8 ตําราปลูกเรือน 78 - ความเชื่อในการปลูกเรือน 79 - วันปลูกเรือน 79 - ปลูกเรือนตามเดือน 79 - ดูพื้นที่สูงต่ํา 80 - วิธีขุดหลุมและโกยดิน 80 - วิธีสมมุติช่ือคนขุดหลุม 80 - ประเพณียกเสาเอก 81 - วันที่นาคหันศีรษะ 83 - เดอืน-ทิศที่นาคหันศีรษะ 83 - ขุดหลุมถูกหัวนาค 83 - พิธีบูชาพญานาค 83 - ขุดหลุมไดของ 84 - วิธีโปรยของตามเดือน 84 - วิธีวัดเสาเอก 84 - วิธีดูลักษณะเสา 84 - ดูลักษณะตาเสา 85 - ยาปดตาเสา 86 - วิธีเจาะเสาเรือน 86 - วิธีวัดขื่อเสา 87 - ดูลักษณะปลายเสาเอน 87 - เดือนที่ตัดไม 87 - สูตรทําตัวไมหรือสัดสวนที่เปนมงคล 87 - ดูลักษณะคนใหของในเวลาปลูกเรือน 88 - วิธีพาดบันไดและขึ้นเรือนครั้งแรก 88 - วันขึ้นเรือนใหม 89 - ทิศขึ้นเรือนใหม 89 - พิธีฝงอาถรรพ 89 - ตนไมที่หามปลูกในบาน 89

Page 5: 01 Knowledge 1-8

- ทิศที่ปลูกตนไมมงคล 90 - ถือเสียงเปนฤกษในวันปลูกเรือน 90 - วันลางเรือน 90 - วันปลูกตนไม 91 - ยันต 91 - ทิศ 93 - มาตรวัด 93 - ขั้นตอนการกอสรางเรือนไทย 94

บทท่ี 9 การสํารวจภาคสนาม 98 - การสํารวจภาคสนามลุมแมน้ําเจาพระยา 99 - การสํารวจภาคสนามลุมแมน้ํานอย 214 - การสํารวจภาคสนามลุมแมน้ําลพบุรี 320 - การสํารวจภาคสนามลุมแมน้ําปาสัก 348 - การสํารวจภาคสนามลุมแมน้ํานครนายก 364

บทท่ี 10 การวิเคราะหขอมูล 381 - แมน้ําเจาพระยา 406 - แมน้ํานอย 418 - แมน้ําลพบุรี 428 - แมน้ําปาสัก 433 - แมน้ํานครนายก 437

บทท่ี 11 สรุป 448 บทท่ี 12 ความรูท่ีฝงอยูในตัวบุคคล 453 บรรณานุกรม 468 ภาคผนวก ชางและหมูบานที่ปรุงเรือนไทย 470

Page 6: 01 Knowledge 1-8

บทนํา

ความรูแบบชดัแจง (Explicit Knowledge) เปนความรูที่เห็นได อานได คนควาได เพราะมีตํารับตําราเขียนอธิบายบอกไว เชน หนังสือ

- บานไทยภาคกลาง ของศาสดาจารย นอ. สมภพ ภิรมย ร.น. ราชบัณฑิต - สถาปตยกรรมไทยของกรมศิลปากร - เรือนเครื่องผูกของ รองศาสตราจารย เสมอ พิลากย - เรือนไทยภาคกลางฉบับราชบัณฑิต - เครื่องบนและงานประดับของสถาปตยกรรมไทยของ รองศาสตราจารย สมใจ นิ่ม

เล็ก - เครื่องประดุ กระเบื้อง กาบู ของ รองศาสตราจารย สมใจ นิ่มเล็ก

ฯลฯ ขอเขียนในหนังสือดังกลาว ลวนเปนขอมูลหลักฐานที่ทานทั้งหลายไดศึกษาคนควา

เอาไว ประมวลกลั่นกรอง วิเคราะห แลวเขียนเผยแพรใหทุกคนเขาถึงความรูเหลานั้นได องคความรูอีกประเภทหนึ่งตองแสวงหา และเขาถึงความรูเหลานั้น ซ่ึงยังเหลืออยูตาม

สถานที่ตาง ๆ วาเรือนไทยยังคงมี มีที่ไหน อยางไร แบบไหนที่ดับสูญไปแลว หรือยังอยู หรือถูกประยุกตใชใหเขากับการครองชีวิตตามสมัยปจจุบัน เราตองออกไปศึกษาเก็บขอมูลในสถานที่จริงของหลักฐาน แลวนํามาวิเคราะหองคความรูเหลานั้นใหชัดแจงตอไป ซ่ึงเปนความประสงคของสํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา จึงไดตั้งโครงการนี้ขึ้น เพื่อใชเปนคูมือในการดูแลรักษามรดกของชาติตอไป ความรูท่ียังอยูในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) แบบเรือนไทยไมไดสรางขึ้นมาชั่วขามป แตเปนการสะสมองคความรูตาง ๆ จากบรรพบุรุษรุนแลวรุนเลา ลองผิดลองถูกมาก็มาก จนกลายมาเปนเรือนไทยที่เราเห็น และในอนาคตลูกหลานเราอาจจะไมไดเห็น เพราะขาดองคความรูที่จะสราง การสรางบานสักหลังสําหรับคนชั้นกลางสมัยนี้ ไมมีใครนึกถึงบานเรือนไทย บานจัดสรรก็ไมมีทรงไทย เพราะราคาแพงมาก ไมอันเปนวัสดุหลักของการสรางบานหายาก มีก็ราคาแพง คนที่จะสรางบานเรือนไทยได จะตองเปนผูมีฐานะดี เมื่อความตองการมีนอย ชางผูสรางเรือนไทยก็เหลือนอยลงไปดวยเชนกัน จะหาเด็กหนุม ๆ มาเปนชางสรางบานแบบสมัยกอนนั้นหายากมาก ที่มีอยูขณะนี้ก็อายุมาก ๆ กันทั้งนั้น เมื่อไมมีการสืบทอดฝมือชาง อนาคตบานทรงไทยเห็นทีจะลําบาก

Page 7: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

2

ชางแตละกลุมแตละทองถ่ินก็มีเทคนิควิธีไมเหมือนกัน ถาเปนชางหลวงสามารถที่จะเขียนบอกเลาประสบการณ ถายทอดออกมาเปนลายลักษณอักษรได แตชางพื้นบาน ความรูที่ฝงอยูในตัวเขาเหมือนทรัพยอยูในดิน จําเปนจะตองขุดคนหาเอง จะใหเขาเขียนอธิบายวิธีสรางบานสรางเรือนออกมาเปนลายลักษณอักษรนั้นเปนเรื่องยากมาก ยากกวาการสรางบานเสียอีก ชางโบราณบางคนไมรูหนังสือก็มี อาศัยความชํานาญเอา การจะไดความรูที่ฝงอยูในตัวเขา จึงตองมีการสัมภาษณตั้งคําถาม เพื่อใหเขาถายทอดเปนคําพูดออกมาแลวเราจดบันทึกไวเปนหลักฐาน นํามาเผยแพรใหเปนองคความรู มิใหสูญหายไป

Page 8: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 1 พัฒนาการทางสังคม

อาคารเรือนทรงไทย ที่อยูในขอบเขตการศึกษาครั้งนี้ ไดแก อาคารบานเรือน กุฏิพระสงฆ ที่ตั้งอยูริมน้ําสายสําคัญ ไดแก แมน้ําเจาพระยา แมน้ํานอย แมน้ําลพบุรี แมน้ําปาสัก และแมน้ํานครนายก ที่อยูในเขตความปกครองของสํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา อันมีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอางทอง จังหวัดสิงหบุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครนายก สังคมมนุษยจะขาดน้ําไมได การตั้งถ่ินฐานก็ดี การทํามาหากินก็ดี ตองพึ่งพาน้ําทั้งนั้น และยังใชเปนเสนทางคมนาคมอีกทางหนึ่งดวย ยิ่งที่ราบลุมภาคกลาง ฤดูน้ําหลากจะกลายเปนทะเลน้ําจืด ตองพึ่งพาเรือเดินทางไปมาหาสูกันเพียงอยางเดียว สายน้ําจึงเปนแหลงวัฒนธรรม บอเกิดวัฒนธรรม เปนตัวเชื่อมโยงวัฒนธรรมเขาหากัน เปนแหลงเรียนรูเร่ืองราวในอดีตของมนุษยชาติดวย ลุมแมน้ําภาคกลางมีพัฒนาการทางสังคมมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร บริเวณตนแมน้ําปาสัก แมน้ําลพบุรี แมน้ํานอย และแมน้ําเจาพระยา เมื่อมนุษยมีพัฒนาการทางสังคมมากขึ้น ก็สามารถขยายพื้นที่ต่ําลงมาตามสายน้ํา เกิดชุมชนสมัยประวัติศาสตร เชน ทวารวดี ในเขตจังหวัดสิงหบุรี ลพบุรี ชัยนาท สระบุรี นครนายก สุพรรณบุรี อางทอง ลพบุรี ในเขตจังหวัดลพบุรี สุพรรณบุรี สระบุรี อูทอง ในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี อยุธยา สิงหบุรี อางทอง อยุธยา ในเขตที่ราบลุมภาคกลางทั้งหมด สําหรับอยุธยาเปนอาณาจักรที่อยูตรงกลางที่ราบลุมภาคกลางหรือที่เรียกกันวา “ที่ราบลุมเจาพระยา” มีความสามารถจัดการกับพื้นที่ที่เต็มไปดวยแมน้ําลําคลอง และเปนที่รวมของแมน้ําหลายสาย เมื่ออาณาจักรอยุธยาลมสลาย ก็เกิดเมืองใหมต่ําลงไปทางใตคือ กรุงรัตนโกสินทร การยายที่ตั้งของเมืองหลวงมิไดหมายความวา ชุมชนตามลุมแมน้ําทั้ง 5 สาย จะยายตามไปดวยทั้งหมด คงมีบางสวนเทานั้นที่ตองไปเปนประชากรของเมืองใหม สวนที่เดิมก็คงอยูอาศัยติดตอกันเรื่อยมา จะมีการอพยพเขาหรืออพยพออกไปก็มีบางเปนธรรมดา เมื่อตั้งกรุงรัตนโกสินทรแลว การทํามาคาขายกับโลกภายนอกก็เปนไปตามเดิมเหมือนคร้ังกรุงศรีอยุธยา แตมีความหลากหลายเพิ่มขึ้น สินคาและวัฒนธรรมจากตะวันตกเพิ่มขึ้นมาก เปนลําดับ มาชัดเจนมากก็คือสมัยรัชกาลที่ 3-4 อาคารทรงไทยแตเดิมเริ่มเปลี่ยนแปลงรูปรางไปบาง และมีอาคารทรงใหม ๆ เพิ่มเขามา ไมวาจะเปนแบบจีน แบบยุโรป จึงเห็นเรือนไทยแบบลูกผสมพัฒนาตอมาจนถึงปจจุบัน เพราะวัสดุใหม ๆ เขามา เชน ปูนซีเมนต สังกะสีมุงหลังคา

Page 9: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

4

ทําใหโครงสรางของบานเรือนบางหลังเปล่ียนไป เชน แตเดิมเคยมุงหลังคาบานทรงไทยดวยกระเบื้องเกล็ดดินเผา ก็เปลี่ยนมาเปนกระเบื้องซีเมนต และสังกะสี

หลังคากระเบื้องดินเผา

หลังคาสังกะสี

Page 10: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

5

เมื่อใชสังกะสีมุงหลังคาก็ตองถอดระแนงออก เพราะใชประโยชนไมไดแลว ทําใหประหยัดไมและน้ําหนักหลังคาลดลง อยางนี้เปนตน เรือนประเภทตาง บานเรือนคือที่อยูอาศัยของมนุษย เปนสิ่งที่มนุษยดัดแปลงจากธรรมชาติ เชน ถํ้า เพิงผา ในสังคมของยุคกอนประวัติศาสตรตอนตน และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ตามประโยชนใชสอย ประเพณีและวัฒนธรรมของกลุมชนแตละกลุม สังคมไทยภาคกลางตั้งถ่ินฐานอยูในที่ราบลุมน้ําทวมถึง มีอาชีพทางการเกษตรมาชานาน บานเรือนจึงตองปลูกใหเขากับธรรมชาติและวิถีชีวิต บานเรือนไทยภาคกลางจึงเปนอาคารไมช้ันเดียวยกพื้นสูง ใตถุนสูงโปรง เพื่อใหพื้นพนจากน้ําทวมในฤดูน้ําหลาก ในฤดูแลงใตถุนทําประโยชนตาง ๆ ทําเปนคอกสัตวเล้ียง ทอผา ปนหมอ พักผอน เปนพื้นที่เอนกประสงค ลักษณะของเรือนไทยอีกอยางหนึ่งคือ หลังคาทรงจั่ว มีปนลม เห็นแบบนี้เขาใจไดเลยวา เปนเรือนไทย โดยที่ยังไมตองเขาไปดูรายละเอียดก็ได บานทรงไทยในลักษณะดังกลาวมีเอกลักษณ เห็นไดชัดเจนก็คือปนลม มีมาแลวตั้งแตสมัยใด ซ่ึงจะกลาวในบทตอไป บานเรือนพัฒนาการไปตามสังคมมนุษย มุงเนนที่ประโยชนใชสอยและความสวยงามดวย มีหลายรูปแบบดวยกัน เชน เรือนเครื่องผูก เปนเรือนที่ปลูกสรางขึ้นแบบงาย ๆ วัสดุสวนใหญเปนไมไผใชหวายและตอกผูกรัดสวนตาง ๆ ของตัวเรือนไว

Page 11: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

6

เรือนเครื่องผูกของชาวไทยภาคกลาง เรือนเครื่องผูกของชาวไทยทรงดํา (ลาวโซง) บนและลาง : จากหนังสือเรือนเครื่องผูก ของ ร.ศ. เสนอ นิลเดช

หลังคามุงดวยหญาหรือใบไม เปนเรือนแบบสากลนิยมมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรแลว ใชวัสดุที่มีในทองถ่ิน เชน ในอีสานและภาคเหนือจะใชใบไมและหญาคามุงหลังคา ซ่ึงอาจเปนที่มาของชื่อหญาที่เอามามุงหลังคา เลยเรียกวา “หญาคา” ก็เปนได (เสถียรโกเสศ : ประเพณีเกี่ยวกับชีวิตปลูกเรือน) ภาคใตชายฝงทะเลมีจากก็ใชจาก ภาคกลางมีหญาคามากก็ใชหญาคา เปนตน เรือนเครื่องสับ เปนเรือนไมจริงแบบเรือนไทย ใชไมจากตนไมยืนตนขนาดใหญมาแปรรูปเพื่อปลูกสรางบานเรือน เครื่องมือสวนใหญใชมีดและขวาน จึงเรียกวาเรือนเครื่องสับ ไมตองไสไม ดั่งเดิมอาจจะไมมีกบไสไมหรือจะใชไมไดก็เฉพาะเรือนเจา สวนราษฎรทั่วไปทําไมได และอาจมีเหตุผลอ่ืน ๆ อีก เชน เสาก็ใชขวานถากผูมีฝมือจะถากไดเรียบ จะเปนเสากลม เสาหลายเหลี่ยม หรือเสาสี่เหล่ียม เล่ือยออกมาเปนแผน มีการขัดการถูก็จะเรียบ เชนเดียวกับไมพื้น เมื่อทําเชนนี้ก็เรียบพอแลว

Page 12: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

7

เรือนเครื่องสับมีหลักฐานมาตั้งแตสมัยอยุธยาจากเอกสารบันทึกของชาวตางชาติ และภาพจิตรกรรมฝาผนัง เปนตน เรือนทรงปนหยา เปนอาคารทรงยุโรปรุนแรก ๆ ที่เขามาสูเมืองไทยประมาณรัชกาลที่ 4-5 กรุงรัตนโกสินทร นิยมสรางดวยไม มีทั้งชั้นเดียวและสองชั้น มุงหลังคาดวยกระเบื้องซีเมนต ทรงหลังคายกเปนสันสูง มีชายคาคลุมทั้ง 4 ดาน เปนทั้งบานเรือนที่อยูอาศัยทั่วไป สถานที่ราชการวังของเจานายชั้นสูง กุฏิพระสงฆ ศาลาทาน้ํา ศาลาการเปรียญ ฯลฯ

เรือนปนหยาตําบลคลองตะเคียน พระนครศรีอยุธยา

เรือนมะนิลา เปนเรือนแบบของตะวันตกเชนเดียวกัน สรางดวยไม มีทั้งชั้นเดียวและสองชั้น แพรเขามาสูเมืองมะนิลา ประเทศฟลิปปนส แลวเขาสูภาคใตของประเทศไทย จากเวียดนาม ลาว เขาสูภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนทั้งบานเรือนทั่ว ๆ ไป สถานที่ราชการ วงัของเจานายชั้นสูง กุฏิพระสงฆ เปน ตน ทรงหลังคาคลายเรือนปนหยา แตมีจั่วเปดหนึ่งดานหรือมากกวานั้น

Page 13: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

8

เรือนมะนิลา วัดยม อําเภอบางปะอิน

เรือนขนมปงขิง นิยมสรางดวยไม และครึ่งตึกครึ่งไม มีทั้งเปนหองแถว ช้ันเดียว และสองชั้น อาคารบานเรือนสถานที่ราชการมีทั้งสองชั้นและชั้นเดียว รูปทรงเชนเดียวกับเรือนปนหยา และเรือนมะนิลาผสมกัน มีการฉลุไมเปนลวดลายประดับตามสวนตาง ๆ ของอาคาร เปนที่นิยมกันมากมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5-6 กรุงรัตนโกสินทร

Page 14: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

9

ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี

พลับพลาที่ประทับสถานีรถไฟบางปะอิน

Page 15: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

10

พลับพลาที่ประทับสถานีรถไฟบางปะอิน

Page 16: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 2 ขอบเขตการศกึษาและคําจํากัดความของคาํวาเรือนในความหมายตาง ๆ

ขอบเขตการศึกษา เรือนทรงไทยรวมกุฏิพระดวย ที่ตั้งอยูริมฝงแมน้ํา 5 สาย ไดแก แมน้ําเจาพระยา แมน้ํานอย แมน้ําปาสัก แมน้ําลพบุรี และแมน้ํานครนายก ที่อยูในเขตความรับผิดชอบของสํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา

Page 17: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

12

แผนที่โบราณสถานในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 18: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

13

แผนที่โบราณสถานในเขตจังหวัดอางทอง

Page 19: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

14

แผนที่โบราณสถานในเขตจังหวัดสิงหบุรี

Page 20: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

15

แผนที่โบราณสถานในเขตจังหวัดสระบุรี

Page 21: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

16

แผนที่โบราณสถานในเขตจังหวัดนครนายก

Page 22: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

17

เรือนในความหมายตาง ๆ เรือนไทย ส่ิงปลูกสรางสําหรับใชเปนที่อยูอาศัย และประโยชนใชสอยอยางอื่น มีคํานําหนาวาเรือนเหมือนกัน มีหลายรูปแบบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 กลาวถึงเรือนชนิดตาง ๆ และใหคํานิยามไวดังนี้ เรือน เปนคํานามหมายถึงสิ่งปลูกสรางที่ยกพื้น และกั้นฝามีหลังคาคลุม สําหรับเปนที่อยูอาศัย เรือนแกว ส่ิงที่ทําเปนกรอบลอมตามรูปนอกของพระพุทธรูป เรือนจํา ที่ขังนักโทษ เรือนตะเกียง กระโจมไฟ เรือนธาตุ สวนสําคัญของสถูป หรือพระปรางค ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไวภายใน ครรภธาตุหรือธาตุครรภ เรือนเบี้ย ทาสที่เปนลูกของทาสน้ําเงินเรียกวา ธาตุเรือนเบี้ย เรือนฝากระดาน เรือนเครื่องสับ เรือนแฝด เรือนทรงไทยซึ่งปลูกใหตัวเรือน 2 หลัง มีชายคาเชื่อมตอกันในทางดานรี โดยมีขนาดกวาง ยาว และสูงเทากัน และแตละหลังมีจั่วและพื้นสูงเสมอกัน

Page 23: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

18

Page 24: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

19

เรือนแพ เรือนที่เคยตั้งอยูบนแพในน้ําแลวยกขึ้นมาปลูกบนบก

ภาพจากหนังสือ The Country and people of Siam, KARL DOHRING

เรือนไฟ กระจุกตะเกียงหรือโคม ขนาดของไฟในตะเกียงหรือโคม ครัวสําหรับปรุงอาหาร โรงพิธีสําหรับบูชาไฟ ประภาคาร เรือนยอด อาคารที่มีหลังคาทรงสูง มีหลายแบบ คือทรงยอดมณฑป ทรงยอดปรางค ทรงยอดปราสาท ทรงยอดมงกุฎ และทรงยอดเจดีย (ใชแกอาคารที่ใชในกิจเกี่ยวกับพระมหากษัตริยและศาสนา)

พระที่นั่งไอศวรรยทิพยอาสน

Page 25: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

20

พระที่นั่งไอสวรรยทิพยอาสน พระราชวังบางปะอิน

เรือนหอ เรือนที่ปลูกสําหรับคูบาวสาวที่แตงงานกันแลวอยู พจนานุกรมศัพทสถาปตยกรรมและศิลปะเกี่ยวเนื่องของศาสดาจารยโชติ กัลยาณมิตร กลาวถึง เรือนเพิ่มเติมจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไวดังนี้ เรือนเครื่องประดุ เรือนไทยที่สรางดวยไมจริง ตั้งแตตัวเรือนตลอดจนถึงโครงหลังคา เรียกตามภาษาชางสมัยกอนวา “เรือนเครื่องประดุ” การแปรรูปไมในสมัยกอนไมมีอุปกรณการเล่ือยดังเชนทุกวันนี้ แตจะใชผ่ึงหรือขวานถาก ถากหรือสับทอนไมใหไดรูปตามที่ตองการ โดยอาศัยวิธีการแปรรูปไมดังนี้ เรือนเครื่องประดุหรือเรือนเครื่องไมจริงจึงไดช่ือวา “เรือนสับ” อีกช่ือหนึ่งดวย

Page 26: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

21

เรือนพาไล พะไล เปนเรือนชนิดที่ยกจั่วหลังคาขึ้น แทนการทําหลังคาปกนก เชน ที่ทํากันเปนสามัญ เรือนไมบั่ว เรือนชั่วคราว หรือเรือนเครื่องผูก ที่ปลูกขึ้นดวยไมไผ โดยไมตองการฝมือและความประณีต เรือนสับ เรือนไทยที่สรางดวยไมจริง ตั้งแตตัวเรือนตลอดจนถึงหลังคา ไมที่ใชในการปลูกตัวเรือนทั้งหมดไดจากการแปรรูปไมดังนี้ เรือนไมจริงจึงไดช่ือวา “เรือนสับ” ในภาษาชาง

เรือนหมู เรือนที่ปลูกขึ้นหลายหลังในหมูเดียวกัน สําหรับใชสอยของบุคคลในครอบครัวเดียวกัน

Page 27: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

22

ยังมีอาคารอีกประเภทหนึ่งลักษณะรูปทรงใกลเคียงกับเรือนตาง ๆ ที่กลาวมาขางตน แตมักจะเปนสิ่งกอสรางเฉพาะอยาง ไดแก โรง ส่ิงปลูกสรางทําดวยไม พื้นติดดิน ทําอยางหยาบ ๆ ใหเปนที่เก็บของเครื่องใช เชน โรงนาใชเก็บของเกี่ยวกับเครื่องมือทํานา โรงเรียนสําหรับเปนอาคารที่ใชเรียนหนังสือ โรงสีสําหรับสีขาว โรงแรมที่พักคนเดินทาง เปนตน เมื่อกลาวถึงเรือนจะตองมีคําวาบานเปนคูแฝดกันเสมอ ๆ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานใหความหมายไวดังนี้ บาน ที่อยูอาศัย เลขบาน เจาบาน ส่ิงปลูกสรางสําหรับที่อยูอาศัย เชน บานพักตากอากาศ บานเชา บริเวณเรือนที่ตั้งอยู เชน เขตบาน หมูบาน เชน ผูใหญบาน ถ่ินที่มนุษยอยูเชน สรางบานแปลงเมือง

Page 28: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

23

บานเรือน บานที่อยูอาศัยมักจะกลาวควบคูกันไปเสมอ บางครั้งใหความหมายวาบานคือเรือนวา เรือนคือบาน มีบทเพลงไทยลูกทุงกลาวถึงบานไวอยางนาฟงวา บานนอยหลังนี้สุขขีเสียจัง แอบมองนองทางหนาตาง ตั้งแตเชาจดเย็น แหวกมานมองดู หดหูเหลือจะลําเค็ญ เกี้ยวก็เกี้ยวไมเปน ไดแกแอบมองนองอยูทุกวัน หรือจะเปนบทเพลงลูกกรุงรวมสมัย ก็กลาวถึงบานไวเชนกัน บานคือวิมานของคน ถึงแมยากจน ก็ตองสูทนดิ้นรนหามา ทั้งสองบทเพลงกลาวถึงบาน ในความหมายของเรือน หนังสือบานไทยภาคกลาง ของศาสดาจารย น.อ. สมภพ ภิรมย ร.น. กลาววา นอกจากจะมีความหมายในทางนามธรรมแลว ยังเนนหนักในทางรูปธรรม ของเรือนไทยภาคกลาง ซ่ึงมีลักษณะดังนี้ “สรางดวยไมเปนสวนใหญ หลังคาทรงสูง มุงจากหรือกระเบื้องฝาปะกน ถอดประกอบได (Prefabication) เปนเรือนชั้นเดียวใตถุนสูง จะเปนเรือนเดี่ยวหรือหมูเรือนที่เชื่อมตอบานดวยชาน นิยมสรางทั่วไปในภาคกลาง โดยเฉพาะริมน้ําลําคลอง

หมูบานลาดชิด อําเภอผักไห จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 29: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

24

เพราะในสมัยโบราณการคมนาคมใชแมน้ําลําคลองเปนหลัก กลาวกันวา แมน้ําสายหนึ่งชานเรือนมีลักษณะไปอยางหนึ่ง ผิดแผกไปจากน้ําอีกสายหนึ่ง แตเปนที่นาเสียดายไมอาจหาภาพมาแสดงได ทั้งนี้จํากัดเฉพาะภาคเหนือนับแตสุโขทัยลงมาจนถึงนครศรีธรรมราช การกอสรางบานไทยโดยอิทธิพลของภาคกลาง คาดวาตั้งแตสมัยอยุธยาประมาณ พ.ศ. 1800 ถึงปลายรัชกาลที่ 6 แหงกรุงรัตนโกสินทร พ.ศ. 2460” วัตถุประสงคหนึ่งของการศึกษาเรื่องบานเรือนไทยครั้งนี้ กําหนดหัวขอไววาจะตองดําเนินการเปรียบเทียบ “บานเรือนไทย” ในลุมแมน้ําทั้ง 5 สาย ไวดวย

Page 30: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 3 ขอกําหนดของเรือนไทย

ขอกําหนดของเรือนไทยภาคกลางหรือลักษณะเฉพาะ ที่ยึดถือกันมาแตคร้ังโบราณ คือ ตรงระดับพื้นจะกวางและใหญแลวเรียวเล็กขึ้นไปยังแปหัวเสาหรือปลายขื่อ กลาวคือ “เอวใหญอกเล็ก” มีแผนผังเปนรูปสี่เหล่ียมผืนผา ถือหลักงายสะดวก ไมตอเติมเปนมุขหรั่น หากจะตองการพื้นที่ใชสอยมากขึ้น ก็เพิ่มจํานวนเรือนใหมากขึ้น แตละหลังมีอิสระในการพักอาศัย เรือนแตละหลังเชื่อมตอดวยชาน เชน แยกบุตรธิดาออกไปตางหากหรือแยกเรือนครัวไวอีกหลังหนึ่ง เพราะครัวมีหนาที่ใชสอยเฉพาะอีกประการหนึ่ง (ศาสดาจารย น.อ. สมภพ ภิรมย ร.น. : บานเรือนไทยภาคกลาง)

แตการศึกษาครั้งนี้พบวา สมัยเมื่อประมาณเกือบรอยปมาแลว หรือจะอยูในชวงของรัชกาลที่ 6-7 ไดขอมูลวามีการตอพาไลออกจากดานสกัดแตพื้นลดระดับลง สวนเรือนครัวหรือเรือนไฟไมนิยมสรางติดกับเรือนแม เพราะจะถูกควันไฟรบกวนได

Page 31: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

26

สวนหลังคานั้นจะตองเปนหลังคาทรงสูง หรือทรงจั่ว ทําใหอากาศรอน ซ่ึงเบาลอยตัวอยูใตหลังคาสวนบน อากาศเย็นก็จะลอยต่ําลงมาถึงหองเรือน ซ่ึงทําใหชวยระบายความรอนไดดี ประโยชนของหลังคาทรงสูงอีกประการหนึ่งคือ ฝนจะไมร่ัว เพราะระบายน้ําไดเร็ว บานทรงไทยหลังคาทรงสูงนี้นิยมมุงดวยหญา จาก และกระเบื้องเกล็ดดินเผา ถาหลังคาดาดจะทําใหระบายน้ําไดชา อาจเกิดฝนรั่วลงพื้นเรือนได วัสดุมุงหลังคาดังกลาวหาและผลิตเองไดในทองถ่ิน มีสวนบังคับใหตองทําหลังคาทรงสูง เหมาะสมกับสภาพดินฟาอากาศของประเทศไทยที่เปนเขตมรสุม

ตองมีชายคาปกนกและไขรา ซ่ึงปองกันแดดกลาและฝนสาดไดดี หากมองในแงของความงาม ก็เปนความงามที่ลงตัว บานเรือนไทยถาเปนเรือนเดี่ยว ตองมีระเบียงตอออกมาจากดานยาว มีทั้งพื้นเสมอกับเรือนแม และลดระดับลง เชื่อมตอกับชานได

Page 32: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

27

ชานเรือนเดียวจะอยูถัดจากระเบียงออกไป เปนพื้นที่โลงไมมีหลังคา พื้นลดระดับต่ํากวานี้มีระเบียง เปนที่พักผอนนั่งเลน นอนเลนยามหัวคํ่า เพราะถาอยูในตัวเรือนใตหลังคา กําลังคลายความรอนจะรอน คนโบราณใชนอนดูดาวบนทองฟา สอนลูกหลานเกี่ยวกับดาราศาสตร ขางขึ้นขางแรม ฤดูกาลตาง ๆ มีนิทานเลาเรื่องของดวงดาวตาง ๆ ดวย ถาเปนเรือนหมูก็จะมีชานแลน ถึงกันทุกหลัง สวนกันสาดบางหลังก็มีบางหลังก็ไมมีแตสวนมากจะมีกันสาดโดยใชเทาแขน ซ่ึงเปนไมและเหล็กเสน การใชเทาแขนดวยเหล็กเสน ทําขึ้นในเชิงสัญลักษณเพื่อความสวยงาม แตจะใชค้ําเพื่อรับน้ําหนักกันสาดไมได และมูลเหตุที่บานเรือนไทยจะตองมีใตถุนสูง แตจะตองสูงไมเกินเดียวบนหรือความสูงของฝา ถาสูงมากไปก็จะดูโครงไมงาม ต่ํามากไปก็ศีรษะชน รอดชนอะเสไดจะตองสูงเลยศีรษะจึงจะดูงาม ใชพื้นที่ประกอบกิจกรรมตาง ๆ และพักผอนได บานริมน้ําบางหลัง ฤดูน้ําทวมใตถุนบานใชเปนที่จอดเรือไดดวย ลักษณะเฉพาะของเรือนไทยอีกประการหนึ่งคือ เปนเรือนสําเร็จรูป สรางเปนสวน ๆ นํามาประกอบเขาดวยกัน สวนใหญจะสรางไดเร็วในวันเดียว ใชไมสักลวนปรุงแตไดงาย คงทนปองกันปลวก และสวยงาม จะใชไมเนื้อแข็งไดก็เฉพาะเสาและรอด การเลือกไมตองมขีอหามบางประการ เชน เปดไซได ไกตอดได สลักรอดหมูสี ซ่ึงจะกลาวในบทของขอหามตาง ๆ

Page 33: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

28

โรงงานบานชางณรงค หงษนาค ตําบลบานใหม อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 34: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

29

เรือนไทยโบราณไมนิยมสราง “สวม” บนเรือน แตจะไปสรางขางลางและไมติดกับตัวเรือน บานไหนไมมีสวมก็ออกกลางทุง จนกลายมาเปนศัพทเฉพาะวา “ออกทุง” “ไปทุง” ซ่ึงหมายถึง “ไปหองน้ํา” ในปจจุบันนั่นเอง เรือนไทยโบราณไมใชตะปูแตใชวิธีการเขาเดือยและลูกสลัก ตอมาภายหลังใชตะปูโลหะ เรือนไทยโบราณปลูกเรือนชั้นเดียว ไมนิยมสองชั้น เพราะจะมีคนค้ําหัวอยูขางบน ปจจุบันความเขมงวดเหลานี้เปลี่ยนไป ไมถือจึงเกิดเปนสองชั้น ช้ันบนกลายเปนที่เก็บของไป เรือนไทยโบราณตามตําราหามปลูกวางตะวันคือดานยาวหามหันไปทางทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก แตมีบางทองถ่ินปลูกเรือนหันหนาลงน้ํา เรือนหมูบางแหงหันหนาลงแมน้ําก็มี เรือนไทยโบราณไมนิยมตีฝาในหองเรือน แตมีฝานอกหรือไขรา เพื่อกันฝนสาดเขาในเรือน สัดสวนของเรือนไทยเทาที่ยึดถือกันมาครั้งโบราณ แตก็ไมแนนอนนัก ยึดถือกันวาเปนแบบมาตราสวน ดังนี้

1. มีผังเปนรูปสี่เหล่ียมผืนผา 2. ความกวางของดานสกัด 6 ศอก ระเบียงอีก 4 ศอก 3. ความยาวรวม 15 ศอก แบงเปนหอง 3 หอง ๆ ละ 5 ศอก สวนเรือน 5 หอง มักไม

คอยพบ จะมีก็แตบานเจาบานนาย และกุฏิพระสงฆ

Page 35: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

30

Page 36: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

31

4. ความสูงของหลังคาหรือใบดั้ง 4 ศอก 5. ความสูงของใตถุนหรือเดี่ยววาง จากพื้นดินถึงหลังรอด 4 ศอก 1 คืบ ชวง 1 คืบนั้น

เปนรองตีนแมวหรือชวงแมวรอด เปนระยะต่ําจากพื้นเรือนแมกับพื้นระเบียง เรือนไทยแบงโครงสรางหลักออกเปน 3 สวน

Page 37: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

32

- เครื่องลาง จากพื้นดินถึงหลังรอด - เครื่องบน จากหลังรอดถึงขื่อ - เครื่องบน ตั้งแตเหนือขื่อขึ้นไปจนสุดหลังคา (ราชบัณฑิตยสถาน ศิลปกรรมไทย พระพุทธปฏิมา พระบรมมหาราชวัง วัด เรือนไทย

ภาคกลาง) จากการสํารวจเก็บขอมูลภาคสนามที่วัดสวางอารมณ บานสามงาม ตําบลสามงาม

อําเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอางทอง พบกับชางไมประจําวัด คือ นายหนึ่ง หงษนาค อายุ 70 ป แบงโครงสรางของบานเรือนไทยออกเปน 3 สวน สืบทอดวิชากันมาแตโบราณ แตใหช่ือไวตางกับราชบัณฑิตยสถาน คือ

1. เดี่ยวลาง จากพื้นดินถึงหลังรอด 2. เดี่ยวเสา จากหลังรอดถึงขื่อ 3. เดี่ยวบน จากหลังขื่อจนสุดหลังคา การเรียกชื่อที่ตางกันออกไปเชนนี้ไมนาแปลกใจ เพราะแตละพื้นที่แตละทองถ่ินมี

ลักษณะเฉพาะของตนเองอยูแลว แมแตช่ือเรียกองคประกอบสถาปตยกรรมและศิลปกรรมตาง ๆ เมื่อตางบานตางเมืองตางสถานที่ก็เรียกตางกันออกไปได เชน หนาจั่วในภาคกลางไปภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเรียกวา สีหนา อยางนี้เปนตน

Page 38: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 4 ประเภทของเรือนไทยและภมิูอากาศ

ประเภทของเรือนไทย ราชบัณฑิตยสถาน แบงเรือนไทยออกเปน 2 ประเภทคือ

1. เรือนครอบครัวเดี่ยว เปนเรือนสําหรับผัวเมียและลูกที่ยังไมไดแตงงาน ประกอบไปดวยเรือนนอน 1 หลัง เรือนครัว 1 หลัง ระเบียงและชานรวมเรือนนอนมี 3 ชวงเสา แบงเปนหองโถง 1 ชวงเสา อีก 2 ชวงเสา เปนหองนอน สําหรับครัวมี 2 ชวงเสา ชวงเสาสําหรับทําครัว อีกชวง 1 เสา สําหรับเปนที่รับประทานอาหาร

Page 39: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

34

2. เรือนหมู เมื่อครอบครัวโตขึ้นลูก ๆ แตงงาน จําเปนตองขยายครอบครัวตามประเพณีแลวผูชายจะไปอยูบานฝายหญิง หองนอนหองเดียวไมพอ จึงตองสรางเรือนขยายเพิ่มขึ้นทีละหลัง โดยใชเชื่อมกับชานเดิม จะสรางตรงขามกับเรือนเดิมหรือขนาบขางชานเรือนเดิมโดยมีครัวอยูดานหลังก็ได จึงทําใหเรือนเพิ่มขึ้นเปนหมู

Page 40: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

35

เรือนครัวที่สรางอยูหลังบานยังไมเคยเห็น เห็นแตอยูตรงขามหรือขนาบชานดานขาง นอกจากที่ราชบัณฑิตยสถานแบงไวแลวขางตน ยังพบวามีเรือนแฝดตั้งแต แฝด 2 และ

แฝด 3 เรือนแฝด 2 หลัง หลังคาดานขาวชนกันมีรางน้ําฝนเปนตัวเชื่อม ยังแบงยอยไดออกเปน

Page 41: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

36

Page 42: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

37

1. เรือนประธานและคูแฝดใชปนลมแบบตัวเหงาทั้งคู 2. เรือนประธานใชปนลมแบบตัวเหงาคูแฝดปนลมแบบหางปลา 3. เรือนประธานและคูแฝดใชปนลมแบบหางปลาทั้งคูแบบนี้พบนอย 4. เรือนประธานใชปนลมแบบหางปลา และแบบตัวเหงาอยางใดอยางหนึ่ง แตคูแฝด

เปนทรงปนหยาก็มี ทรงแบบมะนิลาก็มี นาจะมานิยมกันภายหลัง เรือนแฝด 3 หลัง หลังคาดานยาวจะเชื่อมตอกันโดยรางน้ําฝน มีเรือนแฝด 3 หลังนี้พบ

นอยมาก มี

Page 43: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

38

1. ปนลมแบบตัวเหงาทั้ง 3 หลัง 2. ปนลมแบบหางปลาทั้ง 3 หลัง ซ่ึงพบนอยมาก 3. ปนลมแบบตัวเหงาอยูที่เรือนประธาน สวนเรือนแฝดอีก 2 หลัง ปนลมแบบหาง

ปลา 4. ใชปนลมแบบตัวเหงาของเรือนรับทั้งสองหลัง สวนหลังกลางใชปนลมแบบหาง

ปลา แบบเรือนที่เพิ่มเติมมานี้ เปนสวนที่เพิ่มขึ้นมาในยุคหลัง เพื่อประโยชนใชสอยเปน

หลัก ความงามเปนอันกับรองลงไป ภูมิอากาศ ประเทศไทยอยูในเขตมรสุมหรือเขตรอน อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศา ถึง 38 องศาเซนติเกรด ปหนึ่งแบงออกเปน 3 ฤดู ฤดูรอน ระหวางเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน ฤดูฝน ระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ ภาคเหนือสภาพพื้นที่เปนที่สูงมีภูเขา มีแมน้ําหลายสาย เชน แมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํายม และแมน้ํานาน ไหลมารวมกันที่นครสวรรค เปนแมน้ําเจาพระยาไหลลงสูที่ราบลุมภาคกลางออกอางไทย เมื่อถึงฤดูฝนน้ําจากเหนือจะไหลเขาสูภาคกลาง เปนพื้นที่ราบอันอุดมสมบูรณ เปนแองอารยะธรรมมาตั้งแตคร้ังโบราณ ที่มีมนุษยอาศัยกันมาจนถึงปจจุบัน สรางบานแปลงเมืองมาหลายยุคหลายสมัย เพราะอยูในเขตรอนมีแดดจัดเกือบตลอดทั้งป ฤดูฝนก็มีฝนชุกทําใหมีความชื้นในอากาศสูงมาก ลมจะแรงในฤดูฝน ไดรับลมเย็นประจําฤดูรอนจากทิศใต เรียกวา ลมวาว หรือลมตะเภา ลักษณะภูมิประเทศเขตรอนดังกลาวนี้ จึงเกิดพืชพรรณไมนา ๆ ชนิด โดยเฉพาะไมสัก เหมาะแกการทําเครื่องเรือนเปนอยางยิ่ง อันเปนสาเหตุหนึ่งที่เกิดบานทรงไทยในลักษณะนี้ คือหลังคาทรงสูงระบายน้ําไดเร็ว เรือนใตถุนสูงเพราะฤดูน้ําทวม หันหนาบานรับลมตามฤดูกาล ปองกันแดดจัดตอนชวงบาย เพราะปลูกบานไมขวางตะวัน

Page 44: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 5 ขอดีขอเสียของเรือนไทย คตแิละความเชื่อ

ขอดีหรือคุณประโยชนของเรือนไทย 1. สนองประโยชนใชสอยตามความเปนอยูอยางสบายและเรียบงาย 2. ปองกันการอบอาวของอากาศเพราะหลังคาทรงสูงระบายอากาศไดดี 3. ปองกันฝนเพราะหลังคาทรงสูง 4. ปองกันแสงแดดกลา เพราะมีปกนกและกันสาด 5. ปองกันน้ําทวมถึงพื้น เพราะมีพื้นเรือนสูง 6. ใชวัสดุที่หาไดงายในทองถ่ิน 7. รับลดและระบายความอบอาว เพราะหันใหดานยาวรับลม ดานแคบหรือดานสกัด

รับแดด 8. เปนเรือนสําเร็จรูปสรางไดภายในวันเดียว 9. จะสรางมากหลังหรือนอยหลังก็ได เพราะตองประกอบเปนหลัง ๆ ไป 10. แสดงออกถึงวิถีชีวิต สังคมของชาวน้ํา 11. เปนสัญลักษณประจําชาติอีกแบบหนึ่ง

ขอเสีย 1. มีขอจํากัดในหนาที่การใชสอย เพราะมีหองนอยในเรือนแตละหลัง 2. ถาสรางมากหลังจะขาดความสัมพันธของเรือนแตละหลังหากไมมีชานแลนถึงกัน 3. เปลืองพื้นที่ในการปลูกสราง เพราะไมนิยมสรางเรือนเดิม 1 ช้ัน หากตองการ

ประโยชนใชสอยเพิ่มขึ้น ก็ตองสรางเรือนเพิ่มขึ้นดวย 4. ทําใหเรือนแตละหลังกวางใหญไดยาก เพราะหลังคาก็จะตองสูงมากและตานลม

ฝนมากเกินไป 5. ขาดการใชประโยชนสวนตัว 6. ใตถุนของนอกชาน ใชประโยชนไดไมเต็มที่ เพราะเดิมรอดไมได 7. รากฐานไมแข็งแรง ทรุดเอียงงาย 8. ฝนรั่วตามหนาตาง เพราะบานหนาตางเปดเขาในหอง 9. ฝนรั่วตามแนวลูกตั้งและลูกนอนของฝาปะกน 10. พื้นไมกระดานออนตัวงาย เพราะปูพื้นตามยาวตองใชรอดหรือราเสริม

Page 45: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

40

คติความเชื่อเก่ียวกับการสรางเรือน ขอหาม บานเรือนคือที่อยูอาศัยของมนุษยผูกพันอยางแนบแนนกับชีวิตเราตั้งแตเกิดจนตาย แตจะปลูกสรางกันอยางไรบางนั้น ก็แลวแตภูมิประเทศ ดินฟาอากาศ วัสดุ ความเชื่อทางศาสนาเปนเครื่องบังคับ บานที่อยูบนภูเขาสูงแถวจังหวัดเลย ปลูกบานไมเอาเสาฝงดิน ก็เพื่อสะดวกในการเคลื่อนยายหลบลม และน้ําปาอยางนี้เปนตน บานเรือนของคนภาคกลางโบราณที่เปนชาวบาน ไมนิยมสรางบานเปนตึกทั้ง ๆ ที่มีอิฐและปูนใชแลวมาตั้งแตสมัยประวัติศาสตรแรกเริ่ม ก็เปนเพราะอิฐและปูนปนจะตองทําขึ้นใช สวนไมนั้นใชวิธีไปหาเอาในปา ซ่ึงมีอยางอุดมสมบูรณ หลากหลายชนิดไปคัดสรรเอาเองได เพราะเปนของกลางขึ้นเองตามธรรมชาติ มิไดเปนของใครคนใดคนหนึ่ง นอกจากนี้เมื่อเปนบานแลวจะอยูอยางไรใหเปนสุข ก็ตองมีการถือโชคถือลางเชนไมที่ช่ือไมเปนมงคลก็ไมนําเอามาสรางบานอยางนี้เปนตน จึงกลายเปนประเพณียึดถือกันมาในแตละทองถ่ินจึงเกิดขอหามตาง ๆ และในแตละทองถ่ิน อาจจะหามไมเหมือนกัน ขอหามตอไปนี้เก็บรวบรวมมาจากหนังสือ ประเพณีเดียวกับชีวิต ตอนปลูกเรือนของเสถียรโกเศส พิมพเผยแพรเมื่อป พ.ศ. 2531 ดังนี้

1. หามปลูกเรือนขวางตะวนั คือหันหนายาวไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก คนจะอยูไมเปนสุข จะเปนเหตุใหเสียตา เพราะไปขวางตะวัน ขอแทจริงก็คือถาปลูกบานขวางตะวันก็จะรับแดดตรง ๆ ทั้งเชาและบาย แตถามีขอจํากัดเรื่องเนื้อที่หรือบริเวณก็พยายามใหเล่ียง ๆ เขาไวก็ใชไดเหมือนกัน ถาปลูกบานขวางตะวัน ขื่อ ก็จะอยูในแนวทิศตะวันออก ตะวันตก เวลานอนคนไทยจะนอนหันหัวไปทางทิศใต ทิศใตจึงเรียกวาทิศหัวนอน ทิศเหนือเรียกวาทิศตีนนอน จะไมหันหัวไปทางทิศตะวันตกเพราะเปนทิศผีนอน อีกประการหนึ่ง ถาปลูกเรือนหันทิศดานยาวไปตามทิศก็กลาวแตจะตองนอนหันหัวไปทางใต เปนการนอนขวางขื่อ คนนอนจะถูกผีอําบอย ผีมักจะหอยหัวลงมาเหยียบอกคนนอน เอางาย ๆ เปนความเชื่อมาแตโบราณ ถาไมถือเร่ืองนอนขวางขื่อแตตองหันหัวไปทางใต เปนดานแคบนอนเรียงกันได ถาจะนอนสองแถว หัวของคนแถวท่ีสองจะอยูปลายตีน เปนอัปมงคลไมดีอีกเชนกัน จึงถือวาการปลูกเรือนเอาดานแคบขวางตะวัน ซ่ึงจะทําใหรอนนอยลงแลว ยังแกเคล็ดตาง ๆ ที่ไมดีใหเปนดีได แตจากการสํารวจของผูเขียนพบวา เร่ืองการปลูกเรือนขวางตะวันนี้ ไปที่ราบลุมภาคกลางตั้งแตสิงหบุรี อางทอง และอยุธยา ไมคอยจะเครงครัดนัก มีอัตราสวนสูงมากที่หันดานยาวลงแมน้ําสะดวกในการลงทาน้ํา

2. หามใชไมเหลานี้ทําเสาเรือน คือ ไมซาก ไมกะบก ไมกระเชา ไมพะยอม เพราะชื่อไมดี เปนเรื่องซาก เร่ืองบก (แหง) เร่ืองเบา เร่ืองยอม ไมเปนมงคลทั้งนั้น ไมตะเคียนก็

Page 46: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

41

เหมือนกัน โบราณทานหามไมใหใช เพราะมีชันน้ํามันมาก ถาใชเปนเสามักตกมัน ถือกันวาเปนอัปมงคล อยาวาแตจะเอามาทําเสาเรือนเลย เพียงไปตัดก็ยังไมมีใครกลาไปตัด เพราะถือกันวามีนางไม หรือผีนางตะเคียนดุนัก อาจทําใหคนตัดไดรับความเดือดรอนถึงตายได

3. หามใชไมคนละปา เปนเพราะเทวาหรือนางไมที่สิงอยูบนตนไมผิดพวกกัน จะทะเลาะวิวาทกัน ทําใหคนอยูไมมีความสุข ถาคิดในแงความสะดวก ปาเดียวกันจะสะดวก เพราะอยูไมหางกัน คุณภาพของไมคงเหมือน ๆ กัน

ขอนี้เห็นวาแตกอนการจะสรางบานเรือนนั้นจะตองออกไปหาไมเองตามปาไปบากไปทําเครื่องหมายไว และเปนที่รูกันวาปาใครปามัน แตปจจุบันการทําเชนนั้นไมได เพราะผิดกฎหมาย มีวัสดุอ่ืนทดแทน และมีรานคาไมใหเลือกชื่อเอาตามชอบใจ

4. หามใชไมลมไปทางทิศเหนือ (อุดร) ทิศใต (ทักษิณา) ทิศตะวันตก (ปราจีนบุรี) ทิศตะวันออกเฉียงใต (อาคเนย) ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (พายัพ) เหตุผลอยางไรจึงไมดี ไมมีคําอธิบาย

5. หามโคนตนไมใหเนื้อไมติดกับตอ เพราะถาเอาไปทําเสา เสาก็จะเปนโพรง เวลาไมลมก็จะลั่นดังเอี๊ยด ๆ เรียกวาทางไมรองไห จึงเกิดเสียงดังเชนนั้น ทําใหใจคอไมสูดี ตามปกติการตัดตนไมใหญ ๆ คร้ังแรกเขาเฉาะฟนใหลึกถึงศูนยกลางของลําตน แลวเฉาะฟนดานหลังตรงขามกัน เรียกวา “เฉาะหลัง” ใหสูงเหนือระดับแผลที่เฉาะไวคร้ังแรก ประมาณคืบหนึ่งเพื่อบังคับใหไมลมไปตามทิศที่ตองการ

6. หามใชไมอายุนอย หรือไมยังออนอยู ขอนี้ไมนามีขอสงสัย 7. หามใชไมแตกไรงาคือแตกเปนร้ิวเปนเสี้ยนหรือไมผุ เรียกวาไมซุมทอน มาใชทํา

เสาเรือน ถือวาเปนเสาเสีย 8. หามใชเล่ือย กบไสไมเสา จะหามเพราะเหตุไรยังหาเหตุผลไมได 9. หามใชไมมีตาหรือตําหนิที่โคนเสา ระยะที่เปดไซไกตอดหมูสี เพราะไมที่มีอายุ

งายกวาไมไมมีตา ยิ่งอยูในระยะที่เปดไซได ไกจิกไดหรือหมูเขาสีขางสีเสาได จะทําใหเสาผุกรอนเร็วขึ้น หรือเรือนโยกคลอน ถาหมูสีบอย ๆ ก็จะคอดกิ่ว ถือวาไมดี

10. หามใชไมโคนเล็กปลายใหญทําเสาเรือน เรียกวา “ไมมงสลด” ถาโคนและปลายเสมอกันชื่อวา “อุดมพฤกษ” ดีนัก ถาเสาโคนใหญปลายเล็กชื่อวา “ไมตัวเมีย” ดี

ตามคติปลูกเรือนของพมาเสาที่มีโคนและปลายเทากันเปนเสาตัวผู ถาโคนใหญปลายเล็กเปนเสาตัวเมีย ถาปองกลางเปนเสาไมมีชีวิต ถาโคนเล็กปลายโต เปนเสายักขณี ถาใชเสาไมมีชีวิตปลูกเรือน คนอยูจะมีแตทุกข

11. หามใชไมที่ตกน้ํามันทําเสาถือกันวาอัปมงคล เชนไมตะเคียน ไมเต็งรัง เปนตน ถานํามาใชเปนเสาเรือนครั้นอยูไปนาน ๆ ไมแหงเกิดแตกราวเปนรอยที่ปลายเสา แลวชันน้ํามันที่อยูในนั้นไดรับความรอน ก็ละลายไหลเยิ้มซึมออกมาเรื่อย ๆ ถาเปนเชนนี้ถือวาไมดี ใหจุดธูป

Page 47: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

42

เทียนบูชา อัญเชิญ คือร้ือเรือนเอาไปถวายวัดเสียทันที อันที่จริงเสาตาน้ํามันคือเสาที่เปนกาบเปนโพรงอยูขางในตามภาษาชางเรียกวา “เสาตกไส” คือไสกลวง

12. หามปลูกเรือนคลอมตอ เนินปลวก หรือมีทอนไมอะไรเกะกะฝงอยูในดิน ก็จัดการร้ือถอนเสียแลวปราดดินใหเรียบ เขาถือวาเปนเสนียดจัญไร เพราะไมแนใจนักวาใครจะฝงอาถรรพฝงรูปฝงรอยอะไรไวหรือเปลา ผูอยูจะเดือดรอน

13. หามปลูกเรือนบนดินที่มีรสเปรี้ยว รสสม อยูไมดีจะมีทุกขภัย ถาดินมีรสหวาน ที่นั้นเปนมัธยมปานกลางพออยูได ถารสจืดดีเปนมงคล ถารสเค็มใครอยูหามงคลไมได วิธีตรวจดูดินดีหรือไมดี ใหขุดหลุมลึกราวศอกเศษเอาใบตองปูไวกนหลุม มีหญาสดและสะอาดทับไวขางบนใบตองสักกองหนึ่ง ทิ้งไวคางคืนจนไอดินเปนเหื่อจับอยูที่หนาใบตอง เอาขึ้นมาแลวชิมเหื่อจับอยูที่หนาใบตองเอาขึ้นมาแลวชิม ก็จะรูรสของดินไดดังขางตน

14. หามทําเสาดั้งที่คลอมเลยทองรอดออกไป ถาเลยออกไปเรียก “จระเขขบฟน” ไมดี และถาเสาดั้งไมเสมอกับทองรอดเลยขึ้นไปก็ไมดีเหมือนกันเรียก “กุมภัณฑแลบลิ้น” จะเห็นวาคนโบราณใหทําเสมอทองรอดจึงดี เพราะถาเลยออกมาพนทองรอดไดระยะกับศีรษะก็จะเกิดอันตราย และถางามเสาดั้งอมรอดไมหมดความแข็งแรงก็จะนอยลง

15. อันนี้ไมใชขอหามเสียทีเดียว แตไมคอยนิยมทําเสาสูงจากพื้นดินเกิน 13 ศอก นาจะเกี่ยวกับรูปทรงของเรือน และขนาดของไมก็เปนได

16. หัวเทียนคือเดือยที่อยูปลายเสาหามยาวเกิน 4 นิ้ว 17. อยาใหเดี่ยวบนมีความสูงกวาเดี่ยวลาง ถาระยะเทากันดีหรือเดี่ยวลางสั้นกวาเดี่ยว

บนสัก 1 สวน ก็นับวาดีเชนกัน พิจารณาดูถาเดี่ยวลางสูงกวาเดี่ยวบนจะดูโยงไปไมงาม 18. หางแบงหองเรือนเปนคู ตองเปนคี่ คือ 3, 5, 7, 9 บานคนธรรมดาเกินกวา 3 หอง

ไมคอยพบ สวนเกินกวานี้ก็จะเปนวัง บานเจานายหรือกุฏิพระ 19. เดี่ยวใบดั้งนั้นตองถือเอาสวนยาวของขื่อเปนพิกัด ถาขื่อยาว 5 ศอก ใบดั้งตองสูง 4

ศอก ตําราหามทําใหดั้งยาวเกิน 4 ศอก 1 คืบ และหามต่ํากวา 4 ศอก จะทําใหหลังคาเทลาดลงมากฝนรั่วได และจะดูเรือนผิดสวนหรือหลังคาเตี้ยไป

20. หามขนาดของหนาขื่อใหญกวาหัวเสา เพราะจะยื่นเลยเสาออกมาทําใหหุมฝายาก ถาจําเปนเพราะหัวเสาเล็กก็ตองเลื่อนรูสําหรับสวมหัวเทียนลํ้าออกมาดานนอก คือไมเจาะรูใหตรงตอนกลาง

ผูเขียนสํารวจบานหลายหลังในลุมแมน้ํานอยและแมน้ําเจาพระยา เห็นวาขนาดของหนาขื่อใหญกวาหัวเสาก็มีไมนอยเหมือนกัน

21. หามทําฝาเรือนเอาดานยาวหุมดานสกัด จะเหมือนโลงศพไป ใหทําเอาดานสกัดปดหรือหุมดานขาง คลายหนังที่หุมกลอง ดานแคบหรือดานสกัดจึงไดช่ือวา “ฝาหุมกลอง” อีกช่ือหนึ่ง ถาพิจารณาเรือนที่ปลูกตามตะวันคือ เอาฝาหุมกลองอยูดานทิศตะวันออก-ตะวันตก เวลาฤดูฝนพายุมรสุมจะมาทางดานทิศตะวันตกเฉียงใต ก็จะสาดเขามาทางดานทิศตะวันตกถูก

Page 48: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

43

เต็มหนา พอเขาปลายฤดูฝนฝนก็จะมาตามลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต ฝาหุมกลองดานนี้ก็จะฤดูฝนเต็มหนาอีกเชนเดียวกัน แตฝนก็ไมสามารถจะสาดเขาไปในหองได เพราะมีฝาหุมอยูเหมือนหนังกลอง แตจะทําใหฝาดานนี้ผุเร็วกวาฝาดานยาว เพราะถูกฝนหนัก ๆ เปนประจํา

จึงทําใหการเขาพรึงใชดานสกัดเปนตัวเมียหรือเจาะรูหรือชองเสียบพรึงตัวผูจากดานยาว จะทําใหพรึงตัวเมียหรือดานสกัดปดหัวพรึงทางดานยาวดวยเชนกัน

22. ถาหากเปนเรือนฝากระดาน หามเขาฝาตามขวาง คือตามแนวนอน ถือวาเปนโลงผี หามอยางนี้มีเหตุผลเหมือนกัน เพราะเปลืองไมกระดาน เปลืองเวลาเขารางลิ้นบังใบโดยใชเหตุ ทั้งเปนฝาที่ไมมีลูกตั้งถาจะมีก็หาง มีแตเขาล้ินบังใบกระดาน ซ่ึงความยาวเชนนั้นอาจบิดเกะกะทําใหรางล้ินนั้นเสียหายงาย ไมแข็งแรงดวย ไมเหมือนดังฝาเกล็ดตีดวยตะปูติดกับไมคราวลูกตั้ง เพราะฉะนั้นตามปกติจึงทําเปนฝาลายบัว ซ่ึงเขากระดานตามลูกตั้งนี้ก็เกิดหลังฝาปะกน

23. หามมีประตูและหนาตางจํานวนคู แตจะตองมีจํานวนคี่ อันที่จริงขนาดของเรือนบังคับอยูในตัวอยูแลว เพราะเรือนทั่วไปมีสามหอง มีหนาตางดานสกัดหองละ 1 ชอง รวม 3 ชอง ดานสกัดอีกดานละ 2 ชอง รวมเปน 7 ชอง

มีเรือนบางหลังมีบานประตูดานยาวเพียง 1 ชอง ที่หองกลาง รวมดานสกัดอีก 4 ชองก็เปน 5 หอง ลงจํานวนคี่เชนเดียวกัน เร่ืองจํานวนคูจํานวนคี่นี้ยังหาเหตุผลไมไดเหมือนกัน

สวนประตูก็เหมือนกัน มักมีประตูเดี่ยวคือทําฝาประจันหองแบงหองออกเปน 2 สวน สวนหนึ่งเปนหองโถงไวสําหรับรับแขก เล้ียงพระ เปนตน อีกสองสวนเปนหองแลนตลอดไมมีฝาประจันหองหรือฝากันหอง ซ่ึงใชรวมกันเปนหองนอน มีประตูเขาออกอยูกลางหองที่กลาวมานี้ก็เฉพาะตัวเรือน ไมรวมจํานวนประตูหนาตางของระเบียง

ตามตําราหามทําประตูหนาตางรวมกันเปน 9 หอง เพราะวาเปนทวารทั้ง 9 ไมดี แตไมดีเพราะเหตุผลอยางไรไมกลาว

ถากั้นฝาทั้งสามหอง ก็จะตองมีประตูทุกหองรวมกันเปน 3 ประตู รวมกับประตูระเบียงอีก 1 ประตู ก็เปน 4 ประตู ตําราหาม ที่หามก็เห็นวาถูก เพราะหองจะมืดและไมมีหองโถงไวสําหรับรับแขกและทํางานการ

ถากั้นฝาดานหนายาวตลอด ภายในไมกั้นหองปลอยใหโลง ๆ จะทําประตูเขาออกหองเดียวก็ได แตไมเห็นมีใครทํากันนอกจากกุฏิพระ

ผูเขียนสํารวจพบการใชฝากั้นหองยาวตลอดดานยาว มีประตูหองเดียว เรือนแหงหนึ่งแถว ๆ จังหวัดอางทองจะมีรายละเอียดเพิ่มเติมในบทตอไป

24. หามเหยียบธรณีประตู เพราะมีความเชื่อวาธรณีประตูเปนที่อยูหรืออาณาเขตของผี หรือเจาผีที่หนาประตู มนุษยแตเดิมถือวาทางเขาบาน เขาเรือน เปนที่สําคัญ จึงตองมีคติอยูวาตองมีผีหรือเจาเฝาอยูประจํา เพื่อคอยปกปกรักษาจึงเรียกวา ทวารบาลหรือทวารรักษ เมื่อเปนเชนนี้การเหยียบธรณีประตูทานจึงไดหาม แตถาเปนธรณีประตูขนาดใหญจะขามไปไมพน

Page 49: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

44

นอกจากจะกระโดดขามไป ซ่ึงไมใชวิสัยที่ใครจะทํา จึงแกเคล็ดโดยเอาไมอีกแผนหนึ่งทับเสีย ถึงจะเหยียบก็แกไดวาไมไดเหยียบธรณีประตู

25. หามปลูกเรือนวันเสาร วันอาทิตย และวันอังคาร ถาจะใหดีก็ปลูกวันจันทร วันพุธ วันพฤหัสบดี สวนวันศุกรเปนกลาง ๆ ไมดีไมช่ัว จะมีเหตุผลอยางไรไมไดกลาว

26. หามปกเสาเอกเปนฤกษในวันขางแรมหรือปกทางทิศตะวันตก เพราะเปนตก ๆ ตองไมดี ตามปกติใหปกเสาเอกเปนฤกษทางดานทิศตะวันออก ถาเปนทิศอื่นก็แลวแตฤกษยาม ตองไมใชทิศตะวันตกก็แลวกัน

27. หามทําเสาเรือนยาวไมเทากัน ยกเวนเสาระเบียง เพราะถาเสายาวไมเทากันแลวการขุดปรับระดับพื้นดินจะเปนเรื่องยาก ตองมีการฝงลึกฝงตื้นไมเทากัน เรียกวาทําขอไปทีดังนี้ไมเปนมงคล ฝงตื้นไปก็โยกเซไดงาย ปรับระดับหัวเสาใหเสมอกันก็ยาก

28. หามปลูกเรือนตอนเที่ยง เพราะฤกษดีอยูในตอนเชา พอถึงเที่ยงวันรับประทานอาหารเสร็จก็เร่ิมมุงหลังคาไดเลย แดดจะไมรอนและก็มุงดานที่อยูขางตะวันออกกอน พอมุงเสร็จก็จะบายมาก ๆ แลวแดดจะมากลาเอาทางทิศตะวันตกก็เสร็จทางดานตะวันออก เร่ิมมามุงทางดานทิศตะวันตกแดดก็จะไมเขาตาหรือมองยอนแสง

29. หามทะเลาะเบาะแวงกัน เพราะสรางเรือนเสร็จแลวก็ตกเย็น ถึงเวลากินเลี้ยงเปนปฐมฤกษในการขึ้นบานใหม จะตองอวยพรใหเปนเศรษฐีถาวรสวัสดิ์อยูดีมีสุข ถาทะเลาะกันเร่ือยแลวก็คงไมมีใครอวยพรใหใคร ถือวางานสรางบานเรือนที่เหน็ดเหนื่อยมายาวนานนั้น เปนอันมงคลไป

30. หามพาดบันไดเรือนทางดานทิศใตและดานทิศตะวันตกถือวาไมดี เพราะเปนทิศตกทิศตาย ตามตํารากลาวไววา

ถาหากบันไดทางทิศบูรพา (ทิศตะวันออก) ใหเอาผาผอนเงินทองขึ้นไวกอน ถาพาดบันไดทางทิศพายัพ (ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ) ใหเอาแมวขึ้นไวกอน ถาพาดบันไดทางทิศอุดร (ทิศเหนือ) ใหเอาทองขึ้นไวกอนจงึจะดีแล

31. หามทําลูกบันไดคู ถาทําเปนจํานวนคูจะกลายเปนบันไดผี 32. หามทําระเบียงออกสองขางของตัวเรือน เขาถือไมทํากัน เรียกชื่อวาแรงกระพือปก

ขืนทํามีแตอัปมงคล จะมีก็แตศาลาหรือโบสถวิหาร ซ่ึงมักเปนระเบียงรอบตัว ถาจําเปนก็ตอเปนเพิงออกทางดานสกัด

33. นําศพคนตายรอดขื่อรอดประตูเรือนชาน การที่มีหองโถงไวบนเรือนก็เพื่อจะตั้งศพไวในหองโถงนั้น เวลาเคลื่อนศพก็ออกมาทางระเบียง ไมรอดข่ือหรือรอดประตูหอง เพราะหองโถงดานหนาไมมีฝากั้น แตอาจจะติดที่ประตูระเบียงหรือประตูชาน เขาจึงถอดฝาเสี้ยวหรือถอดจั่วชานดานใดดานหนึ่งออก แลวหามศพหยอนลงทางนั้น เหตุผลก็คือประตูและบันไดนั้นสําหรับคนขึ้นลง จะรวมทางเดียวกับผีไมได เพราะผีก็ผี คนก็คน ไมใชพวกเดียวกันแลว แมผีจะกลับมาก็จําทางไมได เพราะทางผีเคยลงเขาปดฝาเสียแลว

Page 50: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

45

34. หามปลูกเรือนไมมีระเบียงจะกลายเปนเรือนผีเรือนเทวา เชนเดียวกับศาลพระภูมิไป 35. หามปลูกเรือนเปนหองสี่เหล่ียมดานเทา คือระยะชวงเสาดานยาวของแตละหอง

จะตองไมเทากับดานสกัด สวนใหญจะนอยกวา 1 สวน เชน ดานสกัด 6 ศอก หองดานยาวแตละหองตองเปน 5 ศอก รวม 3 หอง 15 ศอก ไมเชนนั้นจะเหมือนการวางไมดานตองแบงหองโลง ผี (ด านตองไมขนาบข า ง เ รื อ รูปกลม ๆ คล ายทางกล วย : พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525)

36. หามครัวติดกับเรือนแมหรือเรือนประธาน ควันไฟจะลมเรือนทําใหสกปรก ควันไฟจะออกทางฝาซึ่งสวนมากจะทําเปนฝาสํารวจเปนฝาไมไผขัดแตะหรือฝา

ไมจริงตีเวนชอง 37. หามตอไมอกไกไมพรึง ที่หามก็เพราะไมจะเสียกําลังรับน้ําหนักไป และหาไมยาว

ไดยาว เรือนก็มีขอจํากัดได 3 หอง มากกวานี้ก็ไมคอยทํากัน ถาอยากใหมากกวา 3 หอง ก็ปลูกเรือนขึ้นหลาย ๆ หลัง จึงเปนที่มาของเรือนหมูดวย

38. หามตัดไมมาปลูกเรือนในระหวางเดือน 5 ถึงเดือน 12 เพราะไมบวชในที่นี้คงหมายถึงไมไผกําลังแตกหนอ

39. หามทําภาพยักษ หนังตะลุงไวในบาน 40. หามใชชอฟา ใบระกา หางหงส ทําบาน 41. หามใชเครื่องหลวงเครื่องประดับชั้นสูงตกแตงบาน 42. หามนําของวัดเขาบานหรือมาประกอบเปนสวนของบาน

Page 51: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 6 องคประกอบของเรือนไทย

องคประกอบของเรือนไทย

1. ฐานราก แบงออกเปน 2 ชนิด 1.1 งัวและกงพัด เปนฐานรากที่ใชไมทอนกลมวางเรียงกัน อยูที่กนหลุมเพื่อเปน

หมอนรองรับกงพัด ไมดังกลาวเรียกวา “งัว” จํานวนงัวจะมีกี่ทอนแลวแตสภาพของดิน สวนกงพัดนั้นไดแก ไมเหล่ียมที่สอดทะลุผานเสาหรือขนาบเสาทั้งสองขาง โดยใชลูกสลัดตรึงกงพัดใหยึดติดกับเสา กงพัดจะถายน้ําหนักลงสูงัว

1.2 แระ เปนฐานรากที่ใชไมแผนไมกลมแบนและหนา ซ่ึงสวนมากใชพูรากไมทองหลาง นํามาถากใหแบนและตกแตงใหกลมคลายเขียงไม สําหรับวางกนหลุมและวางเสาไวบนแระอีกทีหนึ่ง แระนี้จะถายน้ําหนักเสาลงสูพื้นดิน

2. เสา เสาของเรือนไทยภาคกลางมีหลายชนิด ตามลักษณะหนาที่การใชงาน 2.1 เสาเรือน มักใชไมเต็ง ไมรัง เพราะมีขนาดทําเสาเรือนไดเหมาะตามอายุ ไม

บางชนิดขนาดไดแตมีอายุเปนไมออนไป ไมเต็ง ไมรัง เมื่อไดขนาดทําเสาอายุไมก็มากแลว เนื้อไมจึงแข็งแกรง คงทน ฝงอยูใตดินไมผุ สวนที่อยูเหนือดินอยูไดเปนรอยป เชนเรือนที่ปลูกขึ้นตั้งแตรัชกาลที่ 5 แถวอางทอง สิงหบุรี เสายังคงดีอยู มีแตโยเอียงไปเทานั้น

การเลือกไมมาทําเสา ก็ตองหาตําหนิใหนอยมาก เชน โคนเสามีตาก็ไมเอาเรียกวา ระยะเปดไซไกตอดหมูสีดังกลาวมาแลว ถามีตาตรงสวนที่จะตองจะรอดก็ไมเอาเพราะไมมีตาเจาะยาก เสาเรือนจะตองมีความสูงเสมอกันตลอด ธรรมดาจะมีขนาดสูงไมเกิน 12-13 ศอก สูงกวานี้ไมคอยทํากัน

สวนที่ปลายเสาเรือนจะควั่นใหเปนเดือยแทงกลม ศัพทชางเรียกหัวเทียน ไวทุกตน เพื่อสวมเขากับขื่อ เสาเรือนจะใชไมทั้งตนมาถากใหกลมหรือเปนเหล่ียมใหสวนโคนเสา

Page 52: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

47

นั้นใหญกวาปลาย ชางผูชํานาญจะใชผ่ึงหรือขวานถาก ๆ จนเรียบไมตองใส มีทั้ง 8 เหล่ียม สวนโคนเสาประมาณ 150 เซนติเมตร จะกลอมใหเปนเหลี่ยมเล็ก 16 เหล่ียม เปนแบบแผนที่ยึดถือกันมาแตคร้ังโบราณ และยังมีกําหนดชื่อเรียกเสาตามฤกษยามและตามหนาที่ใชงานอีกดังนี้

เสาเอก ไดแก เสาเรือนตนแรกที่ยกลงหลุมตามฤกษยาม เปนไมที่คัดไวแลววาดีงามกวาเพื่อน

เสาโท ไดแก เสาเรือนที่ยกลงหลุมเปนตนที่สอง ตอจากเสาเอก การยกจะตองเวียนขวาหรือทักษิณาวรรตรอบหลุม

เสาตรี หรือเสาพลหรือเสาสามัญ ไดแก เสาที่เหลือและยกลงหลุมตอจากเสาโท และตองยกเวียนไปทางขวาดวยเชนเดียวกัน

เสาดั้ง คือเสาลอยมีทั้งกลมและเหลี่ยม ไมปกลงดิน แตจะทําเปนงามคลอมอยูบนหลังรอดสูงขึ้นไปจนทะลุขื่อ สวนที่ทะลุจากขื่อข้ึนไปทําเปนใบเรียกใบดั้งยันขึ้นไปรับอกไก เรือนหลังหนึ่งจะตองมีเสาดั้งอยางนอย 2 เสา แบงครึ่งดานสกัดทั้งสองขาง และเปนตัวแบงครึ่งฝาเรือนดานสกัดดวย แตถาเรือนหลังใดมีการแบงหอง ก็จะมีเสาดั้งอีกหนึ่งเสาตั้งอยูกลางหองทะลุขื่อขึ้นไปใชสําหรับยึดฝาประจันหองหรือฝากั้นหอง

เสาระเบียง คือเสาที่รับชายคาระเบียงเรือน เพื่อรับจันทันของระเบียงที่ยื่นออกมาจากแนวเสาของเรือนแม มีทั้งเสากลมและเสาเหลี่ยม ถาเรือน 3 หอง ก็มี 4 ตน เปนที่รับรอดระเบียงและรอดของนอกชานดวย

เสาตอมอ คือเสาที่สูงแตรับรอดได สวนมากจะไมเจาะรูรับรอด แตจะทําเปนงามไวรับรอด หรือหาไมที่เปนธรรมชาติมาทํา สวนมากทํากับกระทอมหรือกระตอบและรับสะพาน

เสาชาน คือ เสารับชานเรือนจะเจาะรูใสรอดที่แนวใตพื้นชาน เสาหมอ คือเสาที่สูงจากพื้นดินถึงหลังรอดเหมือนเสาตอมอ แตจะทําเปนเสา

เสริมเขาไปในกรณีเสาเรือนผุปลายจึงทําเปนงามรับรอด เสานางเรียง คือเสาที่รองรับหลังคากันสาดที่ยื่นออกมามากกวาธรรมดาที่ค้ํา

ยันหรือเทาแขนไมสามารถรองรับได 3. พื้น พื้นของเรือนไทย หามใชกบไสจะเสมอเรือนเจาไดยึดถือกันมาตั้งแตโบราณ

ผูเขียนตรวจดูบานเรือนไทยเกา ๆ หลายหลัง ในลุมแมน้ํานอย แมน้ําเจาพระยา ยังไมเคยเห็นไมพื้น แบบไสกบเลย ชางโบราณถากไมไดเนียนจริง ๆ แตถึงอยางไรก็ยังทิ้งรอยขวานถากไวใหเห็นมองในแงดี ถึงจะขัดถูจนเปนมันก็ไมล่ืนไดงาย ๆ พื้นเรือนไทยแบงออก 3 ประเภทคือ

พื้นเรือน เรือนไทยนิยมใชไมกระดานที่มีความกวางมากและยาวตลอด เรือนตอพื้นไมเคยเห็น (ผูเขียน) ถาปูตามยาวก็ปูทับหลังรอดจะใชแผนกระดานสั้น ก็ชวงระหวางเสา

Page 53: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

48

โดยใชฝกมะขามที่ตีติดกับเสาเปนตัวรับ เพราะรอดรับไมไดถูกเสาอมอยู เรือนบางหลังไมใชฝกมะขามแตบากขางเสาใหเปนบาก็ใชได แตไมคอยพบ หากไมมีไมยาวจะใชไมสันปูตามขวางของเรือน หรือปูตามดานแคบ จะตองใชตงพาดอยูบนหลังรอดอีกชั้นหนึ่ง การสํารวจเก็บขอมูลคร้ังนี้ยังไมเคยปรากฏใหเห็นเลย

พื้นระเบียง เชนเดียวกับพื้นเรือนแม ตามตําราพื้นระเบียงจะลดต่ํากวาเรือนแมประมาณ 30 เซนติเมตร แตการสํารวจในครั้งนี้ (พ.ศ. 2553) ไมพบเลยจะพบแตพื้นเรือนแมกับพื้นระเบียงเสมอกันทุกหลัง นี่คือเอกลักษณของเรือนในแถบนี้

พื้นชาน จะอยูต่ํากวาพื้นระเบียงประมาณ 45 เซนติเมตร ระยะกาวขึ้นระเบียงไดพอดี จะปูตามยาวและไมนิยมปูชิดกัน เพราะไมมีหลังคาฝนตกน้ําฝนจะไหลลงลองไดสะดวกทําใหพื้นชานไมผุเร็ว

4. รอด คือแผนไมที่รอดรูเสา ดานสกัดของตัวเรือนและระเบียงใหปลายทั้งสองขางเลยเสาออกไปรับพรึง หลังรอดในเสารับพื้นกระดานที่ปูตามยาว ถาไมพื้นบางก็เสริมรอดคั่นกลางระหวางชวงเสา รอดเสริมนี้จะวางอยูบนหลังอะเส ซ่ึงพบเปนจํานวนไมนอย

5. รา แผนไมขนาดเทากับรอดหรือเล็กกวา แขวนอยูกับพรึง เพื่อชวยรับน้ําหนักพื้นไมใหออนเชนเดียวกับรอดเสริม

6. ตง ไมรูปสี่เหล่ียมแบนวางตั้งอยูบนหลังรอด ตามความยาวของตัวเรือน เพื่อใชรองรับพื้นเรือนที่ปูตามขวาง ลุมแมน้ําทั้ง 5 สาย ที่สํารวจครั้งนี้ไมพบเลย

7. พรึง ไมส่ีเหล่ียมแบนรัดเสาดานสกัดและดานยาว ดานสกัดเจาะเปนรูเดือยรูปหางเหยี่ยว เพื่อใหเดือยหางเหี่ยวคูดานยาวสอดแลวใชสลัดเปนโลหะหรือไมเนื้อแข็งสอดบังคับอีกช้ันหนึ่งกันไมใชไมพรึงเรือนออกจากกัน บางครั้งเจาะเปนรูส่ีเหล่ียมเพื่อสอดเดือยส่ีเหล่ียม นอกจากจะใชเปนหัวไมพื้นแลวยังเปนฐานที่ตั้งฝาเรือน และเปนเครื่องบังคับขนาดของเรือนไปในตัวดวย เพราะฉะนั้นกอนขุดหลุมจึงตองวางพรึงตอกหลักหมายหลุมแบงหองไวกอน

ฝกมะขาม ไมที่มีรูปรางโคงคลายฝกมะขามตอกติดกับเสาใตพื้นเรือนของรองรับพื้นเรือนชวงที่ติดกับพรึงหรือพื้นเรือนริมนอกของตัวเรือนดานยาว เพราะปลายไมกระดานที่ปูเรือนไปชนกับเสาไมสามารถวางบนหลังรอดไดเพราะเสาเรือนอมอยู ชางบางทองที่ไมทําฝกมะขามแตปากเสาเปนบารองรับไวก็มีแตนอยมาก

Page 54: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

49

8. ฝาเรือน ฝาเรือนไทยภาคกลางทําเปนฝาสําเร็จรูปมีมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาแลว คําใหการขุนหลวงวัดประดู กลาวไววา “ยานสัมพะนีทําฝาเรือนและเรือนหอ...ทําไวขายและรับจาง” ประกอบไปดวยไมช้ินเล็ก ๆ รวมกันเปนแผงฝาเรือนทั่วไปทําดวยไมไผและไมจริง ประกอบกันเปนแผงเรียกวา “กระแบะ” เมื่อจะปลูกเรือนก็ยกกระแบะนี้ขึ้นประกอบไดเลย ฝาแตละตําแหนงมีช่ือเรียกตางกันออกไป เชน ฝาดานขางของเรือนเรียกวาฝาเรือน ฝาดานสกัดเรียกฝาหุมกลองหรืออุดหนากลอง ฝากั้นหองเรียกวา ฝาประจันหอง ฝาของระเบียงเรียกวาฝาระเบียงหรือฝาเลี้ยว ฝาตรงหนาหองโถงเรียกฝาเรือน ฝาที่ชานเรียกฝาชาน เปนตน

ฝาเรือนตอนบนอยูระหวางแปหัวเสา ขื่อกับเตา ซ่ึงมีระยะหางประมาณ 50 เซนติเมตร ทําเปนชองลมพัดบาง ทําเปนระบายชองแสงบาง ชวงนี้เรียกวา “กรอบรัดเกลา” หรือ “คอสอง” มีรอบตัวเรือนทั้ง 4 ดาน

ฝาเรือนสวนลางสุดติดกับพรึง มีลักษณะเปนชองลูกฟกสูงประมาณ 40 เซนติเมตร หรือสูงถึงใตกรอบเช็ดหนาของหนาตาง สวนมากความสูงจะนอยกวาความยาวหรือเทากัน สวนนี้มีรอบตัวเรือนทั้ง 4 ดานเหมือนกัน เรียกวารองตีนชาง

ฝาเรือนจะมีหลายแบบ จะมีทั้งลูกตั้งและลูกนอน เพื่อแบงเปนชวง ๆ ขนาดตาง ๆ สวนมากจะนิยมทําฝาปะกน สวนเรือนไฟหรือครัวนิยมทําฝาแบบฝาสํารวจ ฝาดังกลาวพอจะรวบรวมมาแสดงเปนลายเสนประกอบเพราะคําบรรยายอาจมองภาพไมชัดเจนดังนี้

9.1 ฝาปะกน

Page 55: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

50

Page 56: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

51

9.2 ฝาปะกนกระดานดุนหรือลูกฟกลองปะกน

9.3 ฝาลูกฟก 9.4 ฝาลูกฟกกระดานดุน

Page 57: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

52

9.5 ฝาสายบัว

Page 58: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

53

9.6 ฝาสายบัวกระดานดุน

Page 59: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

54

9.7 ฝาขางกระดาน

9.8 ฝาสํารวดไมจริง

Page 60: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

55

9.9 ฝาสํารวจไมไผ

9.10 ฝากระดานดุน

Page 61: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

56

9.11 ฝาตีที่ทับเกล็ด

9.12 ฝาตั้งตีชน

Page 62: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

57

9. ประตู ของเรือนไทยมี 2 ชนิดคือ ประตูหองหรือประตูเรือน และประตูชาน 9.1 ประตูหองหรือประตูเรือน เปนประตูที่ใชเขาหองนอนของเรือนนอน โดย

จะเขาทางหองโถงหรือทางดานระเบียง รวมทั้งประตูที่เขาเรือนครัวดวย ประตูประกอบดวย กรอบเช็ดหนาที่ตกแตงผิวและเขาปากกบทั้ง 4 มุม กรอบเช็ดหนาของประตูจะวางอยูบนลูกนอนตัวลางสุดเหนือพรึงและบรรจุอยูในกรอบของลูกตั้งและลูกนอนของฝา ตัวบานประตูจะเปนแบบ 2 บาน เปดเขาในบานนี้จะยึดอยูกับธรณีประตูลางและบนดวยเดือยในตัวของบานและเดือยนี้ทําหนาที่คลายบานพับประตู ในปจจุบันประตูจะมีดาล เปนเครื่องยึดไวไมใหเปดดาล มีลักษณะเปนทอนไมส่ีเหล่ียม ฐานบัวดับอยูดวยไมที่ติดอยูกับตัวบานทั้งสองประตูที่มีบานขนาดใหญ อาจจะทําเปนบานคูก็ได

ประตูทั้งเปนกรอบสี่เหล่ียมผืนผาและสอบขึ้นขางบนคือกรอบดานลางยาวกวาดานบน

9.2 ประตูร้ัวชาน มีลักษณะเชนเดียวกับประตูเรือน แตประตูนี้จะติดตั้งอยูกับร้ัวชานตรงบันไดขึ้นลงเรือน มีหลังคาอยูขางบนเพื่อกันแดดกันฝนเปนหลังคาทรงเดียวกับหลังคาเรือน และตั้งอยูกับเสาขางประตูเพียง 2 เสาเทานั้น ซุมประตูนี้จะสวยงามและเพิ่มความสงาใหกับเรือนดวย

10. หนาตาง หนาตางของเรือนไทยมีทั้งเรือนนอนและเรือนครัว มี 2 แบบคือ แบบมีหยองและไมมีหยอง หยองคือสวนลางของกรอบเช็ดหนาของหนาตาง ซ่ึงมีลักษณะเปนกรอบส่ีเหล่ียมผืนผา กวางเทาตัวบานและสูงประมาณ 10-15 เซนติเมตร ภายในกรอบมีทั้งฉลุลายแบบตาง ๆ กับลูกฟกกระดานดุน การเสริมหยองเขาไปทําใหหนาตางมีความสูงจากพื้นขึ้นมาอีกเล็กนอย และเพิ่มความงามใหกับเรือนดวย หนาตางมีเดือยและเปดเขาในเชนเดียวกับประตู แตขนาดจะเล็กกวาที่ธรณีลางจะมีชองสําหรับใสกลอนกับเพื่อกันหนาตางเปด

Page 63: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

58

Page 64: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

59

บานหนาตางจะมีความเกี่ยวโยงกับตัวเรือนดวย ทําเปนแบบ 2 บาน ปดชนกันโดยไมมีบังใบตรงที่บานประชิดกันจะมีไม 1 อัน มีความสูงตลอดตัวบานที่ติดบานดานขวามือใหเหลือมเลยออกมาจากขอบบานคลายกับบังใบไมช้ินนี้เรียกอกเลา บานบางหลังจําหลักลายสวยงามดวย อกเลานี้จะมีไดทั้งประตูหนาตาง

กรอบบานหนาตางมีทั้งสี่เหล่ียมผืนผาและสอบเขาหากันดานบนคือ ดานลางยาวกวาดานบนเหมือนกับประตูเชนเดียวกัน

11. บันได ของเรือนไทยเปนบันไดทําสําเร็จรูป นําไปติดตั้งกับเรือนไดทันที ตัวบันไดประกอบดวย แมบันไดและขั้นบันได ขั้นบันไดจะสอดอยูในรูที่เจาะเขาไปในแมบันได รูนี้มีทั้งเจาะทะลุและไมทะลุ รูที่เจาะทะลุจะใหเดือยของขั้นบันไดโผลออกไปพอประมาณ แลวใชลูกสลักยึดไมใหแมบันไดแยกออก ลูกสลักแตเดิมทําดวยไมเนื้อแข็ง ภายหลังมีเหล็กก็ใชเหล็กแทน ตามประเพณีจํานวนขั้นบันไดจะเปนจํานวนคี่ 3, 5, 7, 9, 11 ขั้น นิยมหันไปทางทิศตะวันออก ทิศอื่น ๆ ก็มี ทิศตะวันตกไมมีโบราณเขาถือ ในระยะหลังก็พอมีใหเห็นเหมือนกัน ไมสูจะเครงครัดเหมือนกอน

12. อกไก หรือแปจอง (ปกษใตเรียก แปทู ทางสุโขทัย ศรีสัชชนาลัย เรียก ทู เฉย ๆ) อยูตอนบนสุดของสวนที่เปนสันหลังคาเรือนเปนไมทอนยาวดานตัดเปนรูปสี่เหล่ียมขนมเปยกปูนวางตลอดตามแนวยาวของหลังคาเรือน มีรูสวมเดือยของใบดั้งทุกชวงขื่อ ทําหนาที่ใหจันทันกับกรอบจั่วยึดดานขางสวนบนของอกไก สวนมากชางจะบากเปนรองรูปหางเหยี่ยว ใหปลายกรอบหางเหยี่ยวทาบลงบนรอง แลวสลักดวยลูกสลักไม เพื่อยึดปลายกลอนกับอกไกใหแนน เพื่อวางระแนงและมุงกระเบื้องตอไป ตัวอกไกสวนมากจะใชไมทอนเดียวไมตอและชางจะถากใหออนตัวตรงกลาง สันหลังคาจะไดไมแข็งและดาง ทําใหหัวทายหลังคาดูเชิดเล็กนอย และยื่นเลยตัวปนลมออกไปประมาณ 10 เซนติเมตร บางแหงสวนที่ยื่นออกไปนี้จะควั่นหรือบากใหเปนรองกันน้ําฝนไหลยอน บางแหงใชสังกะสีหุม อาคารโบสถ วิหาร สมัยสุโขทัย ใชกระเบื้องดินเผาทําเปนครอบไว เรียกวา “ครอบอกไก”

Page 65: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

60

13. จันทัน คือไมส่ีเหล่ียมแบน ตั้งอยูบนปลายขื่อดานละตัว ประกอบกันเปนรูปพนมหรือสามเหลี่ยมหนาจั่ว ปลายบนแนบอยูกับใบดั้งใตอกไก ปลายลางบากเปนบาอมไวกับแปหวัเสา บนหลังขื่อภาษาชางเรียกวา “เหยียบจันทัน” คือจันทันเหยียบอยูบนหลังขื่อ รูปของจันทันจะแอนโคงใหรับกับหลังคา

เรือนไทยมีกันสาดและระเบียง จันทันก็จะเรียกชื่อตามตําแหนงที่อยู คือ จันทัน

ระเบียง จันทันกันสาด จันทันระเบียงและกันสาด จะแขวนอยูใตเตากับเสา บางแหงใชนอตรอยเขากับเตา

วิธีนี้นาจะมาทีหลัง อีกวิธีใชไมทําเปนคางคาวหิ้วไว (ดูภาพประกอบ)

ปลายดานนอกก็จะไปแปะไวที่รอยบากของเสาระเบียงดานนอก ถาเปนกันสาดจะมไีมเทาแขนยันขึ้นไปรับ

Page 66: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

61

14. แป เรือนไทยมี 2 ชนิด คือ แปหัวเสากับแปลาน จะวางพาดไปตามยาวตลอดหัวทายของตัวเรือนปลายทั้ง 2 ขางจะยื่นเลยตัวปนลมออกไป

แปหัวเสา สวนมากจะใชไมรูปดานตัดสี่เหล่ียมจตุรัสหรือส่ีเหล่ียมแบนชนิดหนาจะวางอยูที่กับรองปลายขื่อมีทั้งสองขาง บนหลังแปบริเวณขื่อจะมีหนาที่รับปลายกรอบจั่วและจันทัน ชวงระหวางขื่อก็จะเปนตัวรับไมกลอนที่พาดยาวลงมาจากหลังอกไก นอกจากนั้นยังเปนตัวยึดโครงหลังคาเรือนไมใหปลายเสาเรือนเซออกจากแนว เพราะเปนตัวบังคับขื่อและขื่อบังคับเสาอีกทอดหนึ่ง

แปลาน สวนมากจะเปนไมรูปตัดสี่เหล่ียมแบน ขนาด 1 ½” x 3 หรือ 2”x4” วางอยู

บนรองหลังจันทันและกรอบจั่ว ถาเปนตัวเรือนแมหรือเรือนประธาน ก็จะวางขางละ 5 แถว ถาเปนเรือนครัวมีขนาดเล็กลงมาคือเรือน 2 หอง ก็จะมี 3 แถว เสถียรโกเสศ กลาวไวในหนังสือประเพณีเกี่ยวกับชีวิต “ปลูกเรือน” วา แปลานเห็นจะเอาขื่อมาจากใบลาน เพราะเปนไมรูปแบนเหมือนคัมภีรใบลาน โดยมีเหตุที่วางแป ใชวางตามยาวของเรือน จึงเรียกดานขางของเรือนวา “ดานแป” การวางแปยอมวางใหหัวทายของแปยื่นออกมาจากจั่วรับกับหลังคาปกนกพองาม สวนที่ยื่นจากจั่วนี้เรียกวา ไขลาหนาจั่ว ในภาษาไทยใหญแปลวา ที่เดนที่สูง คําวาไขลา จะหมายความวา ขยายใหเดนใหสูงไดบางกระมัง

Page 67: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

62

15. ใบดั้ง จะมีเฉพาะดานสกัดหรือฝาหุมกลอง ลักษณะเปนไมส่ีเหล่ียมแบน โคนใหญปลายเล็ก สวนปลายจะทําเปนเดือยไวสําหรับสวมเขากับรูเดือยของอกไก สวนโคนทําเปนเดือยเข็ญตั้งอยูบนหลังขื่อ มีหนาที่รับแผงจั่วและรับอกไก บางแหงเปนไมทอนเดียวกับเสาดั้ง แตระยะเดี่ยวบนจะถากเปนรูปเหล่ียมหรือกลมก็ได แตระยะเครื่องบนจะตองเปนสี่เหล่ียมแบนดังไดกลาวแลว

มีดั้งอีกชนิดหนึ่งเรียกดั้งแขวน ลักษณะเชนเดียวกับใบดั้ง แตจะตองตั้งอยูบนขื่อตัวในที่ไมมีเสารับ ใชสําหรับใหจันทันเกาะและรับอกไกเชนเดียวกัน ขนาดของใบดั้งมีสูตรมาตั้งแตคร้ังโบราณวา เดี่ยวใบดั้งนั้นตองถือเอาสวนยาวของขื่อเปนพิกัด ถาขื่อยาว 5 ศอก ใบดั้งก็ตองสูง 4 ศอก เวนไวแตตองการหลังคาสอบสูงเรียวก็ตองใชเดี่ยวใบดั้งเปน 4 ศอก 1 คืบ

16. กลอน ไมแผนบางขนาด ½”x3” ทําหนาที่ยึดเครื่องมุง พาดบนแปทุกตัว ตั้งแตอกไกไปจนถึงเชิงกลอนของหลังคาเรือน ปลายดานบนที่วางอยูกับอกไกจะทําเปนหางเหยี่ยว ทาบลงบนรองที่ชางทําไวหลังอกไก เจาะรูฝงเดือยลงไปใหแนน

ถาหลังคามุงดวยกระเบื้อง กลอนก็จะทําเปนกลอนเจาะกับกลอนขอ เพื่อวางไมระแนงอีกชั้นหนึ่ง เพื่อใหระแนงรับกระเบื้อง ถาหลังคามุงดวยหญาหรือจากไมตองมีระแนง แตอยาใชกลอนเจาะเปนรูเรียงตั้งแตปลายขางหนึ่งไปหาปลายอีกขางหนึ่ง เวนชวงหางเทากับระยะที่จะมุงดวยจากหรือหญา สวนมากจะประมาณ 15 เซนติเมตร หรือเทากับระยะความหางของระแนง

17. ขื่อ ไมแผนสี่เหล่ียมแบนจะใชขนาด 1 ½”x7”, 2”x8” ปลายทั้งสองขางเจาะรูกลมเพื่อสวมเขากับหัวเทียนของเสา รูทั้งสองนี้จะเปนตัวบังกับความสอบของเรือน และที่ปลายขื่อทุกตัวจะบากเปนรองเพื่อรับแปหัวเสา และหลังขื่อจะเปนตัวจับระดับแนวระนาบของตัวเรือน ขื่อตัวริมสุดทั้งสองขาง เหล่ียมบนจะถากใหลาดเอียง รับกับความลาดเอียงของปกนกเรียกวา ขื่อเผล และขื่อที่อยูระหวางหองจะเรียกวา ขื่อประจําหองยังมีขื่ออีกแบบหนึ่งเรียกวา ขื่อคัด จะอยูใตขื่อเผล เพื่อรับโคนใบดั้งที่ทะลุขื่อเผลลงมาเปนตัวบังกับไมใหปลายใบดั้งโงนเงนได

Page 68: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

63

อีกตําแหนงหนึ่งเรียกวา ขื่อคัดเชนเดียวกัน ใชสําหรับเรือนแฝด คือวางอยูใตขื่อประจําหอง วางพาดยาวจากเสาดานนอกของเรือนแมไปยังเสาดานนอกของเรือนแฝด เพราะเสาคูในของเรือนแฝดไมมี ถามีก็จะทําใหเกะกะจึงใชเสาตุกตาวางอยูบนหลังขื่อคัด เพื่อขึ้นไปรับขื่อบนอีกทอดหนึ่ง ขื่อคัดตัวนี้สวนมากจะวางเอาสันตั้งไมวางทางนอนหาวางทางนอนจะรับน้ําหนักไดไมดี

18. ระแนง ไมทอนยาวหนาตัดรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสวางพาดอยูบนบาของกลอน ทําหนาที่รับกระเบื้องมุงหลังคาวางระยะหางกันประมาณ 10 เซนติเมตร ขนาดประมาณ 1”x1”

19. สะพานหนู ไมแผนยาวางทับบนหลังเชิงกลอน ทําหนาที่รองรับปลายกลอน กระเบื้อง ถามุงดวยหญาหรือตับจากก็รับหญาและตับจากปองกันฝนไหลลงมาเปยกเชิงกลอนทําใหผุไดมีขนาดประมาณ 1”x4”

20. เชิงกลอน ไมแผนสี่เหล่ียมแบนขนาดประมาณ 1 ½”x6” ติดอยูปลายเตาของชายคา และจันทันปกนกกับจันทันหลังคาระเบียงทําหนาที่รองรับสะพานหนู ตัวเชิงกลอนจะเจาะรูเพื่อใหเดือยของเตาสวม

21. เตา ไมแผนหนาขนาดประมาณ 2”x4”, 1 ½”x3” ยาวประมาณ 70 เซนติเมตร ปลายขางหนึ่งเสียบอยูกับเสาปลายดานนอกทําเปนเดือยเพื่อเสียบรับเชิงกลอนเตาตัวเดียวตามเสาเรียกเตาราย ถาเตาสองตัวอยูที่เสามุมรับเชิงชายดานยาวกับดานสกัดเรียกเตารุม มีทั้งตัวผูและตัวเมีย

22. สลักเดือย เหลาไมกลมยาวคลายตะเกียบสอดอยูที่ปลายเดือยของเตา ปลายเดือยของพรึง ปลายเดือยของจันทันระเบียง เพื่อบังคับไมใหสวนประกอบที่กลาวมาดีดออกจากกัน ในระยะหลังใชตะปูหรือเหล็กเสนกลมแทน

23. คางคาว ไมแปยาวประมาณ 40 เซนติเมตร จะเจาะรูส่ีเหล่ียม 2 รู รูบนสวมเขากับเตารูลางใหปลายจันทัน กันสาดสอดทําหนาที่รับปลายจันทันที่อยูดานในใตเตา รุนตอมาไมคอยทําเพราะใชนอตรอยเตากับจันทันกันสาดเขาดวยกันก็แนนดี

24. หนาจั่ว แผงไมปดโครงจั่ว ดานสกัดหัวทายหรือปดโครงจั่วฝาประจันหอง แผงจั่วนี้ประกอบดวยไมแผนเล็ก ๆ เปนรูปสามเหลี่ยม ดานประกอบมุมแหลมทําหนาที่เชนเดียวกับจันทัน เพราะบากเปนรองเพื่อรับแป แผงจั่วนี้จะยึดอยูกับใบดั้ง ตั้งอยูบนขื่อและแปหัวเสา มีการประดับตกแตงหนาจั่วหลายแบบ

Page 69: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

64

จ่ัวลูกฟก จ่ัวหนาพรหม ลักษณะเปนชองบรรจุลูกปะกนขนาดใหญ เรียกวาลูกฟก

ชองลูกฟกนี้อาจมีถึง 5 ช้ัน ลดหร่ันกันขึ้นไปมีทั้งลูกตั้งและลูกนอน ชั้นบนสุดมีชองเดียวเรียกหนาพรหม หรือพรหมพักตร เมื่อเวลาปลูกเรือนมีการทําขวัญจั่ว โดยใชผาขาวผืนเล็กและเย็บประติดกัน ผูกหอยไวที่หนาจั่วและเจิมเปนรูปพนมตรงยอดจั่วดวยที่ทําเชนนี้ถือวาเปนสิริมงคลแกเรือน ถาคิดอีกแงหนึ่งวาเปนเครื่องปองกันอันตรายที่จะมาบีฑาก็ลงรอยเดียวกัน ถาทานดูรูปเกียรติมุขลายสิงหในรูปเขียนจะเห็นวาเปนลวดลายเคาเดียวกันจะตางกันที่ลายสิงห เปนรูปพนมเรียวขึ้นไปเทานั้น สวนรูปเกียรติมุขเอามาติดไวที่หนาจั่ว บางจะไมไดหรือ แตรูปจั่วของเรือนเปนรูปแหลม จะใชเปนรูปเกียรติมุขดูละวุนไมเขากับรูปจั่ว ทั้งการทําเชนนั้นก็ไมเปนของงายนัก นอกจากจะเปนเรือนของคนที่มีอํานาจวาสนา ไมใชจะเปนของที่ทํากันเปนสามัญทั่ว ๆ ไป จึงยักทําเปนลายหนาพรหม ซ่ึงเทากับเอาพรหมวิหารเปนเครื่องปองกันอันตราย ที่ลัทธิศาสนาที่ไทยนับถืออยู สวนที่เจิมรูป 6 จุด เปนรูปพนมคิดวาเปนความหมายทํานองเดียวกัน (เสถียรโกเสศ : ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต ปลูกเรือน 2581)

จ่ัวใบปรือ จั่วที่มีไมแกนกลางเปนแนวตั้ง ใชไมส่ีเหล่ียมแบนขนาดเล็กตีทับเกล็ด

ในแนวนอน ทั้งซีกซายและขวา ตั้งแตฐานจนถึงยอดถึงอกไก บางแหงทําเปนลูกฟก 1 ช้ันบาง 2, 3 ช้ันก็มี

Page 70: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

65

จ่ัวพระอาทิตย จะมีแถวลูกฟกอยูดานลาง 1-2 แถว เหนือลูกฟกจะทําเปนรูปครึ่ง

วงกลมมีแกนตั้งกลางคลายใบดั้ง แลวทําเปนซี่ไมแบบรัศมีของดวงอาทิตยขึ้นไปยันที่กรอบจั่ว ถาเปนเรือนไฟหรือครัวจะตีชองเวนชอง ถาเปนเรือนแมหรือเรือนประธาน เรือนพาไล เรือนลูก จะตีเวนชองเหมือนกัน แตมีไมกรุอีกชั้นหนึ่งอยูขางหลัง จั่วของเรือนบางหลังใชวิธีสลักไมเปนรูปพระอาทิตยก็มี จั่วรูปพระอาทิตยนี้ไมใชมีแตเฉพาะเรือนไทย เรือนทรงมะนิลาก็นิยม ภาคใต ภาคเหนือ ภาคอีสาน มีทั้งนั้น

Page 71: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

66

Page 72: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

67

จั่วจะมีรายละเอียดปลีกยอยอีกหลายแบบ แตแบบหลัก ๆ ก็จะมี 3 แบบ ดังกลาวนี้ถือวาเปนหนาตาของเรือน เพราะจั่วจะอยูดานที่รับตะวันขึ้นและตะวันตก ภาคอีสานเรียก “สีหนา” ใหความหมายชัดเจนดี คนเราคบกันมองไมเห็นหัวใจแตดูสีหนาก็พอจะรูได เปนสํานวนแบบไทย ๆ ที่เขาใจกันดี

25. เคร่ืองมุงหลังคา ช้ันเดิมคงมุงดวยใบไม เชน หญาคา หลังคาจึงอาจจะไดช่ือมาจากหญาคาก็เปนได นอกจากนี้ยังมีหญาแฝก ใบจาก ใบตาล ใบมะพราว แลวแตทองถ่ินไหนจะหาไดงายกวากัน จะทําออกมาเปนตับ ๆ เวลามุงก็ไมตองใชระแนงใชตับจากและหญาหรือใบไมสอดรอยดวยตอกเพื่อผูกติดกับกลอน เรือนไทยสมัยกอนนิยมมุงหลังคาดวยหญาและจากจึงไมมีระแนง คร้ันเมื่อใชกระเบื้องเกล็ด (มีกระเบื้องหากตัดกระเบื้องเกล็ดเตา กระเบื้องกลีบบัว) ก็เพิ่มระแนงเขาไป ตอมาภายหลังมีสังกะสีเขามา ก็ใชสังกะสีมุงตัดระแนงออกอีก เพราะสังกะสีเปนแผนยาวมีลอนใหน้ําฝนไหลไดทิศทางและสะดวก จากสังกะสีก็มาเปนกระเบื้องลอนคู อันนี้ใชในระยะหลัง ๆ แลว ทั้งสังกะสีและกระเบื้องลอนคู สวนมากจะใชซอมหลังคาหรือหลังเกาที่ชํารุด โดยถอดไมระแนงออกเสียเพราะไมตองใช มุงสังกะสีนอกจากจะกันฝนรั่วไดดีแลวยังมีน้ําหนักเบาไมอุมน้ํา

26. ปนลม คือไมแผนใหญ หนาประมาณ 3 เซนติเมตร 2 ตัว ประกอบใหเปนสามเหลี่ยมหนาจั่ว ตกแตงปลายบนใหแหลมออนชอยไปตามแนวลาดเอียงของหลงัคา จะวางอยูบนหลังอกไก แปทกุตัว ปลายปนลมจะวางทับอยูบนหลังสะพานหนูหรือเชิงกลอน ปนลม

ทุกตัวจะตอยอดข้ึนไปใหแหลม วิธีตอยอดมีหลายแบบ คือ แบบนั่งครอมหรือสวมหมวก

Page 73: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

68

กับบากเปนบาไวที่ตัวหนึ่ง เพื่อใหอีกตัวหนึ่งปะกบเขาทําเปนรางล้ินสลักเดือยไม บางแหงใชสังกะสีทาบชิดหัว บางแหงใชไมแผนบาง ๆ ตีทับหลังปนลม สวนหางจะทําเปนตัวเหงา ทําเปนตัวตางหากแลวนํามาตอกัน นอกจากปนลมตัวเหงาแลว

Page 74: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

69

ยังมีหางปนลมแบบหางปลา สวนมากจะทําเปนคูแฝดกบัเรือนประธาน เรียกวา ปนลมแบบตัวเมีย ใชประดับเรือนประธานหรือเรือนแมกม็ี การติดปนลมจะใชตะปูจนีตีเย็บเขากับหลังอกไกและแป ปนลมนับวาเปนเครื่องปดเครื่องบังปองกันลมฝนตียอนใหเครื่องมุงหลุด นอกจากนีย้ังชวยใหเกิดความงามและเปนสัญลักษณของเรือนไทย ถาจะกลาวใหเหน็ประโยชนกต็องบอกวา

หากเรือนใดไมมีปนลมแบบดังกลาว ไมใชเรือนไทย 27. ไขรา สวนของหลังคาที่ยื่นออกจากตัวเรือน ถายื่นจากหนาจั่วเรียก ไขราหนาจั่ว

ถายื่นจากฝาหุมกลองใตหลังคาปกนกเรียกวา ไขราปกนก และถายื่นจากฝาดานแปหรือดานยาวใตกันสาดเรียกวา ไขรากันสาด ไขราสวนที่ยื่นออกจากหนาจั่วถึงเชิงปนลมนิยมใชไมแผนทําเปนฝา ตีทับหลังแปเพื่อปดชองวางและทําหนาที่เปนกลอนขอไปในตัวดวย

28. กันสาด สวนที่ตอจากชายคาของเรือน 3 ดาน ยกเวนดานระเบียงทําไวเพื่อปองกันแดดและฝน กันสาดมีความลาดมากกวาหลังคาเรือน และตองมีไมค้ํายันหรือแขนนางค้ําไว แตถายื่นออกมามากกวาปรกติจะตองมีเสานางเรียงตั้งรับ เรือนธรรมดาไมคอยพบ ปจจุบันกันสาดที่มุงดวยกระเบื้องดินเผาไมคอยพบ สวนมากจะใชสังกะสีแทน

Page 75: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 7 บานเรือนไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทรตนตน

บานเรือนไทยสมัยอยุธยา ตัวบานที่เปนของสมัยอยุธยาที่หลงเหลือมาถึงปจจุบันในเขตความรับผิดชอบของสํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา หรือเขต 5 จังหวัดดังกลาวไมพบเลย เรือนทรงไทยที่เปนสมัยอยุธยาที่ยังเหลืออยูที่วัดใหญสุวรรณดาราม จังหวัดเพชรบุรี ตามประวัติกลาววาเปนตําหนักของพระเจาเสือ ถวายแกพระสังฆราชแตงโม แตก็ไดรับการปรับปรุงซอมแซมเรื่อยมา หลักฐานของสมัยอยุธยาที่ยังหลงเหลืออยูก็คือเอกสารที่ชาวตางประเทศเขามาในกรุงศรีอยุธยา แลวบรรยายสภาพบานเรือนไวกับภาพจิตรกรรมฝาผนัง และภาพในสมุดขอย ลาลูแบรเขามากรุงศรีอยุธยาในสมัยของสมเด็จพระนารายณมหาราช กลาวถึงองคประกอบของบานเรือนของคนในสมัยอยุธยา ไวดังนี้ Sãon เสา ลําไมไผที่รับตัวเรือนมีอยู 4 หรือ 6 ตน ปกเปนสองแถวใน

ระยะหางเทา ๆ กัน สูงจากพื้นดิน 12 หรือ 13 ฟุต Root รอด ลําไมไผที่ 2 ทอน วางอยูบนหัวเสาดังเชนคานวางอยูบนหัว

เสาตามความยาวของหนาเรือนกับหลังเรือน Rareeng ระแนง ลําไมไผอ่ืน ๆ อันทอดอยูบนหัวเสาจํานวน 2 หรือ 3 ลํา ตาม

แนวยาวของตัวเรือนดานขางและบนหัวเสาคูกลาง ถาเรือนหลังนั้นพักอยูบนเสา 6 ตน

Preling พรึง ไมขัดแตะใชเปนรองพื้นหรือพื้นชั้นแรก Fak ฟาก ไมไผที่สับใหแบบและผูกเขาดวยกัน ใชวางบนพื้นตาง

กระเบื้องพื้นหองและใชขนาบเขากับฝาหองที่เปนขัดแตะดวยเหมือนกันแทนฝาไมกระดาน (แสดงวา ฝาเรือนใชไมกระดานดวยเหมือนกัน คงจะเปนเรือนเครื่องสับ ผูเขียน)

Me’F°a แมฝา (mere muraille) คือไมไผขัดแตะหรือไมกระดานที่ทําเปนฝาเรือนดานนอก (เรือนเครื่องสับ ผูเขียน)

Fa ํ ฝา ขัดแตะอันเปนเครื่องกั้นตัวเรือนทั่ว ๆ ไป Louk-fa ลูกฝา (fils de cloisons) คือฝาเล็กฝานอย Paktou ปากตู (bouche de devant) คือประตู Pak คือปาก (bouche) Ne-tang หนาตาง (garde-visage) เปนคลายแผงกันลมซึ่งเขายกขึ้นแลวค้ําไว

ดวยทอนไม แลวก็ปลอยใหพับตกลงมา เมื่อตองการปดหนาตาง (บานกระทุง ผูเขียน) ไมมีชนิดบานกระจกลาย Na คือ หนา (Visage) tang ปองกัน (garder)

Page 76: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

71

Keu ขื่อ แผนขัดแตะที่ใชคาดเปนเพดานหอง (ลาลูแบร คงเขาใจวาเปนฝา ผูเขียน)

Dang ดั้ง เสา 2 ตนที่ตั้งรับแป (แปในที่นี้นาจะหมายถึง อกไกหรือแปจอง ผูเขียน)

Okkai อกไก ลําไมไผที่วางพาดบนหัวเสาทั้งสองตน เปนสันหลังคา Cloon กลอน ไมที่พาดบนแปวางลาดลงมาตามอกไกทั้งสองดาน Kiak จาก ใบไมใชมุงหลังคา Kraboüang กระเบื้อง แตเรือนคฤหัสถไมใชมุงดวยกระเบื้อง นอกจากเปนตึกกอ

อิฐถือปูนเปนนิวาสถานของชาวยุโรป ชาวจีน และแขกมัวร เทานั้น

Pe แป (Comble) Hong หอง (chambers) Gadai กะได (échetle) ของเรือน Tong ตง ไมไผสองลําที่ประกอบเปนกระไดทั้งสองดาน (คือแมกะได

ลาลูแบร นาจะหมายถึงขื่อไมไผชนิดหนึ่ง ลําตนใหญไมมีหนาม ซ่ึงนํามาใชเปนแมกระไดมากกวา จะเปนขื่อไมเครื่องเ รือนที่ วางทับบนรอดสํ าหรับรองพื้น หรือฟากตามความหมายของคําวา “ตง” ที่ถูกตอง)

Kan-gadai ขั้นกะได (écheions) Mid-tok มัดตอก มัดชนิดหนึ่งสําหรับจักไม (ตอก) ใชผูกใบไม (จาก) มุง

หลังคา (ในที่นี้ใหความรูวา การมุงหลังคานั้นใชตอกเปนตัวผูกตับจากกับกลอน : ผูเขียน)

ภาพลายเสนเครื่องมือชางไมกอนจะมีเครื่องมือไฟฟา

Page 77: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

72

นอกจากจะบรรยายเปนลายลักษณอักษรแลว ลาลูแบรยังมีภาพเรือนประกอบในจดหมายเหตุของเขาไวดวย เปนภาพของเรือนใตถุนสูง น้ํากําลังทวมใตถุนนั้น ทรงเปนกลองส่ีเหล่ียมผืนผาไมมีระเบียง หลังคาทรงจั่ว มีปนลม คลายชอฟาและหางหงส หลังคามุงดวยใบไมนาจะเปนตับจาก ฝาเรือนเปนไมขัดแตะ ซ่ึงคงเปนไมไผสาน หนาตางดานสกัด 1 ชอง ดานยาว 2 ชอง เปนบานกระทุงทั้ง 3 ชอง มีชองประตูและบันไดขึ้นเรือนดานยาว มีเสาทั้งหมด 6 ตน คงเปนเรือน 3 หอง นั้นเอง

ภาพบานเรือนชาวสยาม และบานราชทูตฝรั่งเศส ในจดหมายเหตุ ลาลูแบร

ในภาพจะแสดงพรึงกับฝาเรือนไวดวย และบันไดที่พาดขึ้นเรือนเปนบันได 9 ช้ัน มีคนนั่งอยูในเรือสองคนที่หนาบาน

Page 78: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

73

นอกจากจดหมายเหตุลาลูแบรแลว ยังมีจดหมายเหตุอีกฉบับหนึ่งของแกมปเฟอร เขามาในกรุงศรีอยุธยาเมื่อป พ.ศ. 2233 ในสมัยของสมเด็จพระเพทราชา แกมปเฟอรเปนหมอชาวเยอรมันเปนหมอประจําการทูตของเนเทอรแลนด ไดเขาพบเจาพระยาพระคลังที่บาน และกลาวบรรยายลักษณะบานเจาพระยาพระคลังไวดังนี้ “ขบวนเรือแลนเสียบกําแพงพระนครขึ้นไปตามลําน้ําสักประเดี๋ยวหนึ่งก็วกมุงไปสูบานของทานพระยาพระคลัง อันเปนที่ซ่ึงทานออกแบบเมืองอยางสงาสมเกียรติศักดิ์ เราขึ้นทาดานหนึ่งของบานแลวเดินไปจนถึงลานบานอยูขางจะสกปรกและอับ ๆ แตยังดีกวาบานอีกหลังหนึ่งของทาน ซ่ึงเราไดไปเยี่ยมคํานับทานเปนการสวนตัวมาแลวกอนหนานี้ 2-3 วัน พอเขาไปในลานบานเราก็เห็นเรือนหรือหองเปดหลังหนึ่งอยูทางซายมือ ทําเกือบเปนรูปจัตุรัสไมมีผนัง พื้นปูกระดานมีคนอยูเต็ม (นาจะเปนหองโถงกลาง ผูเขียน) บางก็นั่ง บางก็เดินคุยกัน ทางขวามือเห็นชางเชือกหนึ่งผูกครบยืนอยูในโรง ตรงกันขามกับทางเขามีบันไดหินเขาสูเรือนพระยาพระคลังซึ่งเปนที่ออกแขกเมือง เราขึ้นบันไดไปแลวถอดรองเทา เรือนหลังนี้มีหองเพียงหองเดียว เปนหองโถงยกพื้นสูงคลายโบสถขางในขาวมีฝุนและใยแมงมุงจับ มีเสาสี่เหล่ียม ถาเพดานตรงใตหลังคาชั้นที่ 3 ซ่ึงยกขึ้นไปสูงขางละ 7 เสา เพดานนั้นประดับลายกนก สีแดงอยางประณีต ราวกึ่งกลางเสามีแผนทองแดงใหญแขวนอยูแผนละตน (อาจเปนยันต : ผูเขียน) ฝาระหวางเสาทําเปนเฟยมเปดตลอดแทนหนาตาง ทางเขาหองโถงใหญมี 2 ทาง มีหนาตางอยูระหวางกลาง ดานริมหองโถงมีราวไมไผตรึงติดกับเสาขึงผาขาว และเบื้องหลังผาขาว ในระหวางฝากับเสานั้นเปนพวกขาทาสบริวารของพระยาพระคลังนั่งบาง หมอบอยูกับพื้นบาง...” และอธิบายสภาพของกรุงศรีอยุธยาตอนหนึ่งวา “บานคนธรรมดาเปนกระทอมเสียเปนสวนใหญ ปลูกดวยไมไผ ซ่ึงเปนไมกลวงหนาราว 2-3 ฝามือ พื้นปูกระดาน หลังคามุงจากหยาบ ๆ” นอกจากนี้ยังมีภาพลายเสนประกอบในหนังสือนาสนใจมาก ๆ เปนหมูบานริมแมน้ําเจาพระยา เขียนดวยลายเสนมีมิติ กวาง ยาว ลึก สวนมากจะวางผังตัวเรือนใหดานยาวขนานไปกับแมน้ํา หลังที่มีระเบียงจะมีหนาตางทําเปนบานกระทุง 1 ชอง บันไดพาดทางดานสกัดของระเบียง ฝาระเบียงทําเปนฝาลายบัว บางหลังหันดานสกัดลงแมน้ํามีเพิงยื่นออกจากดานสกัดไมมีระเบียง ยอดปนลมไขวกันเหมือน “กาแล” ทางภาคเหนือ หนาจั่วทําเปนแบบใบปรือ เปนเรือนใตถุนสูงขนาด 3 หอง

Page 79: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

74

ในสมัยอยุธยามีหลักฐานของกระเบื้องมุงหลังคาอยูมากมาย มีทั้งกระเบื้องเกล็ด และกระเบื้องลูกฟูกหรือกระเบื้องกาบู พบทั้งในเขตพระราชฐาน วัดในเมือง และวัดตามชนบท จึงเปนหลักฐานใหเห็นวา อาคารแบบเรือนไทยนอกจากจะมุงดวยหญาและจากแลว กระเบื้องก็เปนวัสดุอีกประเภทหนึ่งที่ใชกันอยู เชน กุฏิพระสงฆ เปนตน เมื่อมีกระเบื้องดินเผาก็ตองมีเครื่องไมที่ประกอบการมุง แตหลักฐานเหลานี้ไมหลงเหลือมาถึงปจจุบัน เพราะผุเปอยไปหมดแลว ถึงอยางไรก็ตองมีระแนง แป กลอน จันทัน ฯลฯ โดยเฉพาะไมระแนงนั้นตองมีเพราะเปนสวนที่ใหขอกระเบื้องเกาะ ถาหากเปนตับจากและหญาไมจําเปนตองมีระแนง มีเพียงกลอนเจาะเทานั้น อยางไรก็ตามยังมีภาพจิตรกรรมในสมุดไตรภูมิ ฉบับกรุงศรีอยุธยา-ธนบุรี เขียนลักษณะเรือนไทยไว ซ่ึงมีรูปทรงและสวนประกอบอาคารดังนี้ เปนอาคารทรงจั่ว หลังคามุงดวยกระเบื้องเกล็ดสีแดง มีกันสาดโดยรอบ ประดับดวยปนลมแบบตัวเหงา ฝาทําเปนฝาปะกนลูกฟก มีรองตีนชาง ดานสกัดเปนประตู 1 ชอง ดานยาวมีหนาตาง 1 ชอง

จากสมุดไตรภูมิฉบับกรุงศรีอยุธยา เลขที่ 8 มีภาพพุทธประวัติตอนชูชกกับนางอมิตาดา เปนบานทุนวิกของชูชก ลักษณะเปนบานทรงจั่ว มีกันสาดโดยรอบ แผงจั่วทําเปนลูกฟก

Page 80: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

75

หนาพรหม ฝาดานขางเปนฝาปะกนลูกฟกที่นาสังเกตคือ ใชดานสกัดเปนหนาบานมีชานยื่นออกไป พาดดวยบันไดโคง 3 ขั้น รูปทรงตลอดจนองคประกอบตาง ๆ ยังคงสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน ยกเวนหนาเรือนที่ใชดานสกัด ปจจุบันไมเห็น เห็นแตเปนศาลพระภูมิหรืออาคารโบสถ วิหาร บานเรือนไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน คงไมแตกตางกับเรือนไทยในสมัยอยุธยา มิฉะนั้นคงจะไมมีการถายทอดวิชาความรูมาถึงปจจุบันได หลักฐานที่พอจะหลงเหลือ สวนมากก็จะเปนพระตําหนักหรือกุฏิพระสงฆ และภาพจิตรกรรมฝาผนัง เชน

- ตําหนักแดงในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 - หอไตรวัดระฆังโฆษิตาราม ฝงธนบุรี สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 - ภาพจิตรกรรมฝาผนัง พระที่นั่งพุทไธสวรรค ในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

พระนคร แสดงลักษณะของเรือนหมู มีชานแลนตลอด หลังคามุงดวยกระเบื้องเกล็ด หนาจั่วทําเปนลูกฟกหนาพรหม มีปกนกใตแผงจั่ว บางหลังมีกันสาด บางหลังไมมีกันสาด ประดับปนลมแบบตัวเหงา สวนฝาทําแบบฝาสํารวจไมจริง ดานสกัดมีหนาตาง 2 ชอง มีบันไดพาดกลางชานเรือน

ยังมีกุฏิสมัยรัชกาลที่ 3 ที่วัดยานอางทอง อําเภอผักไห จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3 หลัง ตามประวัติวายายจากวังหนามาปลูก คราวที่เจานายวังหนามาสรางศาสนสถานที่วัดแหงนี้

Page 81: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

76

ตําหนักวังหลัง

ตําหนักวังหนา

Page 82: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

77

ลายจําหลักตามชองลูกฟกของตําหนักวังหนา

เปนอาคารขนาด 5 หอง มีระเบียงหนา หลังคาทรงจั่วมุงดวยกระเบื้องเกล็ด ปนลมปจจุบันเปนปูน ลักษณะกับขาวไมมียอดและตัวเหงา ฝาปะกนลูกฟก ดานสกัดมีหนาตาง 2 ชอง ดานหลังมีหนาตางหองละชอง ประตูชองกลางเรือน แผงจั่วแบบลูกฟกหนาพรหม

Page 83: 01 Knowledge 1-8

บทท่ี 8 ตําราปลูกเรือน

พื้นท่ีปลูกเรือน เมื่อมีพื้นที่ก็จะตองตรวจดูเสียกอนวาเหมาะสมเปนมงคลหรืออัปมงคล ตามปกติจะตองใหโหรหรือผูรูมาตรวจตราดู ฉะนั้นจึงตองหาฤกษปราบดิน คือตรวจดูพื้นดินวาเปนโขดเปนเนินปลวก มีหลักมีตอ ขอนไม หรืออะไรที่เกะกะจมฝงดินอยู ถามีก็จัดการถอนทิ้งและปราบดินใหเรียบ เพราะปลูกเรือนบนโขดเนินคลอมหลักคลอมตอ เขาถือวาเปนเสนียดจัญไร เมื่อเก็บทิ้ง ส่ิงของที่ไมดีและเกะกะออกหมดแลว ก็จัดการปราบดินใหเรียบ เพื่อสะดวกในการกอสราง และอยูอาศัยตอไป ถือวาเปนขอควรปฏิบัติอยางหนึ่ง เมื่อใหโหรตรวจตราดูแลววาพื้นดินแหงนี้ไมมีใครฝงอาถรรพ ฝงรูปฝงรอยอะไรเอาไว ถามีก็จัดการเสียจะไดอยูอยางสุขสบายไมเดือดรอน เปนการรอบคอบไวกอน นอกจากนี้ยังมีวิธีชิมรสดินวาจะมีรสเปนอยางไร โดยใหขุดหลุมลึกลงศอกเศษ เอาใบตองปูไวใตกนหลุม มีหญาคาสดและสะอาดทับไวขางบนใบตองสักกองหนึ่ง ทิ้งไวคางคืนจนไปดินเปนเหงื่อ จับอยูหนาใบตอง ยกขึ้นมาชิมน้ําที่คางอยูบนใบตองนั้น ถามีรสเปรี้ยวเรียกวา “ที่สม” อยูไมดีจะมีทุกขภัย ถามีรสหวาน ที่นั้นดีปานกลางพออยูได ถามีรสจืดดีเปนมงคล อยูเย็นเปนสุข ถามีรสเค็มก็ไมดี ใครอยูหามงคลไมได ยังมีการดมกลิ่นดิน คือขุดดินขึ้นมาดมดูที่มีกล่ินหอมดังดอกบัวหรือดอกสารภีที่นั้นอุดมดีนัก เรียกวา “ที่พราหมณ” ถากลิ่นหอมเหมือนกล่ินดอกพิกุล เรียกวา “สัตภูมิ” ดีนักจะอยูเย็นเปนสุข ถากลิ่นหอมเย็น หรือหอมเปนดอกไมอยางอื่น ก็ไมไดเหมือนกัน ถากลิ่นเผ็ด เหม็น และกลิ่นเค็ม ไมดีเปนดินชั่วนัก ยังมีวิธีดูดินอีกอยางหนึ่ง ใหเอาไขไกสดฟองหนึ่งกับทองคําเปลวแผนหนึ่ง กับดาย 5 สี คือ แดง เขียว เหลือง ขาว ดํา ส่ิงละใจมือ นําของเหลานี้บรรจุลงในหมอใหม ๆ ที่ยังไมไดผานการใชงานมาเลย แลวเอาผาขาวหลายชั้นปดปากหมอ เอาไปวางไวในหลุมลึกสองศอก แลวกลบดินฝงไวครบครึ่งเดือนหรือเต็มเดือน จึงขุดขึ้นมาดู ถายังบริสุทธิ์ดีเหมือนดังเกาไมเสียเลย ดินตรงนั้นเปนดินดีนัก ถาไขนั้นเนาแตทองคํากับดายสีไมตก ยังดีอยูเหมือนเดิม หากปลูกเรือนอยูก็ไมดีเหมือนกัน นี่ก็เปนเรื่องของความเชื่อและการเสี่ยงทาย ถาปริมณฑลโดยรอบพื้นที่เปนรูปกลมดังดวงจันทร เปนรูปดังมะนาวผาซีก เปนรูปดุจเรือสําเภา เปนรูปสี่เหล่ียม เปนดีทั้งนั้น หรือดานหนึ่งดานใดตรงกลางยอเขามาทําใหมุมทั้งสองขางยื่นออกไปคลายรูปกางเกง จะมีความสุขจะมีลาภ ถาพื้นที่เปนรูปชายธง รูปสามเหลี่ยมหรือรูปจั่ว เรียกชื่อตามภาษาเกา ๆ วา “บัตรคางหมูหรือบัตรสามเหลี่ยม” ก็ไมดีอยูจะมีโทษ

Page 84: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

79

เร่ืองเลือกพื้นที่ดินอยางนี้ โบราณเขาพิถีพิถัน เพราะมีที่ดินวางเปลาอยูถมไป จะเลือกรูปรางของแปลงอยางไรก็ได แตทําไมจึงตองตั้งเปนตําราวางรูปที่ดินไวแปลก ๆ เปนรูปกางเกง เปนตน (เสถียรโกเสศ : ประเพณีเดียวกับชีวิตปลูกเรือน 2531) ตําราดูพื้นที่ปลูกเรือนฉบับมหาราชครูทานวาไวดังนี้ สิทธิการิยะ ถาจะดูพื้นที่จะปลูกเรือน ใหจัดขาว 3 กระทง คือ ขาวขาว 1 กระทง ขาวดํา 1 กระทง ขาวแดง 1 กระทรง แลวใหเอาไปวางไวตรงกลางที่นั้น เพื่อใหกากิน ถากากินขางดําทานวาอยาอยูเลยมิดี ถากากินขาวขาวที่นั้นดี จะอยูเย็นเปนสุข ถากากิจขางแดงทานวาที่นั้นเลว มีดีแล อนึ่ง ทานใหขุดหลุมลึกประมาณ 2 ศอก แลวเอาไมไผสีสุกที่ยังสดอยูมาหนึ่งปลองตัดเอาปลองไวเพื่อใสน้ํามันได แลวใหเอาดายดิบมาทําเปนไส ใชน้ํามันมะพราวแลวจุดไววันหนึ่งกับคืนหนึ่ง อยาใหใครมาถูกตองไดเลย คร้ันถึงเวลาค่ําแลวจึงมาเปดดู ถาน้ํามันพรองไปทานวาอยาอยูที่นั้นเลยมิดี ความเชื่อในการปลูกเรือน คนไทยเราถือฤกษถือยามและคติเกี่ยวกับความเชื่อเกี่ยวกับการครองชีวิตตั้งแตเกิดจนตาย แมกระทั่งสถานที่และที่อยูอาศัย สิทธิการิยะ พระอาจารยทานกลาวไวเพื่อใหดูดี ถาจะปลูกศาลาการเปรียญ ปลูกเรือน ปลูกกุฏิ วิหาร ปลูกศาลา ปลูกปราสาท ปลูกจวน ปลูกทับ ฯลฯ ทานใหดูตามตํารากอนซึ่งมีดังตอไปนี้ วันปลูกเรือน ปลูกเรือนระวิรอน รําคาญ จันทรสวัสดิ์ภุมมาน มักราง พุธครูอยูในศานต ศุกรสิท ธิแฮ ผิววันเสารสราง โศกเศราโทรมสลาย อธิบายวา ปลูกเรือนวันอาทิตย จะเดือดรอนมักมีเร่ืองรําคาญใจ ปลูกเรือนวันจันทร มีความสุขสวัสดิ์ ปลูกเรือนวันอังคาร มิดี ปลูกเรือนวันพุธและวันพฤหัสบดี ดีมีความสุขเกษมสันต ปลูกเรือนวันศุกร ดีมีอํานาจ ปลูกเรือนวันเสาร มิดีมักมีเร่ืองเศราโศก ปลูกเรือนตามเดือน ปลูกเรือนเดือน 5 ทุกขเทาฟาจะมาถึงตน เดือนนั้นไมเปนผลจะเกิดภัย

Page 85: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

80

ปลูกเรือนเดือน 6 จะอิ่มอกตางภาษา ทรัพยสินจะพูนมา ทั้งสรรพทรัพยก็จะเนืองนอง ปลูกเรือนเดือน 7 เสียบําเหน็จสิ้นทั้งผอง ทรัพยสินทันตนครอง เสียทั่วตัวจะรายไฟ ปลูกเรือนเดือน 8 ใหรอนรนทุรนใจ ส่ิงสินตนเทาไร อาจไวมิคง ปลูกเรือนเดือน 9 ยศศักดิ์เจาก็มั่งคง สรรพทรัพยก็พูนมา ปลูกเรือนเดือน 10 จะฉิบหายตองขื่อคา ทั้งพยาธจิะบีฑา อันตรายจะปะปน ปลูกเรือนเดือน 11 จะเอาความเท็จมาใสตนเดือนนั้นมิเปนผลเกิดภัยอันตราย ปลูกเรือนเดือน 12 เงินและทองยอมเหลือหลาย ชางมาและวัวควาย มีทิ้งทาสีและทาสา ปลูกเรือนเดือนอาย ยอมจะไดเปนเศรษฐีส่ิงสินจะพูนป เพราะเดือนนี้จะเปนผล ปลูกเรือนเดือนยี่ เมื่อดิถีก็ชอบกล ขาศึกแลแสนผล อาจกินทั้งศัตรู ปลูกเรือนเดือน 3 ภัยติดตามดุจอสูร คร้ันเมื่อถึงฤดูยอมเกิดภัยอันตราย ปลูกเรือนเดือน 4 เดือนนั้นมีสุขสบาย ทุกขโศกบรรเทาหาย ความระบายยอมพูนมา ดูพื้นท่ีสูง-ต่ํา สิทธิการิยะ ถาที่ใดสูงขางตะวันออกต่ําขางตะวันตก ทานวาอยาอยูเลยมิดี ที่ใดสูงขางประจิมต่ําขางอาคเนยดีนักแลฯ ที่ใดสูงขางทักษิณชื่อศุภราชดีนักฯ สูงหรดีต่ําพายัพดีฯ สูงทักษิณต่ําอุดรดีฯ สูงพายัพต่ําอาคเนยดีฯ ถาสูงรอบ ๆ ต่ํากลางเหมือนใบบัวอยูเกิดดีนักแลฯ ทานกลาวไวในตําราโลกทั้งปวง จะสรางบานปลูกเรือน เรงพิจารณาพื้นที่อยูทั้ง 8 ทิศเถิด จะมีความเจริญรุงเรือง ไดกลาวไวบางแลวในตอนพื้นที่ปลูกเรือง

วิธีขุดหลุมและโกยมูลดิน เดือน 4, 5, 6 ขุดหลุมทิศทักษิณเอามูลดินไวทิศบูรพาตนเสาเอาไวทิศอุดรทิศอีสานตอกันปลายเสา เอาไวทิศทักษิณ ทิศหรดีตอกัน เดือน 7, 8, 9 ขุดดินทิศประจิมเอามูลดินไวทิศทักษิณ ตนเสาเอาไวทิศบูรพา ทิศอาคเนยตอกันปลายเสา เอาไวทิศประจิมทิศพายัพตอกัน เดือน 10, 11, 12 ขุดดินทิศอุดรเอามูลดินไวทิศประจิม ตนเสาเอาไวทิศทักษิณ ทิศหรดีตอกัน ปลายเสาเอาไวทิศอุดร ทิศอีสานตอกัน เดือน 1, 2 , 3 ขุดดินทิศอุดร เอามูลดินไวทิศอุดร ตนเสาเอาไวทิศประจิม ทิศพายัพตอกัน ปลายเสาเอาไวทิศบูรพาทิศอาคเนยตอกัน วิธีสมมุติชื่อคนขุดหลุม ถาจะขุดหลุมใหดี ทานใหเอาไมราชพฤกษ และไมอินทนิลทําดานเสียม ผูขุดนั้นใหสมมุติช่ือดังนี้ นายอินทร นายพรหม นายชัย และนายแกว คนทั้ง 4 นั้น ใหขุดหลุมแรกเสาขวัญ นอกนั้นใหคนอื่นขุดเถิด เมื่อจะขุดหลุมใหเอาใบทอง 5 ใบ ราชพฤกษ 5 ใบ กลวย 1 ตน ที่มีใบได 3 ใบ ออย 1 ตน ผูกปลายเสาจั่ว แลวเอาขาว 5 กระทง เทียน 7 เลม บายสี 1 ที่ บูชาแลวยกเสาเอกลงหลุม ตั้ง

Page 86: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

81

ใหตรงถาไมตรงใหเอนไปทางทิศอีสาน ดีนักแล เสาหองนั้นใหเอนไปทางหัวนอนและทิศอีสานจึงดีนักแล ประเพณียกเสาเอก ประเพณียกเสาเอกเสาโท ในการปลูกบานสรางเรือน หรือสรางสถานที่ทําการตาง ๆ นี้ จัดวาเปนประเพณีมีมาตั้งแตโบราณกาล และเปนประเพณีที่มีความนิยมนับถือทํากันทุกแหงหนของประเทศไทยเรา จุดมุงหมายที่ทํานั้นก็เพื่อจะเปนการบูชาเจาที่ และเทพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซ่ึงสิงสถิตอยูในสถานที่แหงนั้น และเพื่อทําการบูชาเสาบานเสาเรือน เพื่อเปนการเทิดทูนแสดงความกตัญูกตเวทีตอแมพระธรณี เพื่อความเปนสิริมงคล ความอยูเย็นเปนสุข อุดมไปดวยทรัพยสินเงินทอง และปองกันเหตุรายนานาประการ ดวยเหตุนี้ผูที่จะปลูกเรือน จึงตองไปหาโหราจารยตรวจดูดวงชะตา ดูฤกษ ดูยามเสียกอน เพื่อเพิ่มความมั่นคงในจิตใจของตนเอง เครื่องใชในการประกอบพิธียกเสาเอกในพิธีใหญ ๆ หรือเจาของมีฐานะดีมีดังนี้

1. บาตรสําหรับใสน้ําพระพุทธมนต จะใชขันหรือถมปตก็ไดใสน้ําประมาณครึ่งบาตรแลวใสใบเงินใบทองและใบมะตูมลงไป

2. ทองคําเปลว 9 แผน หรือ 21 แผน 3. บายศรีปากชามหนึ่งที่ บนยอดบายศรีปกดวยไขตมปอกแลว 1 ใบ 4. หัวหมูที่ตมสุกแลวหนึ่งหัวพรอมถวยน้ําจิ่ม 5. กลวยน้ําไทยหนึ่งหวี 6. มะพราวออนปอกเปลือกออกแลวหนึ่งลูก ฝานปากใหติดไวขางหนึ่ง 7. แจกันหนึ่งคูใสดอกไมสดหลากสี 8. กระถางธูปหนึ่งที่ 9. แกวใสน้ําสะอาดหนึ่งที่ 10. ธูปจีนหนึ่งกํา 11. แผนอิฐทองสามแผน 12. แผนอิฐนากสามแผน 13. แผนอิฐเงินสามแผน 14. ดอกมะลิสดหนึ่งพานเล็ก 15. ดอกบานไมรูโรยหนึ่งพานเล็ก 16. ถ่ัวเขียวหนึ่งดวยตะไล 17. ถ่ัวเหลืองหนึ่งถวยตะไล 18. ถ่ัวราชมาสหนึ่งถวยตะไล 19. ขาวตอกหนึ่งพานเล็ก 20. งาดิบหนึ่งถวยตะไล ใชทั้งงาขาวและงาดํารวมกัน

Page 87: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

82

21. โถกระแจะจันทรเพื่อใชเจิมหนึ่งโถเล็ก 22. กานหญาคามัดใหเรียบรอยหนึ่งกํา (อยาใชใบมะยมหรือกานมะยม) เพื่อใชในเวลา

ประพรมน้ําพระพุทธมนต 23. คอนสําหรับตอกไมมงคลหนึ่งอัน 24. ตลับพลอยนพเกา ซ่ึงมีอยูเกาสีตามสีประจําเทวดานพเคราะหทั้งเกาองค 25. แผนทองหนึ่งแผน แผนนาคหนึ่งแผน แผนเงินหนึ่งแผน ซ่ึงใชแผนบาง ๆ ขนาด

กวางยาวพอสมควร ใสรวมไวกับตลับพลอยนพเกา 26. ไมมงคลเกาชนิด

26.1 ไมชัยพฤกษ เพื่อความโชคดีมีชัย 26.2 ไมราชพฤกษ เพื่อจะไดเปนใหญเปนโต 26.3 ไมทองหลาง จะไดมีเงินมีทองอุดมสมบูรณ 26.4 ไมไผสีสุก เพื่อความผาสุกทั้งกายและใจ 26.5 ไมกันเกลา เพื่อจะไดเปนเครื่องปองกันรักษา 26.6 ไมทรงบันดาล เพื่อจะไดบันดาลใหมีฤทธิเดช อํานาจ วาสนาสูงสง 26.7 ไมสัก เพื่อจะไดมีอานุภาพ เกิดความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น 26.8 ไมพยุง เพื่อจะไดชวยพยุงไวซ่ึงฐานะ ใหยั่งยืน มั่นคง ถาวร 26.9 ไมขนุน จะไดหนุนไวซ่ึงโภคทรัพยใหอยูยั่งยืนตลอดกาล

เครื่องประกอบที่จะตองนําไปใหพระสงฆผูทรงคุณวุฒิทานกรุณาเสกใหกอนที่จะถึงวันประกอบพิธียกเสาเอก-เสาโท ประมาณสัก 7 วัน แผนอิฐทอง แผนอิฐนาก แผนอิฐเงิน อยางละสามแผน รวมเปนเกาแผนดวยกัน กับไมมงคลทั้งเกาอยาง พรอมทั้งตลับนพเกาดวย และทรายประมาณสักถังยอม ๆ

เมื่อถึงวันทําพิธีตามที่โหรทํานายทายทัก เจาของบานเรือนที่จะปลูกสรางขึ้นใหมนั้นจะตองใหพวกชางเตรียมขุดหลุมตามวิธีที่กลาวมาแลว เพื่อจะทําพิธียกเสาเอก โหรทานจะเปนผูบอกใหรูวาจะขุดตรงไหน เมื่อเหลือเวลากอนจะถึงฤกษประมาณ 15 บาท (1 บาทเทากับ 6 นาที) โหรทานจะใหนําเอาสิ่งของทั้งหมดที่เตรียมไว มารวมกันบนโตะที่ปูผาขาว โหรทานจะเปนผูบอกเองวาจะใหหันหนาไปทางทิศไหน ใหตั้งหัวหมูไวขางหนา แลวตอมาก็แกวใสน้ําบริสุทธิ์หนึ่งแกว ตอมาก็เปนกลวยน้ําไทแลวก็มะพราวออน แจกันดอกไม เปนลําดับวางใหหางกันพอสมควร ทามกลางระหวางแจกันทั้งสองนั้นก็เปนกระถางธูป บาตรน้ํามนต แลวก็พานใสดอกมะลิ และพานใสดอกบานไมรูโรย พานขาวตอก ตอมาก็เปนถวยตะไล ใสถ่ัว งา เมื่อไดฤกษก็จุดธูปเทียนบูชาเทวดา บูชาฤกษตอไป และนําไปปกไวที่กระถางธูปอีกสามดอก การบูชาเทวดาและบูชาฤกษหาอานไดในหนังสือประเพณีไทย ฉบับพระมหาราชครู

สวนในบางทองที่ซ่ึงโดยมากมักจะเปนชนบท ก็มักใชวิธีงาย ๆ คาใชจายนอย ซ่ึงก็นิยมกันมาแตโบราณกาลเหมือนกัน และเปนการรวดเร็วดีดวย คือใหโหรหาฤกษยามกันกอน

Page 88: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

83

เมื่อไดฤกษยามมาแลววาวันไหนเวลาเทาไร แลวกอนจะถึงเวลาทานใหขุดหลุมใสดวยเบี้ยใบมะตูตอกเสาเข็มไมทองหลาง ไดที่แลวใหโปรยดวยใบเงินใบทอง ขาวตอกดอกบานไมรูโรย แลวจึงประพรมดวยน้ําพระพุทธมนต สวนบนยอดเสาเอกนั้น ทานใหผูกไวดวยตนกลวย ตนออย ถุงเงิน ถุงทอง และผาสีประจําวันเกิดของเจาของบาน ตนกลวยนั้นแตโบราณทานนิยมตนกลวยที่ตกเครือแลว มีผลครบบริบูรณดีแลว แตในสมัยปจจุบันนี้เห็นนิยมใชหนอกลวย ซ่ึงมีใบงามหรือส่ีใบ สวนที่ยอดเสาโทนั้น ทานใหผูกดวยผาขาวมา และผูกยอดเสาดวยตนกลวย ตนออย หอเงิน หอทอง เมื่อถึงเวลาไดฤกษก็ทําการโหรอง เอาชัยยกเสาเอกลงหลุม แลวกลบโคนเสาใหเรียบรอย จงอยาใชเทาเหยียบย่ํา ใหใชจอบหรือเสียมพร่ัวโกยดินกลบแลวใชไมเนื้อแข็งกระทุงใหแนน เมื่อเสร็จแลวก็ทําการยกเสาโท ซ่ึงทําเหมือนการยกเสาเอกทุกอยาง เมื่อยกเสาเอก-โทเสร็จแลวก็ยกเสาอื่น ๆ ตอไป

วันท่ีนาคหันศีรษะ วันอาทิตย ศีรษะนาคอยูบูรพา หางอยูอาคเนย วันจันทร ศีรษะนาคอยูประจิม หางอยูอีสาน วันอังคาร ศีรษะนาคอยูบูรพา หางอยูหรดี วันพุธ ศีรษะนาคอยูหรดี หางอยูอุดร วนัพฤหัสบดี ศีรษะนาคอยูอีสาน หางอยูทักษิณ วันศุกร ศีรษะนาคอยูอาคเนย หางอยูประจิม วันเสาร ศีรษะนาคอยูทักษิณ หางอยูพายัพ เดือน-ทิศ ท่ีนาคหันศีรษะ เดือน 4, 5, 6 นาคเอาหางไปบูรพา ทองทักษิณ หัวประจิม หลังอุดร เดือน 7, 8, 9 นาคเอาหางไปบูรพา หางทักษิณ ทองประจิม หัวอุดร เดือน 10, 11, 12 นาคเอาหัวไปบูรพา หลังทักษิณ หางประจิม ทองอุดร เดือน 1, 2, 3 นาคเอาทองไปบูรพา หัวทักษิณ หลังประจิม หางอุดร ขุดหลุมถูกหัวนาค หากขุดหลุมทิศหัวนาค แมเรือนจะตายกอน หากขุดหลุมทิศหางนาค ลูกเมียขาคนจะหนี หากขุดหลุมทิศหลังนาค เจาเรือนจะเจ็บไข หากขุดหลุมทิศทองนาค จะอยูดีกินดีมีลาภ พิธีบูชาพระยานาค เดือน 4, 5, 6 สามเดือนนี้ใหเอาผาเหลือง ดอกไม ธูปเทียน และเครื่องกระยาบวช

(เครื่องกินที่ไมเจือดวยของสดคาว) บูชาพระยานาค

Page 89: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

84

เดือน 7, 8, 9 สามเดือนนี้ใหเอาผาดํา ขาวตอกดอกไม ธูปเทียน และเครื่องกระยาบวชบูชาพระยานาค

เดือน 10, 11, 12 สามเดือนนี้ใหเอาผาแดง ขาวตอก ดอกไม และเครื่องกระยาบวชบูชาพระยานาค

เดือน 1, 2, 3 สามเดือนนี้ใหเอาผาขาว ขาวตอก ดอกไม และเครื่องกระยาบวชบูชาพระยานาค

โดยมีคาถาบูชาดังนี้ “นะมามิลิละ สาเขปตถะยะปะธัมเม สะคะลับตีสะ เย ตาณา คะละ เชนะ ยะป สะโตฯ เมื่อบูชาพระยานาคพึงทําบัตรพลี (เครื่องเซนสรวงสังเวย) หนึ่งบัตร ไปวางลงที่ ๆ จะขุดหลุมเสาแรกเถิด

ขุดหลุมไดของ สิทธิการิยะ เมื่อจะขุดหลุม ถาไดไมซางไฟ ใหนิมนตพระสงฆมาสวดมนต เพื่อเอา

น้ํามนตมารดหลุมจึงจะดีแล ถาไดกระดูกใหเอาน้ําสรงแกวแหวนเงินทองมารดหลุดจึงจะดีแล ถาไดเชือกเขาเอาน้ํามนตมารดหลุมจึงจะดีแล ถาไดอิฐดินขี้หนูเอาน้ําผ้ึงรวงมารดหลุมจึงจะดีแล ถาไดเหล็กเจาเรือนมิสบาย เอาดอกบัวหญาแพรกประทินน้ําลางเทาพระทองรดหลุมจึงจะดี ถาไดทองแทงมิดี ถาไดทรายงูดินจะมีเงินทองขาวของมากนัก

วิธีโปรยของตามเดือน ปลูกเรือนเดือน 4, 5, 6 ใหโปรดฝาย ทราย ขาวเปลือก ถ่ัว งา ซัดไปขางทิศบูรพากอน ปลูกเรือนเดือน 7, 8, 9 ใหโปรยขางทิศทักษิณกอน ปลูกเรือนเดือน 10, 11, 12 ใหโปรยขางทิศประจิมกอน ปลูกเรือนเดือน 1, 2, 3 ใหโปรยขางทิศอุดรกอน วิธีวัดเสาเอก สวนกวางถือเปน 1 สวน นับแตลางไปบน สวนที่ 1 ไชโย สวนที่ 2 ริวาทัง สวนที่ 3 มรณัง สวนที่ 4 สุขขัง แลวหวนนับตอไป ไม ช่ือลองดู ถาบานไหนตกวิวาทังบานนั้นมักทะเลาะกัน

(ศาสตราจารย น.ล. สมภพ ภิรมย ร.น. ราชบัณฑิต : บานไทยภาคกลาง) วิธีดูลักษณะเสา ถาเสาตนเล็กปลายใหญและกลางเล็กแฟบชื่อไมบงสลัดไมดี ถาตนและปลายเสมอกันชื่ออุดมฤกษดีนัก ถาตนใหญปลายเล็กชื่อไมตัวเมียดี

Page 90: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

85

ถาเปลือกเปนรอยขางเปนเพรียงและตาเรียงหมอน และเปดไซไกตอด สลักรอดหมูสี เสาคตอยางนองชาง จงเอาไปไวปาเถิด มิดีแล

มีวิธีแกเหมือนกันเรียกวา “ยาทาเสา” ทานใหเอาไมกฤษณา 1 หรดาล 1 ทองคําเปลว 1 นมโค 1 น้ําผ้ึงรวง 1 เอาสิ่งละเทา ๆ กัน บดใหเขากันแลวทาเสารายใหกลายเปนดีแล

ดูลักษณะตาเสา ไดกลาวไวในตอนตนแลวเชนกัน แตการดูลักษณะเสาตําหรับของพระมหาราชครูที่จะ

กลาวถึงนี้ มีรายละเอียดมากกวาบางอยางมีบางอยางไมมี จะตัดออกก็เสียดายองคความรู จะไดชวยกันเผยแพรออกไป เปนการชวยกันรักษาตํารับตําราแตคร้ังเกา ๆ เอาไวดวย ทานวาไวดังนี้

ถามีตาอันหนึ่งชื่อทุมลักษณ อยูดีกินดีจะไดเปนใหญแกทานทั้งหลาย ถามีตา 2 ตา ช่ือวาทุมสัตว รายนักอยาเอาเลย ถามีตา 6 ตา ช่ือวาโภครักษ รายนักตองใหพลัดพรากจากกันถาผูใดรูแลวอยาเอาเลย ถามีตา 7 ตา ช่ือ คชรักษ ดีนัก จะบังเกิดชาง มา วัว ควาย ถามีตา 8 ตา ช่ือวา ทพีรักษ เปนกาลกิณี มิด ีอยางนี้มิดีเลย ถามีตา 1, 3, 5, 7 อยางนี้ดีนักใหเรงเอามาทําเสาเรือนเถิดสวัสดิ์มงคล อนึ่งตามที่เปดไซเสมอดินไกตอดสูงพนดินคืบหนึ่งหมูสีพนดินศอกหนึ่งราย และปาก

รอดสลักลอดมิดี ไมใหใชทําเสาเรือน ถาจะทําเสาเรือนอยูมีสูตรดังนี้ ใหเอาความกวางกับยาวบวกกันในตําราไมไดบอกวาความกวางของอะไร แตนาจะเปนความกวางยาวของเรือน ไดผลเทาไรใหเอา 3 คูณเขาไป ไดผลเทาไรก็เอา 7 เขาไปหาร จะเหลือเศษตาง ๆ แตละเศษ จะใหช่ือและความหมายไวดังนี้

เศษ 1 เรือนโรงชาง เศษ 2 เรือนโรงมา เศษ 3 พระมหากษัตริย เศษ 4 เรือนยุงขาวและโรงวัว เศษ 6 เรือนแมมายและโรงแสง เศษ 7 เรือนอัปราชัยทุกวันแล มีวิธีดูเสาอีกวิธีหนึ่งในตําราเดียวกัน ผูเขียนเขาใจวา พระมหาราชครูคงรวบรวมมาจาก

ตําราหลายเลม แลวเอามาลงไว ซ่ึงซ้ํากันบางไมซํ้ากันบาง ผูเขียนขอนํามาเสนอดังนี้ เสามีตาหนึ่งตา ช่ือกําลังดีนัก เสามีตา 2 ตา ช่ือรากษสเรียกตาผีเสื้อไมดี เสามีตา 3 ตา ช่ือกําลังชนะดีแล เสามีตา 5 ตา ทานวาดีนักแล เสามีตาเล็กเปนนมหนูทั่วลําเสาชื่อวาดาวเรื่องดีนักแล และยังมีวิธีดูอีกวิธีหนึ่งคือ

Page 91: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

86

ทานวาตาหนึ่งเปนไพร สองตาเจ็บไขลําบาก สามตาชนะแกศัตรู ส่ีตาจะเจ็บไขและจะจากเรือน หาตาจะเกิดสวัสดี หกตาจะเปนความ (จะเกิดเปนความ) จากที่อยูที่กิน เจ็ดตาจะชนะแกศัตรู แปดตาจะเกิดภัย เกาตาทานรายนักอยาเอาเลย ถาเสามีตาปากชางจะไรทรัพย ถามีตาหนาลงมิดี ถามีตานมหนูและกนยอยดีนัก ถาตาแบกรอดมิดี ถามีตาเรียงกันเปนเรียงหมอนมิดี ถามีตาที่ปลายเสา ตนเสา ดีนกัแล เมื่อจะเจาะเสาใหวัดหนาสกัดตนเสาเปนขนาดทอดขึ้นไปดวยโฉลกดังนี้ ไชยะกัง ปะริ

กะตัง วิวารัง สามบทนี้ทอดขึ้นไป ใหเจาะสวนที่ช่ัวออกเสียอยาเอา สวนดีและรองเอาไวจึงจะดี ถาจะทําเรือนอยาใหเล็ก ๆ ใหญ ๆ ไมดี ถาเสาใหญก็ใหใหญเสมอกัน ถาเสาเล็กจัญไรแล ยาปดตาเสา เสาเรือนถามีตา 1, 3, 5, 7 ดี นอกนั้นรายนักแล ถาเสาตารายใหเจาะทิ้งเสียแลวเอายานี้

ปด คือ พันธุผักกาด 1 จันทน 1 ขี้โคแดง 1 น้ําผ้ึงรวง 1 น้ํานมโค 1 เอาสิ่งละเทากันบดใหละเอียดแลวเจาะตาเสาที่รายออกเสีย แลวเอายานี้อุดตาเสา

ยาอีกตําหรับหนึ่ง คือ กฤษณา 1 หรดาล 1 ทองคําเปลว 1 นมโค 1 น้ําผ้ึง 1 เอาส่ิงละเทา ๆ กัน บดปดตารายใหกลายเปนดีแล

วิธีเจาะเสาเรือน ถาจะเจาะเสาเรือนใหวาโฉลกดังนี้ วัดหนาแลนเสา คือขุนคลังดี บาน แผนก ราย แบก

รอด ดี ถอนสลักดี รักพิงเพยดี เผยทวารราย ผจญศัตรูราย คูหาสวรรคดี กันเสนียดดี เสียดพระภูมิดี ถาจะปลูกเรือนเพื่อหาความเจริญ ทานใหนับตามโฉลกดังนี้คือ ผีปาราย กาลักณีราย เศรษฐีดี จอมประสาทดี เรือนรางราย เรือนเปนความ รายผายตาดี เวียนไปตามโฉลกใหเทาอายุเจาของเรือนนับเถิด

Page 92: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

87

วิธีวัดขื่อเสา สิทธิการิยะ เมื่อไดเสามาแลว และจะทําเปนเสาแรกใหเอาขาวหอหนึ่งเบี้ยหอหนึ่ง

หมากหอหนึ่ง ฝายหอหนึ่ง ทองหอหนึ่ง เงินหอหนึ่ง แลวใหเด็กสาวพรหมจารีถือประจําไวทุก ๆ เสา และเสาที่ไดหอเบี้ยเอาเปนเสาแรก เสาไดหอขาวเปลือกเอาเปนคูเสาแรก เสาไดหอฝายเอาเปนเสาขวัญ เสาไดหอหมากเอาเปนคูเสาขวัญ เสาไดหอทองเอาเปนเสาหอง เสาไดหอเงินเอาเปนคูเสาหอง ทั้งนี้วาดีนักแล

ดูลักษณะปลายเสาเอน เมื่อจะยกเสาลงหลุม ถาปลายเสาเอนไปทางทิศอีสานจะมีความสุขแล ถาปลายเสาเอน

ไปทางทิศอาคเนยจะมีความสวัสดีมีลาภแล ถาปลายเสาเอนไปทางทิศหรดีจะอยูดีกินดีมีลาภแล ถาปลายเสาเอนไปทางทิศพายัพจะมีฤทธิ์อํานาจนักแล ถาปลายเสาเอนไปทิศบูรพาไฟจะไหมแล ถาปลายเสาเอนไปทางทิศประจิมเจาเรือนจะตายแล ถาปลายเสาเอนไปทางทิศอุดรผูคนในเรือนจะฆาฟนถกเถียงกัน ถาปลายเสาเอนไปทางทิศทักษิณจะอยูดีกินดี อันนี้ใหดูเมื่อแรกยกเสาแล

ถาปลูกเรือนเสาแรกลงหลุม ถาลมไปทางทิศตะวันตกเจาของเรือนจะตาย ถาลมไปทางทิศตะวันออกไฟจะไหม ถาลมไปทางทิศหัวนอนเจาเรือนจะดีกวาคนทั้งหลาย ถาลมไปทางปลายเทาจะตี-ดากัน อันนี้ใหดูเมื่อแรกปลูกเรือนแล

เดือนท่ีตัดไม สิทธิการิยะ ถาจะตัดตนไมทําเรือนใหดูฤกษตามเดือนดังนี้ เดือน 1, 2, 3, 4 ดีนักแล เดือน 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 แปดเดอืนนี้ทานวาไมบวชไมดีแล ถาจะตัดไมทําเสาปราสาท เสาพระวิหาร และเสาเรือนก็ดี ใหดูทิศที่ไมนั้นลมดวย ลมไปทิศบูรพา ดี ลมไปทางทิศอาคเนย ไฟจะไหม ลมไปทางทิศทักษิณ เจาเรือนจะตาย ลมไปทางทิศหรดี จะมิสูดี ลมไปทางทิศประจิม จะตายแล ลมไปทางทิศพายัพ จะเกิดวิวาทกัน ลมไปทางทิศอุดร โจรจะลักทรัพย ลมไปทางทิศอีสาน จะมีชาง มา โค กระบือ ขาทาสชายหญิงมากมายแล สูตรทําตัวไมหรือสัดสวนท่ีเปนมงคล ถาจะเจาะรูรอดใหวัดแตหัวเสาแลวทบ 3 สวน เอาสวนหนึ่งเปนรอดแล

Page 93: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

88

ถาจะทําประตูเรือนใหวัดเจาะ 3 ช่ัวฝาเทาเปนความกวาง สวนสูงนั้นเอา 2 ช่ัวกวางทบเขา 11 สวน ลดเสียหนึ่งสวน เอา 10 สวน ดีนักแล

ถาจะทําประตูบานเอากวางและยาวประสมกันเขาแลวเอา 3 คูณ หารดวย 9 ถาไดเศษ 1, 2, 3, 7 จะเสียทรัพย ถาไดเศษ 4, 5, 6 ดีนักแล

ถาจะทําประตู 1 บาน ใหเอากวาง 5 ช่ัวฝาเทา ถาเปนประตูระเบียงเอา 3 ช่ัวฝาเทา ช่ือเทวัญราช ถากวางกวานั้นไฟจะไหม สวนประตูขั้นบันไดเอา 4 ช่ัวฝาเทากับหนอยหนึ่ง ช่ือสาหระ เปนอาทัน ถากวางวานั้นจะเกิดโรคและอาภัพแล ถาทําประตูไวทิศบูรพา อีสาน อุดร จะมีสุขสวัสดี หาโทษมิได ทําไวอาคเนย

ดูลักษณะคนใหของในเวลาปลูกเรือน เมื่อกําลังปลูกเรือน ถามีคนเอาเนื้อและตับสัตว มาใกล ๆ เจาเรือนจะไดของตาง ๆ ถาเอาไฟมาใกล เจาเรือนจะเจ็บไข ถา (ผู) ชายมาทางทิศประจิม เจาเรือนจะอัปราชัย ถาคนทัดดอกไมแดงนุงผาแดงมาแตทิศพายัพ ไฟจะไหม ถามีคนเอาสัตวส่ีเทาตายมาทิ้ง จะมีลาภแกเจาของเรือน ถามีคนมาทางทิศอุดรและทิศทักษิณ จะไดทองในที่นั้นเปนสุขเกษม ถาแมวมาขางทิศพายัพ โจรจะลักทรัพยหาดีแล เมื่อขุดหลุมถาไดส่ิงของคือ ไดเงินและถานเผา จะอยูดีกินดี ถาไดดินแร จะอยูเย็นเปนสุข ถาไดตะกั่ว จะมีขาคนมาก ถาไดทองแดงและไมจะเกิดความ (คดีความ) เมื่อจะปลูกเรือนใหดูสกุณา (นก) อันมาแตทิศหรดี เมื่อยกเสาแรก ถามีแรงก็ดี งูก็ดี รุงกินน้ําก็ดี นกเขาก็ดี นกดอกบัวก็ดี ผ้ึงก็ดี นกยางก็ดี

เหยี่ยวก็ดี มาแตทิศบูรพา จะเสียทรัพย ถามาแตทิศอาคเนย ไฟจะไหม ถามาแตทิศทักษิณ เจาเรือนจะตาย ถามาแตทิศหรดี โจรจะปลน ถามาแตทิศประจิม จะไดนาง ถามาแตทิศพายัพ จะไดลาภ ไดมาแตทิศอุดร จะไดทรัพย เจานายจะใหยศศักดิ์แกเจาเรือนนับแล

วิธีพาดบันไดและขึ้นเรือนครั้งแรก ทิศบูรพา ใหเอาผาผอนเงินทองขึ้นกอนจะไดลาภ ทิศพายัพ ใหเอาแมวขึ้นไวกอน ทิศหรดี ใหเอาทองขึ้นไวกอน ทิศอุดร ใหเอาทองขึ้นกอน จะไดสัตว 2 เทา 4 เทา ทิศอีสาน ใหนมวัวและของคาวขึ้นกอน

Page 94: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

89

อนึ่ง ทานใหเอาหญาแพรก งา และเหล็ก ขึ้นกอนดีนัก จะปราศจากทุกขและอุบัติอันตรายทั้งปวงแล เขาใจวาจะขึ้นบานทางทิศไหนก็แลวแตจะตองเอาหญาแพรก งา และเหล็กขึ้นไปพรอม ๆ กับสิ่งของที่จะขึ้นตามทิศทาง

วันขึ้นเรือนใหม วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร ดีนักแล ทิศขึ้นเรือนใหม นาจะสอดคลองกับการขึ้นเรือนครั้งแรก แตตามตําราทานแยกหัวขอไวตางหาก และ

กลาวไวดังนี้ ทิศบูรพา จะเกิดความ ทิศอาคเนย เจาของเรือนจะตาย ทิศทักษิณ จะเสียขาวของ ทิศประจิม จะเจ็บไข ทิศหรดี ขุนนางจะไดลาภ ทิศพายัพ ดีจะมีลาภ ทิศอุดร จะไดสัตว 2 เทา 4 เทา ทิศอีสาน จะไดทรัพยสินเงินทอง พิธีฝงอาถรรพ สิทธิการิยะ ถาจะอยูบานใหเปนสิริมงคล ใหเกิดทรัพยสินเงินทอง ทานใหฝงเอา

อาถรรพไวทั้ง 8 ทิศ จะเกิดสิริสวัสดิ์ ดังนี้ ทิศบูรพา ฝงทองคํา ทิศอาคเนย ฝงเงิน ทิศทกัษิณ ฝงเหล็ก ทิศหรดี ฝงตะกั่ว ทิศประจิม ฝงทอง (นาจะหมายถึง สําริด เพราะฝงทองคําทางทิศบูรพาแลว) ทิศพายัพ ฝงมณี ทิศอุดร ฝงมุก ทิศอีสาน ฝงทองแดง ตนไมท่ีหามปลูกในบาน ตนโพธิ์ ตนไทร ตนตาล ตนมะกอก

Page 95: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

90

ตนสําโรง ตนมะชั่ว ตนระกํา ตนหวาย ตนสลัดได เมื่อจะปลูกเรือนหากมีตนไมดังกลาว ทานใหขุดถางทิ้งเสียกอนจะอยูดีกินดีแล ทิศท่ีปลูกตนไมมงคล สิทธิการิยะเมื่อปรารถนาจะปลูกเรือนใหอยูเย็นเปนสุข เกิดสวัสดีและเปนมงคลแกผู

อยูอาศัยนั้น ทานใหปลูกตนไม ซ่ึงจะกลาวตอไปนี้ไว จึงจะเกิดสิริมงคลแกบานเรือน ทิศบูรพา ทานใหปลูกตนกุม ตนไผ และตนมะพราว ทิศอาคเนย ทานใหปลูกตนยอ และตนสารภี ทิศทักษิณ ทานใหปลูกตนมะมวง และตนพลับ ทิศหรดี ทานใหปลูกตนชัยพฤกษ สะเดา ขนุน พิกุน ทิศประจิม ทานใหปลูกตนมะขาม และตนมะยม ทิศอุดร ทานใหปลูกตนพุทรา และหัววานตาง ๆ ทิศอีสาน ทานใหปลูกตนทุเรียน และขุดบอลงไว ถาผูใดทําไดดังที่กลาวมานี้จะอยูเย็นเปนสุขและจะเกิดทรัพยสินเงินทองดีนักแล ถือเสียงเปนฤกษในวันปลูกเรือน วันที่ 1 เอาเสียงไก วันที่ 2 เอาเสียงผูหญิง วันที่ 3 เอาเสียงมา วันที่ 5 เอาเสียงสังข วันที่ 6 เอาเสียงฆองและกลอง วันที่ 7 เอาเสียงคนแก นาสังเกตวาวันที่ 4 ไมมีอยูในรายการ วันลางเรือน ในสังคมภาคกลางเทาที่ผูเขียนเคยใชชีวิตอยูที่อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ในวัยเด็ก ชาวบานและแมแตบานที่ผูเขียนอาศัยอยูเขาจะลางเรือนกันในฤดูน้ําหลาก คือน้ําขึ้นเต็มที่ในวันเพ็ญเดือน 12 ก็จะตักน้ําใสตุม หลังจากนั้นน้ําก็จะเริ่มลด ชาวบานก็จะลางฝาเรือนและพื้นตามลําดับ ปไหนน้ํามากทวมพื้น ตะกอนตะไครน้ําจับพื้นกระดานสกปรกและลื่น ก็ตองรอใหน้ําลดต่ํากวาพื้นไปสักหนวยคอยราง น้ําทวมพื้นที่อยูอาศัยทุกปก็ลางกันทุกปเหมือนกัน ดวยยังเด็กอยูไมทราบวาเขาถือฤกษตามวันหรือเปลา แตในตําราที่กลาวถึงตอไปนี้วาไวดังนี้

Page 96: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

91

สิทธิการิยะ ถาจะลางเรือนมิใหเปนโทษอันรางไซร ทานหามแตวันเสาร, อาทิตย, อังคาร และทานใหลางแตวัน ๆ บายแลวนุงผาขาวลางจึงจะดีแล วันพุธบายนุงผาหมกําลางดีนักแล วันพฤหัสบดีบายนุงผาเหลืองหมเหลืองลางจึงดีแล

วันปลูกตนไม วันอาทติย ปลูกขิง ขา และเผือกมัน วันจันทร ปลูกออยทั้งตนลํานั้นสดใส วันอังคารและวันเสาร ผิววาจะเอาใบแมงลัก ผักตะไคร ทั้งผักชีและพลูดาง วันพุธและวันพฤหัสบดี ผิววาจะเอาดอกโกมมุท และดอกบัวหลวงทั้งมะลิซอน

กระดังงา วันศุกร จะเอาลูกทั้งขาวปลูกลงนา ฟกแฟง แตงกวา ถ่ัวงา สรรพไมมีผล วันเสาร อยาหวานขาวงามแตตนจะเหหน รอนเรรองบโปรง ยันต คนไทยเราเชื่อเร่ืองโชคลางของหลังคาตั้งแตโบราณกาลแลว จะเห็นไดพิธีและวิธีการ

ตาง ๆ ที่กลาวมาทั้งหมดเกี่ยวกับความเชื่อเร่ืองอยางนี้ทั้งสิ้น และผูเขียนก็เชื่อวาผายันตจะตองมีใชในพิธีกรรมเดียวกับการปลูกบานสรางเรือนดวย

ยันตที่จะนํามาแสดงตอไปนี้ เคยไดปลูกเรือนลอมในบริเวณพระตําหนักพระราชวังดุสิต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจําลองแบบขึ้นไวเพื่อจะไดใชเปนแบบฉบับตอไป (ดูภาพประกอบ)

Page 97: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

92

Page 98: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

93

ทิศ ในตําราอยางโบราณทานนิยมเขียนทิศตาง ๆ เปนภาษาบาลี และสันสกฤต และพบเห็น

กันบอย ๆ สมัยนี้ไมนิยมใชกันแลว กันลืมและเพื่อความเขาใจตรงกัน จึงไดนําชื่อทิศตาง ๆ มาลงไว

ทิศเหนือ อุดร ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ อีสาน ทิศตะวันออก บูรพา ทิศตะวันออกเฉียงใต อาคเนย ทิศใต ทักษิณ ทิศตะวันตกเฉียงใต หรดี ทิศตะวันตก ประจิม ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ พายัพ มาตรวัด ในสมัยโบราณเรียกมาตรวัดระยะทางสั้นยาวนี้วา “มาตราสวนวัดทางยาว” ซ่ึงมีหนวย

วัดดังนี้

Page 99: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

94

2 อนุกระเบียด เปน 1 กระเบียด 4 กระเบียด เปน 1 นิ้ว 12 นิ้ว เปน 1 คืบ 2 คืบ เปน 1 ศอก 4 ศอก เปน 1 วา 20 วา เปน 1 เสน 400 เสน เปน 1 โยชน ยังมีมาตราวัดระยะของไทยเราอีก ดังนี้ 4 กระเบียด เปน 1 นิ้ว 12 นิ้ว เปน 1 คืบ 2 คืบ เปน 1 ศอก 4 ศอก เปน 1 วา 20 วา เปน 1 เสน (1 ศอก = 50 เซนติเมตร) มาตรวัดพื้นที่ 25 ตารางวา เปน 1 ฝา 2 ฝา เปน 1 เผือ 2 เผือ เปน 1 งาน 4 งาน เปน 1 ไร ในมาตรานี้มีคําวาฝาและเผืออยู 2 คํา ซ่ึงเวลานี้ไมไดใชแลว คงใชเพียง วา งาน และไร

เชน 1 ไร เทากับเนื้อที่กวาง 20 วา ยาว 20 วา คือ 400 ตารางวา หรือ 1 งาน เทากับ 100 ตารางวา 400 ตารางวา เทากับ 1 ไร หรือ 1 ไร มี 4 งาน และ 1 งาน มี 100 ตารางวา มาตราวัดปริมาตรของไมบอกลักษณะนามของปริมาตรเปน “ยก” มีขนาดดังนี้ - ไมหนากวาง 1 ศอก ยาว 16 วา เปน 1 ยก - ไมขนาดหนา 1 นิ้ว กวาง 24 นิ้ว ยาว 16 วา เปนไมหนึ่งยก หรือประมาณ 17.497

ลูกบาศกฟุต) ขั้นตอนการกอสรางเรือนไทย

เมื่อกําหนดฤกษยามดีแลว ก็ลําเลียงองคประกอบของเรือนที่ปรุงแลวมาแยกประเภทเรียงลําดับวาสวนไหนจะใชกอนหลังวันแรกนี้ เรียกกันวา “วันสุกดิบ”

Page 100: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

95

1. นําพรึงทั้ง 4 ตัว มาประกอบเขาฉากใหแนนตรงบริเวณที่จะปลูกเรือน พรึงเปนองคประกอบสําคัญ เปนตัวกําหนดความกวางยาวของเรือน เทากับการวางผัง เมื่อคุมใหไดตําแหนงและทิศทางไปตามฤกษแลว

2. ปกฉะบบ (เข็มหมุดทําดวยไมไผขนาดเสนผาศูนยกลางครึ่งนิ้ว ยาว 8 นิ้ว เซี่ยมปลายใหแหลม) ที่มุมไมทั้ง 4 ของพรึง เปนที่หมายของเสาที่จะขุดแลวยกพรึงออก

3. ขุดหลุมเสากวางประมาณ 30 เซนติเมตร หากมากกวานี้เสาจะเอนมาก หลุมลึกประมาณ 75 เซนติเมตร กนหลุมวางแระใหไดระดับ

4. นําผายันตสีแดง ตนกลวย ออย ที่เตรียมไวมาผูกกับยอดเสาเอกและโท (การยกเสาเอกและโทมีพิธีการตาง ๆ ตามที่ไดกลาวมาแลวตอนตน) เจาของเรือนบางรายผูกสายสรอยทองไวที่ปลายเสาดวยก็มี

5. วางไมมะเดื่อซ่ึงแตงเปนชิ้นแลว บนแระเพื่อเปนสิริมงคล 6. ยกเสาลงหลุม เร่ิมจากเสาเอก-โท และอื่น ๆ ตามพิธีการ 7. ใสรอดทะลุเสาทุกตน 8. ชางไมจะปนขึ้นไปประจําเสาทุกตนเสาละคน สอดไมคาโคนหลุมกันเสาโอนเอน

ยังไมตองกลบหลุม 9. คนขางลางจะสงเตาขึ้นไปใหคนขางบน นําเตาสอดเขารูทั้งเตาสุมและเตาราย เมื่อ

สอดแลวชางจะนั่งอยูบนเตา แลวคนขางลางก็จะสงขื่อขึ้นไป 10. วางขื่อสดุมกับหัวเทียนปลายเสา ถาลงกันไมพอดีก็ปรับโคนเสาหรือโยกเสาใหเขา

กับขื่อ ซ่ึงไดวัดระยะไวกอนแลว การที่ไมกลบหลุมเสากอนก็เพราะสาเหตุนี้ 11. ยกเสาดั้งสอดเขากับกลางขื่อเผล หรือข่ือดานสกัดแลวยกโคนเสาซึ่งทําเปนงามไว

สวมลงบนหลังรอด ถาเรือนไหนจะทําฝาประจันหองก็ทําเชนเดียวกันตามตําแหนงที่จะวางฝา 12. สงแปหัวเสาขึ้นทั้งสองขาง ใหบาแปหัวเสาวางบนหัวข่ือที่เตรียมไวใหพอดี 13. ติดพรึงโดยรอบ โยแตงเสาติดพรึงพออยูไมใหแนนจนเดินไปใสสลักตรึงพออยู

จะทําใหพรึงแนนไดก็ตอเมื่อใสฝาเรือนแลว เพื่อสะดวกแกการเขาพรึงกับฝา 14. แตงระดับน้ําหลังรอด พรึง และแปหัวเสาใหไดระดับ ขั้นตอนนี้สําคัญมาก เรือน

จะโย เอียง หรือไดระนาบ ไดกึ่งก็ตรงนี้ 15. ปูพื้นวางทับลงบนหลังรอด ชวงระหวางเสาติดกับแนวพรึงวางทับลงบนฝก

มะขามที่ทําเกาะเสาไว ไมตองตรึงตะปูที่พื้นวางทับเฉย ๆ และทําเปนนั่งรานไดดวย 16. นําแผงหนาจั่วทั้งสองดานขึ้นไปติดตั้ง ตีนลางของแผงขื่อจะทําเปนงามบาเพื่อปะ

กบเขากับแปหัวเสา ฐานของแผงจั่วจะนั่งอยูบนขื่อ 17. ชวงขื่อในใหติดตั้งดั้งลอยใสจันทันทั้งสองขาง โดยใชโคนจันทันสวมติดกับแป

หัวเสาเหมือนกับแผงจั่ว และสวนประกอบของจันทันจะขนาบกับยอดใบดั้งลอยที่เจาะรูเตรียมเขาเดือยไวแลว

Page 101: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

96

18. บานบางหลังเสาดั้งและใบดั้งจะเปนไมตนเดียวกัน โดยปลายใบดั้งจะทําเปนงามมีเดือยกลางเพื่อสวมเขากับอกไก แผงจั่วก็จะวางอยูดานนอกใบดั้ง

19. วางแปลานลงบนรองหลังจันทันและกรอบแผงจั่วทั้งสองขาง ตีตะปูใหแนน (โบราณใชตะปูจีน)

20. วางอกไกสวมลงกับเดือยใบดั้ง และเดือยดั้งลอย เดือยทั้งสองชนิดไมทะลุอกไก จากนั้นก็ใชล่ิมตอกบังคับใหแนน ในตําราบอกมีเดือยที่แผงจั่วดวย เพื่อสวมกับอกไก แตที่ผูเขียนสํารวจครั้งนี้พบทั้งมีเดือยและไมมีเดือย

21. ยกแผงฝาดานยาวทั้งสองดานขึ้นติดตั้ง การยกฝาเขาที่ตองตอกเตาทอยเขาไปในเสาใหสุดตัว เพราะถามีเตายื่นยาวออกมาจะใสแผงจั่วไมถนัด เพราะเตาจะไปขวางอยูยกแผงฝาใหสูงขึ้นไมได เมื่อฝากับพรึงเขาที่เขาทางกันไดแลว จึงตอกเตากลับออกมา เพื่อเตรียมยึดเชิงชายทําเชนนี้ทุกแผงฝา ยังไมตองตอกตะปูจีนยึดฝาไวกับเสาใหเตาอัดหรือขมฝาไวกอน ระยะนี้จะเห็นประโยชนของเสาที่เอียงนอย เพราะจะรับแผงฝาไวได น้ําหนักถายลงใหเสาและเตาชวยอัดไมใหลมหลุดไมตองตีตะปูก็จะตั้งอยูไดแตไมแนน

22. ติดฝาอุดหนากลอง ใชวิธีเดียวกับฝาดานยาว สวนฝาประจําหองหรือฝากั้นหอง ก็ติดตั้งโดยใชตะปูยึดไวกับเตาดั่งและเสาเรือน

23. ติดเชิงชายดานยาวกอนใหแนนกับเตาแลวจึงติดดานสกัดดานยาวนั้นที่ปลายจะมีเดือย ดานสกัดจะเจาะเปนรอง เพื่อสวมเขาดวยกันแลวใชสกัดฝงกันไมใหดานสกัดดีดตัวออก

24. ติดปนลมใหแนนกับแปทุกตัวดวยตะปูจีน วางกลอนเจาะถามุงดวยจากหรือหญา ถามุงดวยกระเบื้องก็ใชกลอนขอสลับกับกลอนแบนที่มีรูใสเดือย แลวตั้งระแนงที่ตองใชกลอนแบนเจาะรูสลับกับกลอนขอ เขาใจวาประหยัดกลอนขอ

25. โยตีนเสาแตงใหเขาที่จนฝาแนบสนิททุกแผน แลวตีตะปูนจีนยึดฝาใหแนนกับเสาทุกตน หรือใชสลักไมก็เคยเห็น

26. เมื่อประกอบตัวเรือนสําเร็จแลว ก็จัดการทําระเบียงตอไป โดยวางจันทันระเบียงปลายดานในยึดกับใตเตาดวย “คางคาว” หรือรวมนอตรอย แลวพาดไปยังหัวเสาระเบียงที่ทําเปนงามหรือบากเปนบา ปลายจันทันระเบียงจะเลยเสาออกไปพอสมควรทําเปนเดือยไว เพื่อสอดเขากับเชิงกลอน แลวสลักดวยไมสลักบังคับไมใหเชิงกลอนดีดตัวออกไปหลังเชิงกลอนวางไมทําเปนสะพานหนู

27. สอดรอดกับเสาเพื่อวางพื้นระเบียงจากนั้นก็วางฝาของเฉลียง แป กลอน ระแนง ตามลําดับ

28. กลบดินโคนเสากระทุงใหแนน 29. มุงหลังคาจะเปนกระเบื้อง หรือแฝก หรือจาก สุดแทแตความตองการของเจาของ

เรือน

Page 102: 01 Knowledge 1-8

องคความรูดานการสํารวจสถาปตยกรรมเพื่อการอนุรักษโบราณสถาน : อาคารเรือนทรงไทย

97

30. จัดทําหลบหลังคาจะเปนกระเบื้อง แฝก หรือจาก ตามลักษณะของเครื่องมุง บางแหงอาจใชกระเบื้องหลบทับลงบนหญาหรือจากก็มี ขั้นตอนตอไปจะทํานอกชาน สวนชานหรือครัวไฟตอไป