27
100 2. ผลการศึกษาระยะที่สอง: การพัฒนารูปแบบการสอน การวิจัยระยะนี้เปนการวิจัยเพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการสอนที่เนนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณ ญาณสําหรับนักศึกษากายภาพบําบัด ที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น ในรายวิชา 472 352 กายภาพบําบัดในภาวะทางทรวง อก 2 เรื่องกายภาพบําบัดในผูปวยภาวะการบาดเจ็บ โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งผลการวิจัยมีดังตอ ไปนี2.1 สภาพและบริบทของการเรียนการสอน การวิจัยเชิงปฏิบัติการนีดําเนินการวิจัยทีคณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่ง ผูวิจัยไดศึกษาสภาพปญหาและบริบทของการเรียนการสอน ดังรายละเอียดตอไปนี2.1.1 ลักษณะการจัดการเรียนการสอนรายวิชา 472 352 รายวิชา 472 352 กายภาพบําบัดในภาวะทางทรวงอก 2 เปนรายวิชาพื้นฐานวิชา ชีพสําหรับนักศึกษากายภาพบําบัดชั้นปที3 มุงใหผูเรียนไดเรียนรูถึง สาเหตุ อาการ และอาการแสดง การตรวจ ประเมินผูปวยทางทรวงอกดวยวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการ ภาพรังสีทรวงอกและการตรวจพิเศษ การรักษา โรคหรือกลุมอาการทางทรวงอก ทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ซึ่งรวมถึงหลักการและวิธีการทําศัลยกรรมปอด และชองทอง โดยเนนถึงการวางแผนการดูแลรักษาผูปวยทางอายุรกรรมทรวงอก และศัลยกรรมที่ตองการการดู แลเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจดวยวิธีการทางกายภาพบําบัด เครื่องมือและอุปกรณที่เกี่ยวของในการตรวจ ประเมินและการดูแลรักษาผูปวยทางทรวงอก รวมทั้งการฟนฟูสรรถภาพของระบบทางเดินหายใจ และการดูแล ปองกันความบกพรองในหนาที่ของระบบหายใจ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนในวิชาดังกลาวนีมุงพัฒนาความรู และทักษะผูเรียนทางดานการตรวจประเมินผูปวยทางทรวงอกทั้งทางดานอายุรกรรมและศัลยกรรม โดยคํานึงถึง สาเหตุอาการและอาการแสดง การวางแผนการดูแลและใหการรักษาทางกายภาพบําบัด การจัดการเรียนการ สอนโดยการบรรยายและศึกษาปญหาจากผูปวยจริง 2.1.2 ลักษณะการจัดชั้นเรียนและหองเรียน ลักษณะการจัดชั้นเรียนมี 3 ลักษณะดังนี1) การเรียนในสวนที่เปนเนื้อหา ใชหอง บรรยาย ซึ่งมีลักษณะเปนหองบรรยายทั่วไปและมีเกาอี้สําหรับใหนักศึกษานั่งฟงบรรยาย 2) กรณีที่เปนการฝก ปฏิบัติงาน ใชหองฝกปฏิบัติ ซึ่งเปนหองที่มีเตียงผูปวย หมอนสําหรับนอน โดยผูเรียนมักจะจับคูฝกปฏิบัติ โดย มีคณาจารยที่รับผิดชอบใหคําชี้แนะ ตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาดของการฝก 3) กรณีที่ฝกปฏิบัติงานคลินิก สถานที่ฝกงานคือโรงพยาบาลศรีนครินทร ผูเรียนฝกปฏิบัติใหการรักษาทางกายภาพบําบัดกับผูปวยจริง โดยมี คณาจารยทางกายภาพบําบัดเปนผูใหคําปรึกษา 2.1.3 การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลในสวนที่เปนเนื้อหามักใชการสอบขอเขียนโดยในแตละภาค การศึกษามีการสอบเพื่อประเมินผลการเรียน 2 ครั้ง คือ การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค ขอสอบที่ใช ในการประเมินมีทั้งลักษณะที่เปนปรนัยและอัตนัย สวนการวัดดานทักษะมักใชการสอบโดยปฏิบัติการ และ ประเมินผลโดยใชเกณฑการตัดสินใจแบบอิงเกณฑ (คะแนนรวมทั้งหมดเทากับหรือมากกวา 60 เปอรเซ็นต จึง ถือวาสอบผาน) สวนในทางคลินิกมักประเมินจากการใหผูเรียนแสดงวิธีการรักษาผูปวยจริง 2.2 ผลการสะทอนการปฏิบัติในวงจรที1 การปฏิบัติการวิจัยในวงจรที1 ประกอบดวยแผนการสอนที1 และ 2 เรื่อง การบาดเจ็บทีศีรษะ ซึ่งแผนการสอนที1 เปนเนื้อหาความรูและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการบาดเจ็บที่ศีรษะ กลไก และแนวทาง

2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

100

2. ผลการศึกษาระยะที่สอง: การพัฒนารูปแบบการสอนการวิจัยระยะนี้เปนการวิจัยเพ่ือศึกษาและพัฒนารูปแบบการสอนที่เนนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณ

ญาณสําหรับนักศึกษากายภาพบําบัด ท่ีผูวิจัยไดสรางขึ้น ในรายวิชา 472 352 กายภาพบําบัดในภาวะทางทรวงอก 2 เรื่องกายภาพบําบัดในผูปวยภาวะการบาดเจ็บ โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งผลการวิจัยมีดังตอไปนี้

2.1 สภาพและบริบทของการเรียนการสอนการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ ดําเนินการวิจัยที่ คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่ง

ผูวิจัยไดศึกษาสภาพปญหาและบริบทของการเรียนการสอน ดังรายละเอียดตอไปนี้2.1.1 ลักษณะการจัดการเรียนการสอนรายวิชา 472 352

รายวิชา 472 352 กายภาพบําบัดในภาวะทางทรวงอก 2 เปนรายวิชาพ้ืนฐานวิชาชีพสําหรับนักศึกษากายภาพบําบัดชั้นปท่ี 3 มุงใหผูเรียนไดเรียนรูถึง สาเหตุ อาการ และอาการแสดง การตรวจประเมินผูปวยทางทรวงอกดวยวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการ ภาพรังสีทรวงอกและการตรวจพิเศษ การรักษาโรคหรือกลุมอาการทางทรวงอก ทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ซึ่งรวมถึงหลักการและวิธีการทําศัลยกรรมปอดและชองทอง โดยเนนถึงการวางแผนการดูแลรักษาผูปวยทางอายุรกรรมทรวงอก และศัลยกรรมที่ตองการการดูแลเก่ียวกับระบบทางเดินหายใจดวยวิธีการทางกายภาพบําบัด เครื่องมือและอุปกรณท่ีเก่ียวของในการตรวจประเมินและการดูแลรักษาผูปวยทางทรวงอก รวมทั้งการฟนฟูสรรถภาพของระบบทางเดินหายใจ และการดูแลปองกันความบกพรองในหนาท่ีของระบบหายใจ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนในวิชาดังกลาวนี้ มุงพัฒนาความรูและทักษะผูเรียนทางดานการตรวจประเมินผูปวยทางทรวงอกทั้งทางดานอายุรกรรมและศัลยกรรม โดยคํานึงถึงสาเหตุอาการและอาการแสดง การวางแผนการดูแลและใหการรักษาทางกายภาพบําบัด การจัดการเรียนการสอนโดยการบรรยายและศึกษาปญหาจากผูปวยจริง

2.1.2 ลักษณะการจัดช้ันเรียนและหองเรียนลักษณะการจัดชั้นเรียนมี 3 ลักษณะดังนี้ 1) การเรียนในสวนที่เปนเนื้อหา ใชหอง

บรรยาย ซึ่งมีลักษณะเปนหองบรรยายทั่วไปและมีเกาอ้ีสําหรับใหนักศึกษานั่งฟงบรรยาย 2) กรณีท่ีเปนการฝกปฏิบัติงาน ใชหองฝกปฏิบัติ ซึ่งเปนหองท่ีมีเตียงผูปวย หมอนสําหรับนอน โดยผูเรียนมักจะจับคูฝกปฏิบัติ โดยมีคณาจารยท่ีรับผิดชอบใหคําชี้แนะ ตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาดของการฝก 3) กรณีท่ีฝกปฏิบัติงานคลินิก สถานที่ฝกงานคือโรงพยาบาลศรีนครินทร ผูเรียนฝกปฏิบัติใหการรักษาทางกายภาพบําบัดกับผูปวยจริง โดยมีคณาจารยทางกายภาพบําบัดเปนผูใหคําปรึกษา

2.1.3 การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผลในสวนที่เปนเนื้อหามักใชการสอบขอเขียนโดยในแตละภาค

การศึกษามีการสอบเพื่อประเมินผลการเรียน 2 ครั้ง คือ การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค ขอสอบที่ใชในการประเมินมีท้ังลักษณะที่เปนปรนัยและอัตนัย สวนการวัดดานทักษะมักใชการสอบโดยปฏิบัติการ และประเมินผลโดยใชเกณฑการตัดสินใจแบบอิงเกณฑ (คะแนนรวมทั้งหมดเทากับหรือมากกวา 60 เปอรเซ็นต จึงถือวาสอบผาน) สวนในทางคลินิกมักประเมินจากการใหผูเรียนแสดงวิธีการรักษาผูปวยจริง

2.2 ผลการสะทอนการปฏิบัติในวงจรที่ 1การปฏิบัติการวิจัยในวงจรที่ 1 ประกอบดวยแผนการสอนที่ 1 และ 2 เรื่อง การบาดเจ็บที่

ศีรษะ ซึ่งแผนการสอนที่ 1 เปนเนื้อหาความรูและทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับการบาดเจ็บที่ศีรษะ กลไก และแนวทาง

Page 2: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

101

ในการตรวจประเมิน ใชเวลา 4 ชั่วโมง แตสอนจริงใชเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง 40 นาที สวนแผนการสอนที่ 2 เปนสวนปฏิบัติการที่เก่ียวของกับการตรวจประเมินผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งผูเรียนจะตองเปนผูประเมินอาการและวางแผนใหการรักษาทางกายภาพบําบัดกับผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บจริงท่ีตึกผูปวย โรงพยาบาลศรีนครินทร ไดกําหนดไว 2 ชั่วโมง แตสอนจริงใชเวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที รายละเอียดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละขั้นตอนมีดังตอไปนี้

2.2.1 ขั้นนําผูสอนทบทวนความรูเดิมของผูเรียน โดยเริ่มจากแนะนําวาผูปวยทุกประเภทที่มา

รับการรักษา ผูใหการรักษามักจะดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ การซักประวัติ ตรวจรางกาย เพ่ือประเมิน (assessment) ปญหาผูปวยกอนจะสรุปปญหาทั้งหมดที่พบ แลวจึงวางแผนการรักษา และใหการรักษาตามลําดับ ผูสอนไดนําอภิปรายโดยใชคําถามดังนี้ ใครบางท่ีเคยมีประสบการณในการรักษาผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะบาง ลองเลาใหเพ่ือนๆฟงซิวา ลักษณะผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะมีประวัติการบาดเจ็บ ลักษณะอาการ และอาการที่ตรวจพบอยางไร (พยายามกระตุนใหผูเรียนที่เคยมีประสบการณในการรับผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะ เลาประสบการณท่ีไดรับใหเพ่ือนๆในหองฟง) จากนั้นผูสอนแจงวัตถุประสงคของการเรียนวา จะเรียนเรื่องการบาดเจ็บที่ศีรษะ การตรวจประเมิน และวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัด ซึ่งผูเรียนเริ่มใหความสนใจ และตั้งใจฟงในสิ่งท่ีผูสอนกําลังพูด ผูสอนพยายามทบทวนขั้นตอนการเรียนแบบรวมมือกันเรียนรู

ในชวงแรกผูเรียนยังไมคอยใหความสนใจเทาท่ีควร สังเกตจาก หลายคนยังกมหนากมตาทํางานบางอยางของตนเอง หลายคนก็ยังคุยกันอยู แตก็มีผูเรียนบางคนใหความสนใจกับสิ่งท่ีผูสอนสอน จนผูสอนตองหยุดพูด ผูเรียนทั้งหมดจึงเงียบและเริ่มใหความสนใจในสิ่งท่ีผูสอนจะพูด และพยายามตอบประเด็นคําถามที่ผูสอนถาม

2.2.2 ขั้นสอน1) กิจกรรมไตรตรองรายบุคคล

กิจกรรมไตรตรองรายบุคคลมีเปาหมายและวัตถุประสงคเพ่ือใหผูเรียนไดฝกการคิดไตรตรองดวยตนเอง วิเคราะหปญหา พิจารณาจากขอมูลตามเนื้อหาที่มอบหมายให ตีความและสรุปความโดยใชขอมูลและประสบการณความรูเดิมที่มี ซึ่งทักษะดังกลาวเปนทักษะพ้ืนฐานที่สําคัญของบุคคลที่มีกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ

การจัดกิจกรรมนั้นผูสอนไดใหผูเรียนนั่งแยกตามกลุมที่ไดจัดไว เปน 7 กลุม จากนั้นใหผูชวยสอนแจกใบงานที่ 1 ซึ่งเปนเนื้อหาที่จะเรียนใหกับผูเรียนทุกคน โดยใหผูเรียนอานและทําความเขาใจกับคําชี้แจงในใบงาน โดยใหคิดพิจารณาดวยตนเองอยางอิสระตามลําพัง หามมิใหผูเรียนปรึกษาหารือกัน โดยผูสอนจะพยายามกระตุนใหผูเรียนคิดดวยตนเอง ตามกระบวนการและองคประกอบของกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ ซึ่งกําหนดเวลาในการทํากิจกรรม 30 นาที

ในเบื้องตนผูเรียนสวนใหญ ยังมีความสงสัยเก่ียวกับเนื้อหา และยังเปดเอกสารคําสอนที่ผูสอนแจกใหอานกอนเรียน หากผูเรียนทําความเขาใจและอานมาลวงหนา จะสามารถตอบประเด็นคําถามในใบงานได จากการสอบถามผูเรียนแลว สวนใหญไมไดเตรียมอานมาลวงหนา จึงตองเปดและอานเพ่ือตอบคําถามในใบงาน บรรยากาศในชั้นเรียนขณะนั้นเงียบ เพราะผูเรียนทุกคนตางกมหนากมตาอานและทํากิจกรรมการเรียนการสอนตามที่ไดรับมอบหมาย ผูชวยสอน (จํานวน 4 ทาน) นั่งสังเกตกิจกรรมการเรียนการสอน สวนผูสอนจะพยายามกระตุนใหผูเรียนไดคิด และทําตามขั้นตอนของกระบวนการคิด แตสวนใหญผูเรียนยังคงกมหนากมตาอานเนื้อหาและพยายามสรุปประเด็นสําคัญและพยายามทําความเขาใจกับเนื้อหา ซึ่งใชเวลาคอนขางมากในกิจกรรมนี้

Page 3: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

102

2) กิจกรรมไตรตรองระดับกลุมกิจกรรมไตรตรองระดับกลุมมีเปาหมายเพื่อใหผูเรียนไดมีโอกาสฝกการ

แลกเปลี่ยนขอคิดเห็นของตนเองกับผูอ่ืน ฝกการเปรียบเทียบขอมูลในความเหมือนและความแตกตางกับผูอ่ืน รวมกันพิจารณาขอมูลและประเด็นปญหารวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นมุมมองปญหากัน ฝกการเปนผูฟงท่ีดีและเปนผูใจกวางยอมรับความคิดเห็นของผูอ่ืนที่มีเหตุผลดีกวา พยายามรวมกันสรุปความจากการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยยึดหลักการที่วาบุคคลที่มีกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณจะเปนผูท่ีใจกวาง (open-minded) ยอมรับฟงความคิดเห็นผูอ่ืนมีความเชื่อม่ันในเหตุผล พรอมที่จะปรับเปลี่ยนความเชื่อหรือความคิดของตนเมื่อมีขอมูลใหมเพ่ิมเติมหรือมีความสมเหตุสมผลมากกวา

การจัดกิจกรรมนั้น จะเปดโอกาสใหผูเรียนรวมกลุมหลังจากไดคิดไตรตรองดวยตนเองแลว ซึ่งผูสอนไดเปดโอกาสใหผูเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับเพ่ือนๆสมาชิกในกลุม โดยใหสมาชิกไดอานสิ่งท่ีตนไดคิด/สรุปไวใหเพ่ือนสมาชิกฟง ขณะที่สมาชิกในกลุมที่เหลือตั้งใจฟง พรอมทั้งจดบันทึกประเด็นที่สําคัญ เพ่ือเปรียบเทียบในสิ่งท่ีตนเองคิด รวมกันอภิปรายความเหมือน ความตาง และกระบวนการคิด ชวยกันสรุปแนวคิดเปนขอสรุปของกลุม และเตรียมสงตัวแทนนําเสนอในกลุมใหญตอไป กําหนดเวลาในการทํากิจกรรม 25 นาที

จากการสังเกต ผูเรียนทุกคนมีสวนรวมในการถกแถลงกันอยางเสียงดัง ซึ่งมีสมาชิกในกลุมบางคนไมพูดแตก็สนใจฟงเพ่ือนในกลุมพูดและจดบันทึก บรรยากาศโดยทั่วไป ผูเรียนใหความสนใจปรึกษาหารือกันดีมาก จนกระทั่งหมดเวลา และผูเรียนขอตอเวลาอีก ผูสอนตอเวลาให 2 ครั้ง ครั้งแรก 10 นาที และครั้งท่ีสอง อีก 5 นาที หลังจากนั้นผูสอนไดจับสลากตัวแทนที่ตองนําเสนอในแตละกลุมและประกาศลําดับที่ของผูท่ีจะตองนําเสนอ (เปนหมายเลขสมาชิกลําดับที่ 6 ของทุกกลุม) แลวใหเวลาเตรียมตัวอีกเล็กนอย ทําใหผูเรียนรูสึกตื่นเตนและสนุกสนานดีมาก ผูชวยสอนแจกแผนโปรงใสเพ่ือเขียนผลสรุปเสนอหนาชั้น กลุมละ 1 แผน (หามเกิน 1 แผน) และกําหนดเวลานําเสนอกลุมละ 5 นาที ซึ่งจะมีการจับเวลาและใหคะแนนการนําเสนอดวย จากนั้นผูสอนจะใหผูเรียนออกมาจับสลากเพ่ือจัดลําดับกอนหลังในการนําเสนอ ซึ่งทําใหผูเรียนที่ถูกกําหนดใหเปนผูนําเสนอผลงานกอนตื่นเตนมาก บรรยากาศสนุกสนานและใหความรูสึกถึงการแขงขันระหวางกลุม มีการติวและแนะนําตัวแทนซึ่งออกมานําเสนอหนาชั้น

ขอสังเกต ขณะที่ผูเรียนทํากิจกรรมกลุม ผูเรียนบางคนยังมีขอสงสัยในประเด็นคําถามในใบงาน พยายามถามผูสอน แตผูสอนจะไมพยายามตอบโดยตรง แตจะพยายามชี้ประเด็นใหผูเรียนไดมีโอกาสคิด และแนะนําใหปรึกษาเพ่ือนๆในกลุมยอยกอนเสมอ บางคนจะใหความคิดเห็นวาไมทราบวาจะอภิปรายเรื่องอะไร ผูเรียนบางกลุมจะใชวิธีอานขอสรุปที่ตนเองสรุปไวใหเพ่ือนในกลุมฟง

3) การเสนอผลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นตอกลุมใหญ มีวัตถุประสงค

เพ่ือใหผูเรียนไดฝกทักษะการอภิปราย ทักษะการฟงอยางมีวิจารณญาณ ฝกทักษะการตั้งประเด็นคําถามอยางเจาะลึก ฝกการถกแถลง ปกปองความคิดของตนเอง และแสดงเหตุผลในเชิงหักลางเพ่ือสรางความแข็งแกรงในความคิด โดยยึดหลักการที่วาบุคคลที่มีกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณจะสามารถอธิบายและแสดงเหตุผลในเชิงหักลาง สามารถอธิบายเหตุผลไดอยางกระจางชัดดวยคําพูดของตนเอง สามารถยกตัวอยางไดอยางชัดเจน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใหผูเรียนแตละกลุมไดสงตัวแทนลําดับที่ 6 ของกลุมออกมานําเสนอผลสรุปที่ไดรวมกันทํา ตามลําดับกอนหลังตามสลากที่ได โดยใหเวลานําเสนอกลุมละ 5 นาที ผูชวยสอนจะเปนผูจับเวลาและใหคะแนนการนําเสนอ ซึ่งจะรวมเปนคะแนนของกลุม ตัวแทนทุกกลุมตางก็ออกมานําเสนอผลสรุปของกลุม ซึ่งผูเรียนทุกคนในชั้นเรียนตางก็ใหความสนใจในสิ่งท่ี

Page 4: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

103

เพ่ือนๆนําเสนออยางตั้งใจ ทุกกลุมสามารถนําเสนอดวยลีลาแตกตางกัน นาสนใจและสนุกสนานมาก โดยประเด็นและขอสรุปที่ไดตรงตามวัตถุประสงครายวิชาที่ตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ผูสอนไดชวยชี้ประเด็นท่ีสําคัญ และเสริมเนื้อหาที่สําคัญแตผูเรียนไมไดกลาวถึง หรือกลาวไมชัดเจน

ขอสังเกต ผูเรียนสวนใหญยังไมกลาซักถามเพ่ือน แตก็พยายามมีสวนรวมในกรณีท่ีเพ่ือนไดนําเสนอไมชัดเจนก็มีการทักทวงบาง หรือกรณีท่ีผูนําเสนอใชเวลาเกินก็จะตบมือเพ่ือเตือน เปนตน บรรยากาศคอนขางสนุกสนาน และผูเรียนทุกคนจะตั้งใจฟง และเอาใจเพ่ือนที่เปนตัวแทนมาก

2.2.3 ขั้นสรุปผูสอนไดสรุป เนื้อหาที่สําคัญของการเรียน และเสริมในประเด็นที่ผูเรียนนําเสนอไม

ชัดเจน หรือเขาใจผิด และเปดโอกาสใหผูเรียนซักถามประเด็นที่ยังสงสัย แตผูเรียนสวนใหญยังคงกมหนากมตาจดในสิ่งท่ีผูสอนสรุป โดยไมมีคําถาม ผูสอนใชเวลาสรุปประมาณ 5 นาที

2.2.4 ขั้นพัฒนาทักษะผูสอนไดใหขอมูลรายชื่อผูปวย เลขท่ีเตียง ตึกผูปวย และการวินิจฉัยโรคเบื้องตน

ใหกับผูเรียน เพ่ือใหผูเรียนแตละคนไปซักประวัติและตรวจรางกายผูปวย โดยกําหนดใหผูปวย 1 คน ตอผูเรียน 3 คน ดังนั้น กลุมยอย 1 กลุม (6 คน) จะไดรับผูปวย 2 คน ผูปวยสวนใหญจะมีปญหาดานการบาดเจ็บที่ศึรษะตามเนื้อหาท่ีเรียน ซึ่งผูเรียนแตละคนจะตองฝกการตรวจประเมินและวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัดดวยตนเอง หลังจากผูเรียนไดทราบรายชื่อผูปวยของตนแลว ผูสอนไดแจกใบงานใหผูเรียนตามกลุมยอยที่ไดแบงไว เพ่ือใหผูเรียนไดทํากิจกรรมการเรียนการสอนตามคําชี้แจงและประเด็นคําถามในใบงาน โดยผูเรียนแตละคนจะตองพิจารณาคําถามและตรวจรางกายผูปวยดวยตนเองโดยไมปรึกษาหารือกัน จากนั้นจึงนําขอมูลปรึกษากันในกลุมยอย และสรุปเปนขอสรุปของกลุมและนําเสนอกลุมใหญในชั้นเรียน ผูสอนใหเวลาในการทํากิจกรรม 1 ชั่วโมง

1) ผูเรียนทาํการตรวจประเมินผูปวยดวยตนเองจากการสังเกตผูเรียนทุกคน ตางใหความสนใจและตั้งใจซักประวัติ และ

ตรวจรางกายผูปวยเปนอยางดี มีความกระตือรือรนในการคนหาปญหาผูปวยตามที่ไดรับมอบหมาย ยังมีผูเรียนสวนหนึ่งนําเอกสารประกอบการสอนไปเปดอานประกอบระหวางทําการตรวจรางกาย และมีผูเรียนสวนใหญยังปรึกษาหารือและชวยเหลือกันแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน

2) กิจกรรมไตรตรองระดับกลุมหลังจากที่ผูเรียนไดตรวจประเมินผูปวยตามใบงานที่ใหแลว ผูสอนไดเปด

โอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนขอมูลการตรวจรางกายผูปวยที่ทุกคนไดมา แลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน และสรุปเปนขอสรุปของกลุมเพ่ือสงตัวแทนนําเสนอ โดยผูชวยสอนไดกําหนดใหผูเรียนลําดับที่ 3 ของแตละกลุมเปนผูนําเสนอ ผูชวยสอนแจกแผนโปรงใสใหผูเรียนกลุมละ 1 แผน เพ่ือใชนําเสนอขอมูลผูปวย ผลการซักประวัติ ตรวจรางกาย และผลการวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัด ใหกับผูปวย 1 ราย และใหจับสลากลําดับการนําเสนอ ซึ่งผูเรียนที่เปนตัวแทนที่ตองนําเสนอรูสึกตื่นเตนมาก

3) การนาํเสนอผลและแลกเปลี่ยนตอกลุมใหญตัวแทนผูเรียนแตละกลุมไดออกมานําเสอนปญหาผูปวยที่แตละกลุมได

รับ ถึงแมผูปวยที่ไดรับจะมีจํานวนมากและมีความหลากหลาย แตประเด็นที่ผูเรียนนําเสนอโดยสรุปซึ่งมักเปนเรื่องท่ีคลายกัน ตรงกับเนื้อหาท่ีผูสอนไดสอน ผูเรียนสามารถนําขอความรูทางทฤษฎีไปประยุกตใชในการตรวจประเมินผูปวยไดเปนอยางดี (ภาพที่ 14) จากการสังเกตผูเรียนระหวางเขาหาผูปวย (approach) ก็สามารถทําไดดี

Page 5: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

104

หลังจากนั้นผูสอนไดสรุปประเด็นปญหาที่สังเกตไดขณะผูเรียนฝกปฏิบัติบนหอผูปวย และสรุปประเด็นสําคัญที่ยังขาด ปญหาที่ตองไดรับการแกไข หรือพูดไดไมชัดเพ่ิมเติม และเปดโอกาสใหผูเรียนซักถามปญหา แตจากการสังเกตก็ไมมีใครถาม สวนใหญยังใหความสําคัญกับการจดบันทึกสิ่งท่ีผูสอนสรุปให

2.2.5 ขั้นพัฒนาการนาํไปใชผูสอนไดเสนอกรณีตัวอยางผูปวยใหมโดยแจกใบงานที่ 2 ซึ่งเปนกรณีศึกษาผูปวย

โดยใหผูเรียนนําไปคิดเปนแบบฝกหัด สามารถปรึกษาหารือกันได และสามารถเปดตํารา และคนควาในหองสมุดหรือแหลงความรูอ่ืนๆ โดยแนะนําวาคําตอบของปญหาผูปวยที่ใหไมมีถูกไมมีผิด ทุกคนควรคิดวิเคราะหและหาทางแกปญหาที่สมเหตุสมผล โดยใหแสดงทั้งเหตุและผลประกอบ หากผูเรียนสงสัยสามารถเปดดูคําเฉลยบน web page ท่ีผูสอนทําสรุปไว หรือหากสงสัยสามารถ e-mail สอบถามผูสอนได

2.2.6 การประเมินผลหลังจากสิ้นสุดการเรียนการสอนตามแผนการสอนที่ 1 และ 2 แลว ผูวิจัยไดทําการ

ทดสอบยอยหลังเรียนเพ่ือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเปนขอสอบอัตนัย จํานวน 2 ขอ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) โดยกอนทําการทดสอบยอย ผูสอนไดมีขอตกลงกับผูเรียนวา ไมอนุญาตใหพูดคุย หรือปรึกษาหารือกัน และไมอนุญาตใหเปดเอกสารประกอบการสอนหรือตําราใดๆ ทุกคนจะตองทําดวยความสามารถของตนเอง ผลการทดสอบยอย พบวาคะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 13.20 และ 1.75 ตามลําดับ เทียบเปนรอยละได 65.98 ซึ่งสูงกวาเกณฑของรายวิชา

ภาพที่ 14 แสดงตวัอยางผูปวยทีก่ลุมตวัอยางไดนาํเสนอในระหวางการทาํกิจกรรมการเรยีนการสอนในวงจรที ่1

Page 6: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

105

2.2.7 การสะทอนผลกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณผูชวยสอนไดสุมสัมภาษณผูเรียนในประเด็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ

ไดแจกแบบประเมินพฤติกรรมกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณดวยตนเอง และแบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอน เพ่ือใหผูเรียนไดประเมินพฤติกรรมของตนเองระหวางการทํากิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสุม

จากการประชุมปรึกษากันระหวางผูวิจัยและผูชวยสอนพบวา ผูเรียนสวนใหญยังไมสามารถเชื่อมโยงขอมูลและเหตุผลเพ่ือการอภิปรายและตอบคําถาม การนําเสนอผลงานกลุมสวนใหญจะมีลักษณะการยอเนื้อหาเพ่ือนําเสนอ การอภิปรายมักอธิบายตามเอกสารประกอบการสอน การตอบคําถามจากเพ่ือนหรือผูสอนก็ตอบไดเฉพาะท่ีมีเขียนไวในเอกสารประกอบการสอน โดยเฉพาะผูเรียนกลุมที่ 4 ไดขออนุญาตผูสอนนําเอกสารประกอบการสอนขึ้นมาอานประกอบการตอบประเด็นคําถามดวย ลักษณะแผนโปรงใสและผลงานที่นําเสนอสวนใหญจะมีลักษณะยอเนื้อหาเพ่ือการนําเสนอมากกวาการสรุปความหรือเขียนจากความเขาใจของตนเอง หลายกลุมพยายามเขียนตัวหนังสือท่ีเล็กเพ่ือจะไดเขียนเนื้อหาไดมาก (เนื่องจากผูสอนไดจํากัดใหแผนโปรงใสกลุมละ 1 แผน) อยางไรก็ดี มีผูเรียนบางกลุมสามารถอธิบายประเด็นคําถามไดอยางชัดเจน สามารถเชื่อมโยงและยกตัวอยางท่ีมีผูซักถามไดพอสมควร ดังนั้นที่ประชุมสรุปวา ระดับกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของผูเรียนทั้งชั้นอยูในระดับต่ํา

2.2.8 สภาพปญหาที่พบและแนวทางแกไขจากการสังเกตของผูชวยสอนจํานวน 4 ทาน ตอพฤติกรรมของผูเรียนและผูสอน

ในระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พบวา ผูสอนมีการเตรียมการสอนไดเปนอยางดี มีกิจกรรม และใบงานที่เปนปญหาผูปวยที่นาสนใจทําใหผูเรียนสนใจ มีกิจกรรมที่ทําใหผูเรียนกระฉับกระเฉง ตื่นตาตื่นใจตอการท่ีตนเองจะตองเปนผูออกไปนําเสนอผลงานของกลุมหนาชั้นเรียน ผูเรียนไมมีผูใดหลับ ท้ังๆท่ีเปนชวงเวลาบายหลังทานอาหารเที่ยง ซึ่งปกติจะมีผูหลับขณะสอนเปนประจํา แตมีขอเสนอแนะวาผูสอนควรกระตุนและเราความสนใจดวยคําพูดใหมากกวานี้ ประเด็น/คําถามในใบงานยังไมเราใจและซับซอนพอที่จะสามารถกระตุนใหผูเรียนไดฝกคิดระดับวิเคราะหและไตรตรอง

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนาสนใจ ชวงเวลาของกิจกรรมไตรตรองรายบุคคลในแผนการสอนที่ 1 ใหเวลามากเกินไป และชวงเวลาของกิจกรรมไตรตรองระดับกลุมนอยเกินไป ควรปรับปรุง นอกจากนั้น ในชวงกิจกรรมระดับกลุม ผูเรียนแตละกลุมตางพูดคุยกัน ทําใหเกิดเสียงรบกวนระหวางกลุม มีขอแนะนําใหหาหองสําหรับทํากิจกรรมกลุมยอยที่เหมาะสม หรืออาจใหผูเรียนใชสถานที่ตามระเบียงอาคาร เปนตน

ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชวงของการปฏิบัติวงจรที่ 1 สวนใหญใชเวลาในการทํากิจกรรมแผนการสอนละประมาณ 3 ชั่วโมง เศษ จึงสามารถจบกระบวนการเรียนการสอน อาจเนื่องมาจากผูเรียนยังไมคุนเคย ผูสอนตองอธิบายมาก และผูเรียนตองใชเวลาในการทํากิจกรรมนานกวาปกติ เพราะตองใชความคิดของตนเอง บางคนอาจไมคุนเคย นอกจากนั้น ในกิจกรรมฝกปฏิบัติจําเปนตองตรวจประเมินผูปวยบนตึกผูปวย ซึ่งอยูหางไกลจากหองเรียนมาก ทําใหตองเสียเวลาสวนหนึ่งในการเดินทางไปและกลับ มีขอเสนอแนะวาควรหาหองเรียนที่อยูใกลกับตึกผูปวย หรือตองคํานึงถึงเวลาที่ตองใชไปขณะเดินทางไปยังตึกผูปวย เปนตน

Page 7: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

106

จากการสังเกตของผูวิจัยและผูชวยวิจัย การสัมภาษณผูเรียน และการบันทึกผลพฤติกรรม การสะทอนผลการเรียนการสอน จากการใชแผนการสอนตามรูปแบบการสอนที่เนนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณในกลุมนักศึกษากายภาพบําบัด พบปญหาและแนวทางแกไขปญหา พอสรุปไดดังตอไปนี้

1) ผูเรียนยังไมเขาใจวิธีการเรียนแบบใหมลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอนดังกลาวนั้นผูเรียนทุกคนจําเปนตอง

เตรียมความรูมากอนโดยการอานเนื้อหาท่ีผูสอนแจกใหกอนเรียนเปนเวลา 1 สัปดาห แตผูเรียนสวนใหญไมไดอานมาลวงหนาจึงทําให การทํากิจกรรมการเรียนการสอนตามใบงานที่แจกใหในชั้นเรียนไมเปนไปตามเปาหมายที่ไดวางไว

แนวทางแกไข: ผูสอนแนะนําขั้นตอนการเรียนการสอน และชี้ประเด็นสําคัญและสรางความตระหนักในการเตรียมตัวดานเนื้อหาความรูมากอน นาจะทําใหผูเรียนสามารถเขาใจเนื้อหาไดลึกซึ้งมากขึ้น และสนุกสนานกับกิจกรรมดานการเรียนการสอน

2) ผูเรียนใชเวลาในการทํากิจกรรมมากเกินกําหนดแนวทางแกไข: ปรับเวลาและกิจกรรมใหมใหเหมาะสม และแนะนําวิธีการ

เรียนและใหผูเรียนตระหนักถึงลําดับขั้นตอนของการเรียน และแนะนําใหผูเรียนเตรียมอานและทําความเขาใจกับเนื้อหาที่จะเรียนในบทเรียนมาลวงหนา

3) สถานที่ขณะทํากิจกรรมกลุมไมเหมาะสม เนื่องจากการสงเสียงรบกวนกันแนวทางแกไข: จัดหองเรียนใหม ใหมีลักษณะคลายหองสัมมนาหรือ

ประชุมกลุมยอย เพ่ือใหผูเรียนไดมีโอกาสถกแถลงเต็มที่ไมตองกลัวเสียงรบกวนกัน หรือผูเรียนตองการเรียนนอกหองเรียนเชนที่เกาอ้ีหินในสนาม หรือตามระเบียงก็ได

4) การสังเกตพฤติกรรมของผูชวยสอนไมท่ัวถึง เนื่องจากผูเรียนมีท้ังหมด 7 กลุมแนวทางแกไข: ใหกําหนดกลุมผูเรียนใหกับผูชวยสอนแตละทานเพ่ือการ

สังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอนของผูสอนอยางชัดเจน เชน การวิจัยครั้งนี้ มีผูชวยสอนจํานวน 4-5 คน ก็สามารถกําหนด ผูชวยสอน 1 คน สังเกตพฤติกรรมของผูเรียน 2 กลุม นอกจากนั้นควรแจกแบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอน ในกับผูเรียนและผูสอนทุกคนเพื่อประเมินกระบวนการเรียนการสอน

5) กิจกรรมและประเด็นคําถามยังไมเหมาะสมแนวทางแกไข: ควรปรับกิจกรรมและประเด็นคําถามใหมีความทาทาย

และซับซอนพอที่จะกระตุนใหผูเรียนไดคิด ปรับใหครอบคลุมเนื้อหาและเหมาะสมกับเวลา

ภาพที่ 15 แสดงตัวอยางผลการสะทอนการจัดการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณในการเรียนการสอนวงจรที่ 1

Page 8: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

107

ภาพที่ 16 แสดงผลบันทึกเหตุการณการเรียนการสอนของผูชวยวิจัยทานหนึ่ง ในการสอนวงจรที่ 1

Page 9: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

108

ภาพที่ 17 แสดงผลบนัทกึการสมัภาษณกลุมตวัอยางตอการจดัการเรยีนการสอนของผูชวยวจิยัทานหนึง่ในการสอนวงจรที ่1

ภาพที่ 18 แสดงขอเสนอแนะในการปรบัปรงุกิจกรรมการเรยีนการสอนของผูชวยวจิยัทานหนึง่ในการสอนวงจรที ่1

Page 10: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

109

ภาพที่ 19 แสดงผลการประเมนิผลสมัฤทธิท์างการเรยีนของกลุมตวัอยางรายหนึง่ หลงัจบการเรยีนการสอนวงจรที ่1

Page 11: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

110

2.3 ผลการสะทอนการปฏิบัติในวงจรที่ 2การปฏบัิตกิารวจิยัในวงจรที ่ 2 ประกอบดวยแผนการสอนที ่ 3 และ 4 เรือ่ง การบาดเจบ็ที่

กระดกูสนัหลงัและทรวงอก โดยแผนการสอนที ่ 3 เปนสวนเนือ้หาขอความรูและทฤษฎท่ีีเก่ียวของกับการบาดเจบ็ที่กระดกูสนัหลงัและทรวงอก ขอควรระวงั ผลแทรกซอน และแนวทางในการตรวจประเมนิ ใชเวลา 3 ชัว่โมง แตสอนจรงิใชเวลาประมาณ 3 ชัว่โมง 10 นาท ีสวนแผนการสอนที ่ 4 เปนการฝกทักษะ ท่ีเก่ียวของกับการตรวจประเมนิและวางแผนการรักษาทางกายภาพบาํบัดในผูปวยทีไ่ดรบัการบาดเจบ็ทีก่ระดกูสนัหลงัและทรวงอก ซึง่ผูเรยีนจะตองเปนผูประเมนิอาการและวางแผนใหการรกัษาทางกายภาพบาํบัดกับผูปวยทีไ่ดรบับาดเจบ็จรงิท่ีตกึผูปวย โรงพยาบาลศรนีครนิทร ซึง่ไดกําหนดเวลาทาํกิจกรรมไว 3 ชัว่โมง แตสอนจรงิใชเวลา 3 ชัว่โมง 20 นาท ีรายละเอยีดการจดักิจกรรมการเรยีนการสอนในแตละขัน้ตอนมดีงัตอไปนี้

2.3.1 ขั้นนําเริ่มตนผูสอนทักทายผูเรียน โดยเริ่มจากทบทวนความรูเดิมวา ผูปวยที่ไดรับอุบัติ

เหตุสวนมาก มักจะไมมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ศีรษะเพียงอยางเดียวเทานั้น แตมักมีการบาดเจ็บสวนอื่นๆรวมดวยเสมอ จากนั้นพยายามกระตุนใหผูเรียนพยายามทบทวนสิ่งท่ีตนเองมีประสบการณในการดูแลผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บวา มักพบมีการบาดเจ็บที่สวนใดบาง เพ่ือกระตุนใหผูเรียนคิดทบทวนถึงประสบการณเดิม จากนั้นผูสอนแจงวัตถุประสงคของการเรียนวา จะเรียนเรื่อง การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังและทรวงอก ซึ่งจะมุงเนนดานการตรวจประเมิน ขอควรระวัง ผลแทรกซอนที่มักเกิดจากการบาดเจ็บ และขอบงชี้ตอการรักษาทางกายภาพบําบัด และผูเรียนทุกคนจะมีโอกาสซักประวัติ ตรวจประเมิน และวางแผนใหการรักษาทางกายภาพบําบัดในผูปวยที่มีการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังและทรวงอก ผูสอนไดนําอภิปรายวา เพราะเหตุใดผูปวยที่มีการบาดเจ็บที่ศีรษะ จึงมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง และกระดูกทรวงอกรวมดวยเสมอ และผลแทรกซอนดังกลาวนั้นเปนผลแทรกซอนทางทรวงอกหรือไม และกายภาพบําบัดจะมีสวนชวยเหลือ หรือรวมรักษาอยางไร ?

ในชวงแรกผูเรียนยังไมคอยใหความสนใจเทาท่ีควร สังเกตจากผูเรียนหลายคนยังกมหนากมตาทํางานบางอยางของตนเอง หลายคนก็ยังคุยกันอยู จนผูสอนตองหยุดพูด ผูเรียนทั้งหมดจึงเงียบและเริ่มใหความสนใจในสิ่งท่ีผูสอนจะพูด และพยายามตอบประเด็นคําถามที่ผูสอนถาม

2.3.2 ขั้นสอน1) กิจกรรมไตรตรองรายบุคคล

กิจกรรมไตรตรองรายบุคคลนี้มีเปาหมายเพื่อใหผูเรียนไดฝกการคิดวเิคราะหปญหาดวยตนเองจากขอมูลท่ีมีอยู ฝกการตคีวาม ตัง้สมมตฐิานทีเ่ปนไปไดอยางเหมาะสมเพือ่แกปญหาใหกับกรณีผูปวย การจดักิจกรรมการเรยีนการสอนโดยผูชวยสอนไดแจกใบงาน ซึง่เปนเนือ้หาและกรณีผูปวยทีจ่ะเรยีนใหกับผูเรยีนทกุคน โดยใหผูเรยีนอานทาํความเขาใจกับคาํชีแ้จงในใบงาน โดยการคดิพิจารณาดวยตนเองอยางอิสระตามลาํพัง หามมใิหผูเรยีนปรกึษาหารอืกัน โดยผูสอนจะพยายามกระตุนใหผูเรยีนคดิดวยตนเอง ตามกระบวนการและองคประกอบของกระบวนการคดิอยางมวีจิารณญาณ กําหนดเวลาในการทาํกิจกรรม 25 นาที

จากการสังเกต ผูเรียนทุกคนเริ่มทํากิจกรรมการเรียนการสอนอยางตั้งใจ และไมมีคําถาม ไมมีการเปดคูมือประกอบการสอนที่เปนเนื้อหา เหมือนวงจรปฏิบัติการท่ี 1 บรรยากาศคอนขางเงียบ ผูเรียนทุกคนตางกมหนากมตาอานและทํากิจกรรมการเรียนการสอนตามที่ไดรับมอบหมาย ผูชวยสอน (จํานวน 4 ทาน) นั่งสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน โดยแบงใหสังเกตกิจกรรมการเรียนการสอน ผูเรียน 2 กลุม ตอผูสังเกต 1 คน (ตามขอแนะนําท่ีไดจากวงจรที่ 1) สวนผูสอนจะพยายามกระตุนใหผูเรียนไดคิด และทําตามขั้นตอนของกระบวนการคิด พบวาผูเรียนสวนใหญสามารถตอบประเด็นจากคําถามและกิจกรรมในใบงานที่แจกใหไดรวดเร็วขึ้น สังเกตไดจากผูเรียนสวนใหญไมไดอานเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนที่ให

Page 12: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

111

แตจะตอบคําถามในใบงานทันที การสรุปและตอบคําถามจากใบงานทําไดอยางกระชับโดยการเขียนเปนแผนภูมิและรูปภาพแสดงถึงแนวคิดและขอสรุปซึ่งสามารถบงชี้ถึงการพัฒนาดานกระบวนการคิดในดานการตีความและสรุปความ

2) กิจกรรมไตรตรองระดับกลุมกิจกรรมไตรตรองระดับกลุมนี้มีเปาหมายเพื่อใหผูเรียนไดฝกการแลก

เปลีย่นความคดิเหน็ตอการแกปญหาผูปวย ฝกการอภิปรายรวมกนั ตรวจสอบขอมูลและแนวคดิตอการรกัษาผูปวยซึ่งกันและกัน ฝกการสรุปความจากการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ซึ่งเปนทักษะที่สําคัญของกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ การจัดกิจกรรมโดยเปดโอกาสใหผูเรียนไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับเพ่ือนๆสมาชิกในกลุม โดยใหสมาชิกแตละคนในกลุมยอยไดอานสิ่งท่ีตนไดคิดใหเพ่ือนสมาชิกฟง ขณะที่สมาชิกในกลุมที่เหลือตั้งใจฟง พรอมทั้งจดบันทึกประเด็นที่สําคัญ เพ่ือเปรียบเทียบสิ่งท่ีตนเองคิด รวมกันอภิปรายความเหมือน ความตาง และกระบวนการคิด ชวยกันสรุปแนวคิด และสงตัวแทนนําเสนอในกลุมใหญตอไป ซึ่งผูเรียนสามารถเลือกสถานที่ในการทํากิจกรรมกลุมไดตามตองการ บางกลุมใชบริเวณระเบียง บางกลุมใชหองสัมมนา กําหนดเวลาในการทํากิจกรรม 30 นาที

จากการสังเกต ผูเรียนทุกคนมีสวนรวมในการถกแถลงกันอยางตั้งใจ สมาชิกท่ียังไมมีโอกาสพูดก็จะพยายามฟงและบันทึกสิ่งท่ีเพ่ือนไดพูด บรรยากาศคอนขางผอนคลาย สังเกตจากผูเรียนบางคนก็นั่งไขวหาง ยกขาขึ้นมากอดและบางคนก็นั่งเอียงตัวอยางผอนคลาย โดยไมมีการปรึกษาพูดคุยกันเอง จนกระทั่งหมดเวลา และขอตอเวลาอีก 10 นาที หลังจากนั้นผูสอนไดประกาศลําดับที่ของผูท่ีจะตองนําเสนอ (เปนหมายเลขสมาชิกลําดับที่ 6 ของทุกกลุม) แลวใหเวลาเตรียมตัวอีกเล็กนอย ทําใหผูเรียนรูสึกตื่นเตนและสนุกสนานดีมาก ผูชวยสอนแจกแผนโปรงใสใหกับผูเรียนในแตละกลุมเพ่ือเขียนผลสรุปเสนอหนาชั้น กลุมละ 1 แผน (ไมเกิน 1 แผน) และกําหนดเวลานําเสนอกลุมละ 5 นาที ซึ่งจะมีการจับเวลาและใหคะแนนการนําเสนอดวย จากนั้นผูสอนจะใหผูเรียนออกมาจับสลากเพื่อจัดลําดับกอนหลังในการนําเสนอ ซึ่งทําใหผูเรียนในกลุมที่ตองนําเสนอกอนตื่นเตนมาก บรรยากาศสนุกสนานและมีความรูสึกถึงการแขงขันระหวางกลุม โดยในแตละกลุมจะมีการติวและแนะนําเทคนิคตางๆใหกับตัวแทนซึ่งออกไปนําเสนอหนาชั้น

ขอสังเกต ขณะที่ผูเรียนทํากิจกรรมกลุม บรรยากาศคอนขางผอนคลาย สังเกตจากผูเรียนบางคนก็นั่งไขวหาง ยกขาขึ้นมากอด และบางคนก็นั่งเอียงตัวอยางผอนคลาย โดยไมมีการปรึกษาพูดคุยกันเอง ขอสงสัยจากคําถามในใบงานนอยลง และผูเรียนมีความตั้งใจในการทํากิจกรรมการเรียนการสอนมากกวาวงจรปฏิบัติการที่ 1 และใชเวลาในการทํากิจกรรมกระชับมากขึ้น ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากผูเรียนมีความคุนเคยกับวิธีการเรียนแบบใหมมากขึ้น จากการสังเกตพบวา ผูเรียนสามารถอภิปรายไดตรงประเด็นมากขึ้น มีการสลับกันถามและอภิปรายมากกวาในวงจรที่ 1 ขณะท่ีอภิปรายก็มีการยกเหตุผลขอเท็จจริงตามทฤษฎีประกอบการอธิบาย ซึ่งผูเรียนบางคนไมเห็นดวยกับประเด็นที่กําลังถกเถียงกันก็จะพยายามแสดงเหตุผลหรือพยายามหาขอยุติโดยถามความเห็นของผูสอน สวนผูเรียนที่เห็นดวยก็พยักหนาและนั่งฟงอยางตั้งใจ ซึ่งพฤติกรรมดังกลาวบงชี้ถึงการฝกและมีการใชทักษะการคิดของกลุมผูเรียน

3) การเสนอผลและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นการเสนอผลและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นตอกลุมใหญ มีเปาหมายเพื่อใหผู

เรียนไดฝกการนําเสนอขอสรุปของกลุมตอกลุมใหญดวยคําพูดของผูเรียน พรอมกับยกตัวอยางเพ่ือแสดงความกระจางชัดของประเด็นที่นําเสนอ ฝกการตั้งประเด็นคําถามอยางเจาะลึกในสิ่งท่ีสงสัย ฝกการถกแถลงในเชิงหักลางเพ่ือสรางความแข็งแกรงในความคิด เปนการเสริมสรางความเชื่อม่ันในความคิดอยางมีเหตุผลของตน

Page 13: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

112

การจัดกิจกรรมโดยใหผูเรียนแตละกลุมไดสงตัวแทนลําดับที่ 3 ของทุกกลุมออกมานําเสนอผลสรุปที่ไดรวมกันทํา ตามลําดับกอนหลังท่ีไดจับสลาก โดยใหเวลานําเสนอกลุมละ 5 นาที และผูชวยสอนจะเปนผูจับเวลา และใหคะแนนการนําเสนอ โดยจะรวมเปนคะแนนของกลุม ตัวแทนทุกคนตางก็ออกมานําเสนอผลสรุปของกลุม ซึ่งผูเรียนทุกคนในชั้นเรียนตางก็ใหความสนใจในสิ่งท่ีเพ่ือนๆที่เปนตัวแทนของกลุมตางๆนําเสนอ อยางตั้งใจ ซึ่งในแตละกลุมไดนําเสนอขอมูลดวยลีลาแตกตางกัน นาสนใจและสนุกสนานมาก ประเด็นและขอสรุปที่ไดตรงตามเนื้อหาท่ีตองการใหเกิดการเรียนรู ผูสอนไดชวยชี้ประเด็นที่สําคัญ และเสริมเนื้อหาท่ีสําคัญที่ผูเรียนไมไดกลาวถึง หรือกลาวไมชัดเจน

ขอสังเกต ผูเรียนสวนใหญยังคงไมมีการซักถามเพ่ือน แตก็พยายามมีสวนรวม ผูเรียนที่นําเสนอขอมูลสามารถนําเสนอไดชัดเจนมากกวาครั้งกอนๆ บรรยากาศคอนขางสนุกสนาน และผูเรียนทุกคนจะตั้งใจฟง และเอาใจชวยเพื่อนที่เปนตัวแทนกลุมมาก บรรยากาศในการนําเสนอเปนวิชาการมากกวาในวงจรที่ 1 เนื่องจาก ประเด็นคําถามที่ผูเรียนซักถามคอนขางเจาะลึกและตรงประเด็นกับเนื้อหาที่ผูสอนตองการใหเกิดการเรียนรู ตัวอยางเชน "ทานทราบไดอยางไรวา ผูปวยรายนี้มีการบาดเจ็บที่ไขสันหลัง" หรือ "มีหลักฐานอะไรสนับสนุนวา ผูปวยรายนี้มีการบาดเจ็บของสมองสวนหนา" เปนตน ซึ่งพฤติกรรมตางๆของผูเรียนดังกลาวสามารถบงชี้ถึงการพัฒนาทางดานกระบวนการคิดที่เปนระบบมากขึ้น

2.3.3 ขั้นสรุปผูสอนไดสรุปเนื้อหาท่ีสําคัญของการเรียน และเสริมในประเด็นที่ผูนําเสนอไมชัด

เจน หรือเขาใจผิด และเปดโอกาสใหผูเรียนซักถามประเด็นที่ยังสงสัย ซึ่งผูเรียนหลายคนถามถึงประเด็นที่ตนเองยังสงสัย เพ่ือตองการความชัดเจนของขอสรุปที่เพ่ือนๆไดนําเสนอท่ีผานมา แตผูสอนพยายามยกประเด็นและใชคําถามเพ่ือกระตุนใหผูเรียนคิดถึงความเปนไปไดตางๆ หากขอมูลท่ีไดรับเปลี่ยนไป ตัวอยางเชน กรณีท่ีผูปวยไดรับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังเพียงอยางเดียว ปญหาก็ไมซับซอน หากผูปวยไดรับการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังรวมกับการบาดเจ็บที่ทรวงอกหรือศีรษะรวมดวย จะทําใหผูปวยไดรับผลแทรกซอนตางๆเพ่ิมอีกเปนทวีคูณ เปนตน นอกจากนั้น การพยากรณและความรุนแรงของอาการบาดเจ็บ ยังขึ้นกับอายุ และความทนทานของตัวผูปวยตอการบาดเจ็บนั้นๆอีกดวย

นอกจากนั้น ผูสอนยังไดชี้ประเด็นของกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ ท่ีผูเรียนมีขอสงสัย และแนะนําถึงกระบวนการตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลท่ีไดรับโดยการพิจารณาความสอดคลองของหลักฐานอื่นประกอบ เชน ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการที่บงชี้วาผูปวยมีปญหาดานการติดเชื้อทางทรวงอก ควรสอดคลองกับผลการตรวจเอ็กซเรยปอด หรือมีไขสูงรวมดวย เปนตน ผูสอนใชเวลาสรุปประมาณ 5 นาที

2.3.4 ขั้นพัฒนาทักษะผูสอนไดนําเสนอรายชื่อผูปวย เลขที่เตียง ตึกผูปวย และการวินิจฉัยโรคเบื้องตนให

กับผูเรียน เพ่ือใหผูเรียนแตละคน ทํากิจกรรมตามใบงานที่ 1 แผนการสอนที่ 4 โดยกําหนดใหผูปวย 1 คน ตอผูเรียน 3 คน ดังนั้น กลุมยอย 1 กลุม (6 คน) จะไดผูปวย 2 คน ผูปวยสวนใหญจะมีปญหาดานการบาดเจ็บที่ศีรษะและทรวงอกตามเนื้อหาท่ีเรียน ซึ่งผูเรียนแตละคนจะตองฝกการตรวจประเมินและวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัดดวยตนเอง หลังจากผูเรียนไดทราบรายชื่อผูปวยของตนแลว ผูสอนไดแจกใบงานใหผูเรียนตามกลุมยอยที่ไดแบงไว เพ่ือใหผูเรียนไดทํากิจกรรมการเรียนการสอนตามคําชี้แจงและประเด็นคําถามในใบงาน โดยใหผูเรียนแตละคนจะตองพิจารณาคําถามและตรวจรางกายผูปวยดวยตนเองโดยไมปรึกษาหารือกัน จากนั้นจึงนําขอมูลปรึกษากันในกลุมยอย และสรุปเปนขอสรุปของกลุมและนําเสนอกลุมใหญในชั้นเรียนตอไปตามลําดับ ผูสอนใหเวลาในการทํากิจกรรม 1 ชั่วโมง 20 นาที

Page 14: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

113

จากการสังเกต ผูเรียนทุกคนมีความกระฉับกระเฉงรีบที่จะไปดูผูปวยบนตึกผูปวย โรงพยาบาลศรีนรินทร ผูเรียนหลายคนเดินลงบันไดโดยไมใชลิฟท (ปกติผูเรียนมักจะยืนคอยลิฟท) และมีการพูดคุยแบงงานกันในระหวางเดินทางดวย

1) ผูเรียนทาํการตรวจประเมินผูปวยดวยตนเองจากการสังเกตผูเรียนทุกคน ตางใหความสนใจและตั้งใจในการซักประวัติ

และตรวจรางกายเปนอยางดี มีความกระตือรือรนในการคนหาปญหาผูปวยตามที่ไดรับมอบหมาย ไมมีนักศึกษานําเอกสารประกอบการสอนไปเปดอานประกอบระหวางทําการตรวจรางกายเหมือนครั้งกอน และมีผูเรียนสวนใหญยังคงปรึกษาหารือและชวยเหลือกันแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน

2) กิจกรรมไตรตรองระดับกลุมหลังจากที่ผูเรียนไดตรวจประเมินผูปวยและทํากิจกรรมตามใบงานที่ให

แลว ผูสอนไดเปดโอกาสใหผูเรียนไดแลกเปลี่ยนขอมูลการตรวจรางกายผูปวยที่ทุกคนไดรับซึ่งกันและกัน และสรุปเปนขอสรุปของกลุมเพ่ือสงตัวแทนนําเสนอ โดยผูชวยสอนไดกําหนดใหผูเรียนลําดับที่ 3 ของแตละกลุมเปนผูนําเสนอ ผูชวยสอนแจกแผนโปรงใสใหผูเรียนกลุมละ 1 แผน เพ่ือนําเสนอขอมูลผูปวย ผลการซักประวัติ ตรวจรางกาย และผลการวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัด ใหกับผูปวย 1 ราย และใหจับสลากลําดับการนําเสนอ ซึ่งผูเรียนที่เปนตัวแทนที่ตองนําเสนอรูสึกตื่นเตนมาก

3) การนาํเสนอผลและแลกเปลี่ยนตอกลุมใหญตัวแทนผูเรียนแตละกลุมไดออกมานําเสนอปญหาท่ีกลุมตนเองไดรับ ถึง

แมผูปวยที่ไดรับจะมีจํานวนมากและมีความหลากหลาย แตประเด็นที่ผูเรียนนําเสนอมักเปนเรื่องท่ีคลายกันและมีแนวคิดเปนแนวทางเดียวกันตรงกับเนื้อหาท่ีผูสอนไดสอน ผูเรียนสามารถนําขอความรูในทางทฤษฎีไปประยุกตใชในการตรวจประเมินผูปวยไดเปนอยางดี จากการสังเกตผูเรียนในระหวางเขาหาผูปวย (approach) ก็สามารถทําไดดี

หลงัจากนัน้ผูสอนไดสรปุและสะทอนประเดน็/ปญหาตางๆ จากการสงัเกตพฤตกิรรมของผูเรยีนขณะผูเรยีนฝกปฏบัิตบินหอผูปวย และสรปุประเดน็สาํคญัทีย่งัขาด หรอืพูดไดไมชดัเพ่ิมเตมิ และเปดโอกาสใหผูเรยีนซกัถามปญหา แตก็ไมมีใครถาม สวนใหญยงัใหความสาํคญักับการจดบนัทกึสิง่ท่ีผูสอนไดสรปุให

ขอสังเกต บรรยากาศดานการเรียนการสอน ผูเรียนใหความสนใจกับกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น มีความกระฉับกระเฉงมากขึ้น ใชเวลาทํากิจกรรมนอยลง และไมมีการพูดคุยเรื่องอ่ืนนอกจากเนื้อหาที่ไดรับมอบหมาย ไมมีการนําเอกสารการสอนมาเปดดูขณะตรวจประเมินผูปวย ซึ่งชี้ใหเห็นวาผูเรียนมีการเตรียมความพรอมสําหรับการทํากิจกรรมมากอนลวงหนา แผนโปรงใสที่นํามาเสนอมีการนําเสนอเปนรูปภาพ และแผนภูมิมากขึ้นกวาครั้งกอนๆ เปนตน

2.3.5 ขั้นพัฒนาการนาํไปใชผูสอนไดเสนอกรณีตัวอยางผูปวยใหมตามใบงานที่ 2 แผนการสอนที่ 4 ซึ่งเปน

กรณีศึกษาผูปวย โดยใหผูเรียนนําไปคิดเปนแบบฝกหัด สามารถปรึกษาหารือกันได และสามารถเปดตํารา และคนควาในหองสมุด โดยแนะนําวาคําตอบของปญหาผูปวยที่ใหทํานั้นไมมีถูกไมมีผิด ผูเรียนทุกคนควรคิดวิเคราะหและหาทางแกปญหาท่ีสมเหตุสมผล โดยใหแสดงเหตุผลประกอบ หากผูเรียนสงสัยสามารถเปดดูคําเฉลยบน web page ท่ีผูสอนไดสรุปไวให หรือหากสงสัยสามารถ e-mail สอบถามผูสอนได ซึ่งก็มีผูเรียนจํานวนหนึ่งสงคําตอบที่เปนจดหมายอิเล็กทรอนิกส และซักถามประเด็นปญหาที่ตนสงสัย และหลายคนไดพิมพคําเฉลยที่ไดเฉลยไวมาสอบถามความเขาใจกับผูสอนดวย

Page 15: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

114

จากการสงัเกตพฤตกิรรมการสอนของผูชวยสอนจาํนวน 4 ทาน เก่ียวกบัประเดน็การจดักิจกรรมการเรยีนการสอน พบวาผูสอนมกีารเตรยีมการสอนเปนอยางด ีมีกิจกรรม และใบงานทีเ่ปนปญหาผูปวยท่ีนาสนใจทําใหผูเรยีนสนใจ มีกิจกรรมทีทํ่าใหผูเรยีนกระฉบักระเฉง ตืน่ตาตืน่ใจตอการทีต่นเองจะตองเปนผูออกไปนาํเสนอผลงานของกลุมหนาชัน้เรยีน การเรยีนการสอนคอนขางผอนคลาย มีการพูดคยุหยอกลอผูท่ีนาํเสนอมขีอเสนอแนะวาผูสอนควรกระตุนและเราความสนใจดวยคาํพูดและชีน้าํถึงกระบวนการคดิใหมากกวานี้

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนาสนใจ ชวงเวลาของกิจกรรมไตรตรองรายบุคคลในแผนการสอนเหมาะสมแลว และชวงเวลาของกิจกรรมไตรตรองระดับกลุมนอยเกินไป และเวลาที่ใหกับผูเรียนในการประเมินผูปวยเห็นวาควรเพิ่มขึ้นอีก นอกจากนั้น ในชวงกิจกรรมระดับกลุมเหมาะสม ผูเรียนคอนขางผอนคลาย มีการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น มีความหลากหลายมากขึ้นกวาครั้งกอนๆมาก

2.3.6 การประเมินผลหลังจากที่จบเนื้อหาในแผนการสอนที่ 3 และ 4 แลว ผูวิจัยไดทําการทดสอบยอย

หลังเรียนสําหรับวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซึ่งเปนขอสอบอัตนัย จํานวน 2 ขอ คะแนนเต็ม 20 คะแนน กอนทําการทดสอบยอย ผูสอนไดมีขอตกลงกับผูเรียนวา ไมอนุญาตใหพูดคุย หรือปรึกษาหารือกัน และไมอนุญาตใหเปดเอกสารประกอบการสอนหรือตําราใดๆ ทุกคนจะตองทําดวยความสามารถของตนเอง ผลการทดสอบยอยพบวาคะแนนเฉลีย่และสวนเบีย่งเบนมาตรฐานมคีาเทากับ 12.50 และ 1.53 ตามลาํดบั เทียบเปนรอยละได 62.50 ซึง่สงูกวาเกณฑของรายวชิาซึ่งสูงกวาเกณฑของรายวิชา

2.3.7 การสะทอนผลกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณผูชวยสอนไดแจกแบบประเมินพฤติกรรมกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณดวย

ตนเอง และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนและผูสอนไดประเมินพฤติกรรมของผูเรียนขณะทํากิจกรรมการเรียนการสอนใหกับผูเรียนทุกคน (วงจรที่ 1 แจกใหกับผูเรียนบางคนแบบสุม) เพ่ือประเมินพฤติกรรมดานกระบวนการคิดของตนเอง และประเมินพฤติกรรมระหวางการทํากิจกรรมการเรียนการสอน

จากการประชมุระหวางผูวจิยัและผูชวยสอน พบวาในวงจรที ่2 ผูเรยีนสวนใหญไดใชทักษะการคดิอยางเปนระบบมากขึน้ซึง่สงัเกตไดจาก ผูเรยีนทกุคนมคีวามกระตอืรอืรน และตระหนกัถึงลาํดบัขัน้ของกระบวนการคดิ โดยพยายามเตอืนเพ่ือนๆในกลุมใหคาํนงึถึง ความชดัเจน ถูกตองของประเดน็หรอืขอสรปุวาสิง่ท่ีอภิปรายมขีอมูลและเหตผุลอะไรสนบัสนนุบาง และสามารถแสดงความเชือ่มโยงกับเนือ้หาอยางไร ลกัษณะการสรปุความในแผนโปรงใส (ภาพที ่20) และรายงานทีน่าํเสนอมลีกัษณะเปนรปูและแผนภมิูเชือ่มโยงซึง่กันและกันมากกวาวงจรที ่ 1 การตรวจประเมนิผูปวยบนหอผูปวยกส็ามารถทาํไดอยางกระฉบักระเฉงไมมีผูใดเปดคูมือประกอบการสอนเหมอืนวงจรที ่ 1 ท้ังนีอ้าจเปนเพราะผูเรยีนไดมีการเตรยีมตวัเปนอยางด ี มีการปรกึษาและวางแผนการทาํงานกอนขึน้ไปตรวจผูปวยบนตกึผูปวย ขอสงัเกตอีกประการหนึง่ ระยะเวลาทีใ่ชมีความกระชบัมากขึน้ โดยเฉพาะในชวงทีทํ่ากิจกรรมไตรตรองดวยตนเองใชเวลานอยลง สวนเวลาทีทํ่ากิจกรรมไตรตรองระดบักลุมใชเวลามากขึน้ ท้ังนีอ้าจเปนเพราะผูเรยีนไดเตรยีมตวัอานเนือ้หามาลวงหนามากอน เม่ือผูสอนแจกใบงานเพ่ือทํากิจกรรมการเรยีนการสอนจงึสามารถทาํไดอยางรวดเรว็ และขณะทีเ่ขารวมอภปิรายกบัเพ่ือนๆในกลุม ผูเรยีนแตละคนกมี็ขอมูลและขอสรปุของตนเองมากพอจงึทําใหตองอภิปรายกนัมากทาํใหใชเวลาในระยะนีม้ากกวาในวงจรที ่1ผลการประชมุสรปุวา ระดบักระบวนการคดิอยางมีวจิารณญาณของผูเรยีนทัง้ชัน้อยูในระดบัปานกลางถงึมาก และจากการสงัเกตผูเรยีนกลุมที ่4 มีความกระตอืรอืรน และรบัผดิชอบตอเพ่ือนๆในกลุมมากขึน้กวาวงจรทีห่นึง่

Page 16: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

115

2.3.8 สภาพปญหาที่พบและแนวทางแกไขจากการสังเกตของผูวิจัยและผูชวยวิจัย การสัมภาษณผูเรียน การบันทึกผล

พฤติกรรมและการสะทอนผลการเรียนการสอน โดยใชแผนการสอนตามรูปแบบการสอนที่เนนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณในกลุมนักศึกษากายภาพบําบัดในกระบวนการวิจัยในหองเรียน พบปญหาและแนวทางแกไขปญหา พอสรุปไดดังตอไปนี้

1) ผูเรียนมีความเขาใจถึงวิธีการเรียนแบบใหมดีขึ้นผูเรียนสวนใหญเตรียมตัวอานเนื้อหามากอนทํากิจกรรม ทําใหขณะทํากิจ

กรรมการเรียนการสอนตามใบงานที่แจกใหในชั้นเรียนเปนไปอยางเรียบรอย มีการเตรียมนําตําราและเอกสารอ่ืนๆที่เก่ียวของเขามาอานประกอบขณะทํากิจกรรมการเรียนการสอน แตก็ยังมีผูเรียนสวนหนึ่งยังไมเขาใจในประเด็นคําถามในใบงาน ซึ่งผูสอนจําเปนตองอธิบายเพิ่มเติม

แนวทางแกไข: ผูสอนแนะนําขั้นตอนการเรียนการสอนและอธิบายขอประเด็นคําถามใหเขาใจกอนที่จะเริ่มทํากิจกรรมการเรียนการสอน และกระตุนใหผูเรียนตระหนักและเห็นความสําคัญดานการเรียนรูดวยตนเอง

ภาพที่ 20 แสดงเนื้อหาของผูเรียนกลุมหนึ่งท่ีไดนําเสนอหนาชั้นเรียน ในการสอนวงจรที่ 2

Page 17: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

116

2) ผูเรียนใชเวลาในการทํากิจกรรมมากเกินกําหนดผูเรียนสวนใหญยังคงใชเวลาในการทํากิจกรรมการเรียนการสอนมากเกิน

เวลาที่กําหนด โดยเฉพาะขณะตรวจประเมินผูปวยบนตึกผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทรแนวทางแกไข: ปรบัเวลาและกจิกรรมใหเหมาะสม แนะนาํลาํดบัขัน้ตอนของ

การเรยีนใหกับผูเรยีน และแนะนาํใหผูเรยีนเตรยีมอานและทําความเขาใจกับเนือ้หาทีจ่ะเรยีนในบทเรยีนมาลวงหนา

ภาพที่ 21 แสดงผลบันทึกเหตุการณระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของผูชวยวิจัยทานหนึ่งในการสอนวงจรที่ 2

ภาพที่ 22 แสดงผลสะทอนความคิดเห็นของผูเรียนตอการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณรายหนึ่ง ในการสอนวงจรที่ 2

Page 18: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

117

ภาพที่ 23 แสดงผลบันทึกการสัมภาษณผูเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูของผูชวยวิจัยทานหนึ่ง

ภาพที่ 24 แสดงผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางเรียนของผูเรียนรายหนึ่ง หลังจบการเรียนการสอนวงจรที่ 2

Page 19: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

118

2.4 ผลการสะทอนการปฏิบัติในวงจรที่ 3การปฏิบัติการวิจัยในวงจรที่ 3 ประกอบดวยแผนการสอนที่ 5 และ 6 เรื่องกายภาพบําบัด

บัดในผูปวยภาวะบาดเจ็บ ซึ่งเปนเนื้อหาขอความรูและทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับกายภาพบําบัดในผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บ เชน ลักษณะสําคัญของผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะที่กระดูกสันหลังและทรวงอก การประยุกตใช ขอบงขี้ ขอควรระวังของการทํากายภาพบําบัดในภาวะดังกลาว ในแตละแผนการสอนใชเวลา 3 ชั่วโมง รายละเอียดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละขั้นตอนมีดังตอไปนี้

2.4.1 ขั้นนําผูสอนทบทวนความรูเดิมของผูเรียน โดยเริ่มจากแนะนําวา “ทุกคนคงไดเคยให

การรักษาผูปวยดวยวิธีการทางกายภาพบําบัดทรวงอกมาแลว (เนื่องจากผูเรียนทุกคนกําลังฝกปฏิบัติงานทางคลินิกอยู) ใครบางท่ีมีประสบการณแปลกๆ ในการรักษาทางกายภาพบําบัดทรวงอกใหกับผูปวยบาง ลองเลาใหเพ่ือนฟงบางวา ลักษณะสําคัญของผูปวยที่มีปญหาทางดานทรวงอกไดแกอะไรบาง” ซึ่งมีผูเรียนหลายคนพยายามตอบ และใหขอคิดเห็นตางๆ เก่ียวกับประสบการณการรักษาทางกายภาพบําบัดในทรวงอกในกรณีท่ีตนเองมีประสบการณ เชน การเคาะปอด การดูดเสมหะ จากนั้นผูสอนไดถามคําถามวา “มีใครพอจะบอกไดหรือไมวา การทํากายภาพบําบัดในผูปวยภาวะที่บาดเจ็บจะมีความแตกตางจากผูปวยที่มีปญหาทางดานทรวงอกปกติอยางไร” ผูเรียนหลายคนเริ่มเงียบ จากการสังเกตหลายคนเริ่มคิด และพยายามตอบวา ผูปวยที่อยูภาวะที่ไดรับบาดเจ็บมักมีปญหาทางดานสัญญาณชีพตางๆ ยังไมเปนปกติ หลายคนยังหมดสติ จําเปนตองใสทอชวยหายใจและตองใชเครื่องชวยหายใจ ในบางรายที่มีปญหาบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังสวนตนอาจจําเปนตองถวงดึงกะโหลกศีรษะ เปนตน ผูสอนพยักหนาตอบรับ สนับสนุนความคิดของผูเรียน จากนั้นผูสอนไดแจงวัตถุประสงคของการเรียนวา จะเรียนเรื่องกายภาพบําบัดในภาวะบาดเจ็บ ผลแทรกซอนที่เกิดขึ้นภายหลังการบาดเจ็บ วิธีการทางกายภาพบําบัดในผูปวยภาวะการบาดเจ็บ ขอบงชี้และเทคนิคสําคัญ ตลอดจนขอควรระวังในการทํากายภาพบําบัดในผูปวยภาวะการบาดเจ็บ ผูเรียนใหความสนใจ และตั้งใจฟงในสิ่งท่ีผูสอนกําลังพูด ผูสอนไดแจงคะแนนความกาวหนาของชั่วโมงที่ผานมา

2.4.2 ขั้นสอน1) กิจกรรมไตรตรองรายบุคคล

กิจกรรมไตรตรองรายบุคคลมีเปาหมายและวัตถุประสงคเพ่ือใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดดวยตนเอง ในการวิเคราะหปญหาผูปวย ประมวลขอมูลท่ีไดจากการซักประวัติและผลการบันทึกจากการตรวจรางกายผูปวย ตั้งสมมติฐานและวางแผนใหการรักษาทางกายภาพบําบัดกับผูปวย ประเมินผลการรักษาผูปวยตามที่ไดวางแผนไว

การจัดกิจกรรมนั้นเริ่มโดยผูชวยสอนไดแจกใบงาน ซึ่งเปนขอมูลดานประวัติการบาดเจ็บและผลการตรวจรางกายของกรณีผูปวยที่จะเรียน ใหกับผูเรียนทุกคน จากนั้นใหผูเรียนอานทําความเขาใจกับคําชี้แจงในใบงาน และใหผูเรียนคิดพิจารณาประเด็นปญหาในใบงานดวยตนเองอยางอิสระตามลําพังหามมิใหปรึกษาหารือกัน โดยผูสอนจะพยายามกระตุนใหผูเรียนคิดดวยตนเอง ตามกระบวนการและองคประกอบของกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ ใหผูเรียนตระหนักถึงขอมูลหลักฐานที่มีอยูและการเชื่อมโยงประเด็นที่เก่ียวของ การตั้งสมมติฐานที่สมเหตุสมผลประกอบกับการวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัดและการประเมินผลกอนและหลังการรักษา กําหนดเวลาในการทํากิจกรรม 25 นาที

จากการสังเกตผูเรียนจะไมมีใครถามซึ่งกันและกันตางคนตางทํางานที่ไดรับมอบหมาย บรรยากาศคอนขางเงียบ ผูชวยสอน (จํานวน 4 ทาน) นั่งสังเกตกิจกรรมการเรียนการสอน สวนผูสอนจะพยายามกระตุนใหผูเรียนไดคิด และทําตามขั้นตอนของกระบวนการคิด

Page 20: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

119

ขอสังเกต ในกิจกรรมไตรตรองรายบุคคลในวงจรนี้ ผูเรียนไดทํากิจกรรมอยางตั้งใจ สังเกตจากผูเรียนทุกคนพยายามกมหนากมตาอานและเขียน ใบงานที่เขียนก็ไดใจความกระทัดรัด มีการเขียนเปนภาพและแผนภูมิโดยยอ พฤติกรรมและขอมูลดังกลาวสามารถบงชี้ถึงผูเรียนไดใชกระบวนการคิดอยางเปนระบบ การพิจารณาประเด็นคําถาม การวิเคราะหประเด็น การตีความ และสรุปความเปนขอคิดเห็นของตนเอง

2) กิจกรรมไตรตรองระดับกลุมกิจกรรมไตรตรองระดบักลุมในขัน้นีมี้เปาหมาย เพ่ือใหผูเรยีนไดนาํขอสรปุ

ในประเดน็ปญหากรณีผูปวยซึง่ตนเองไดวเิคราะห สรปุ และวางแผนการรกัษาไว มาแลกเปล่ียนและอภปิรายรวมกับเพ่ือนๆในกลุมยอย อภิปรายและหาขอสรปุเปนความคดิเหน็ของกลุมและนาํเสนอตอกลุมใหญตอไป

การจัดกิจกรรมเริ่มโดยใหผูเรียนไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับเพ่ือนๆสมาชิกในกลุม โดยใหสมาชิกไดอานสิ่งท่ีตนไดคิดใหเพ่ือนสมาชิกฟง ขณะที่สมาชิกในกลุมที่เหลือตั้งใจฟง พรอมทั้งจดบันทึกประเด็นที่สําคัญ เพ่ือเปรียบเทียบในสิ่งท่ีตนเองคิด รวมกันอภิปรายความเหมือน ความตาง และกระบวนการคิด ชวยกันสรุปแนวคิด และสงตัวแทนนําเสนอขอสรุปในกลุมใหญตอไป กําหนดเวลาในการทํากิจกรรม 30 นาที

จากการสังเกต ผูเรียนทุกคนมีสวนรวมในการถกแถลงกันเปนปกติเหมือนที่ผานมา ซึ่งมีสมาชิกในกลุมบางคนไมพูดแตก็สนใจฟงเพ่ือนในกลุมพูดและจดบันทึก บรรยากาศโดยท่ัวไป ผูเรียนใหความสนใจปรึกษาหารือกันดีมาก จนกระท่ังหมดเวลา เวลาที่ใชเหมาะสมกับกิจกรรม หลังจากนั้นผูสอนไดประกาศลําดับที่ของผูท่ีจะตองนําเสนอ (เปนหมายเลขสมาชิกลําดับที่ 1 ของทุกกลุม) แลวใหเวลาเตรียมตัวอีกเล็กนอย ผูชวยสอนแจกแผนโปรงใสเพ่ือใหเขียนผลสรุปเสนอหนาชั้น กลุมละ 1 แผน (หามเกิน 1 แผน) และกําหนดเวลานําเสนอกลุมละ 5 นาที ซึ่งจะมีการจับเวลาและใหคะแนนการนําเสนอดวย จากนั้นผูสอนจะใหผูเรียนออกมาจับสลากเพ่ือจัดลําดับกอนหลังในการนําเสนอ ซึ่งทําใหผูเรียนในกลุมที่เสนอกอนตื่นตัว บรรยากาศสนุกสนานและมีความรูสึกถึงการแขงขันระหวางกลุม มีการติวและแนะนําเทคนิคการนําเสนอใหกับตัวแทนซึ่งออกมานําเสนอหนาชั้น เหมือนแผนการสอนที่ผานมา

ขอสังเกต จากการสังเกตการทํากิจกรรมกลุมในแผนการเรียนนี้ ผูเรียนบางคนไมคอยกระฉับกระเฉงเทาท่ีควร จึงไดสอบถามพบวา ผูเรียนกลุมดังกลาวมีความเหนื่อยออน เนื่องจากเปนสัปดาหสุดทายของการเรียนการสอน อาจารยหลายทานที่สอนไดนัดสอนเพิ่มเติมเนื่องจากสอนไมทัน ทําใหผูเรียนตองเรียนวิชาตางๆหลายคาบติดตอกันมาตลอด จึงทําใหรูสึกเหนื่อย อยางไรก็ตามขณะเขากลุมยอยผูเรียนสวนใหญก็ยังผลัดกันอภิปรายและแสดงขอมูลหลักฐานประกอบกับประเด็นและขอสรุปไดเปนอยางดี

3) การเสนอผลและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นการเสนอผลและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นตอกลุมใหญ มีเปาหมายเพื่อใหผู

เรียนไดนําเสนอประเด็นขอสรุปของกลุมตอท่ีประชุมผูเรียนทั้งชั้น ฝกการนําอภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอมูลของกลุม ฝกการตั้งประเด็นอยางเจาะลึก การอภิปรายโตตอบในเชิงสนับสนุนและหักลางโดยเหตุผลและขอมูลสนับสนุน เพ่ือสรางความแข็งแกรงในความคิดและม่ันใจในกระบวนการคิดที่สมเหตุสมผล

ผูสอนกําหนดใหผูเรียนแตละกลุมสงตัวแทนลําดับที่ 1 ของกลุมออกมานําเสนอผลสรุปที่ไดรวมกันทํา ตามลําดับกอนหลังท่ีไดจับสลากได โดยใหเวลานําเสนอกลุมละ 5 นาที ผูชวยสอนเปนผูจับเวลา และใหคะแนนการนําเสนอ โดยจะรวมเปนคะแนนของกลุม ตัวแทนทุกคนตางก็ออกมานําเสนอผลสรุปของกลุม ซึ่งผูเรียนทุกคนในชั้นเรียนตางก็ใหความสนใจในสิ่งท่ีเพ่ือนๆที่เปนตัวแทนของกลุมตางๆนําเสนออยางตั้งใจ ทุกกลุมก็สามารถนําเสนอดวยลีลาแตกตางกัน นาสนใจและสนุกสนานมาก ซึ่งประเด็น

Page 21: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

120

และขอสรุปที่ไดตรงตามเนื้อหาที่ตองการใหเกิดการเรียนรู ผูสอนไดชวยชี้ประเด็นที่สําคัญ และเสริมเนื้อหาท่ีสําคัญแตผูเรียนไมไดกลาวถึง หรือกลาวไมชัดเจน

ขอสงัเกต ผูเรยีนสวนใหญเริม่มกีารซกัถามเพ่ือน และมีการทกัทวงเม่ือมีการนาํเสนอไมตรงประเดน็ หรอืกรณีท่ีผูนาํเสนอใชเวลาเกินก็จะตบมอืเพ่ือเตอืน เปนตน บรรยากาศคอนขางสนกุสนาน และผูเรยีนทกุคนจะตัง้ใจฟง และเอาใจเพ่ือนทีเ่ปนตวัแทนมาก จากการสัมภาษณพอสรุปไดวาผูเรียนสวนใหญมีความคิดเห็นวาการเรียนการสอนแบบใหมท่ีผานมาทําใหสามารถพัฒนากระบวนการคิด การมองปญหา การวเิคราะหปญหา สรปุความ และการประเมนิผลไดเปนระบบมากขึน้ ทําใหมองเหน็ภาพวาในชวีติจรงิของการทํางานทางดานกายภาพบําบัดวา เม่ือเผชิญกับปญหาผูปวยที่ไดรับจะตองมีการตั้งประเด็นปญหา วเิคราะหปญหา หาขอมูลจากการตรวจประเมนิผูปวย ตคีวาม ตัง้สมมตฐิาน สรปุประเดน็ วางแผนการรกัษา และประเมนิผล อยางเปนระบบดวยตนเองกอน และควรมกีารตรวจสอบจากเพือ่นในกลุม ใจกวางยอมรบัความคดิเหน็ผูอ่ืนทีส่มเหตสุมผลในมมุมองทีต่างออกไป กลาเผชญิและตดัสนิใจตอประเดน็เมือ่มีขอมูลอยางเพยีงพอ และยอมรบัการเปลีย่นแปลงเมือ่มีหลกัฐานและเหตผุลทีม่ากกวาและเหมาะสมกวา ตระหนกัในความมเีหตผุลมากกวาความคดิเหน็ของตนเองหรอืของกลุม ซึง่เปนทกัษะพ้ืนฐานหนึง่ของบุคคลทีมี่กระบวนการคดิอยางมวีจิารณญาณ ผลจากการประชมุระหวางผูวจิยัและผูชวยสอน มีความคดิเหน็วาผูเรยีนมกีารพัฒนากระบวนการคดิอยางมวีจิารณญาณอยูในระดบัทีน่าพอใจ โดยเฉพาะผูเรยีนกลุมที ่ 4 ซึง่มีการพัฒนาทางดานกระบวนการคดิอยางเปนระบบอยางเหน็ไดชดั ในระยะเริม่ตนผูเรยีนซึง่เปนสมาชกิในกลุม มักจะไมใหความสนใจกบักิจกรรมเทาท่ีควร การอภิปรายในกลุมยอยจะมผีูนาํอภิปรายเพยีง 1-2 คน นอกนัน้จะนัง่ฟงและจดตามโดยไมมีสวนรวมในการสนทนา แตหลงัไดทํากิจกรรมการเรยีนการสอน 3-4 แผนการสอน มีการเปลีย่นแปลงในการพฒันาขึน้ สงัเกตจากการทาํกิจกรรมภายในกลุมจะผลดักันอภิปรายโตตอบกนัและชีป้ระเดน็ไดอยางสมเหตสุมผล พรอมทัง้สามารถยกขอมูลท่ีเปนหลกัฐานสนบัสนนุสิง่ท่ีพูดไดเปนอยางด ี นอกจากนัน้ แผนโปรงใสและขอมูลท่ีนาํอภิปรายกลุมใหญก็มีการพัฒนาในทางที่สามารถสรุปประเด็นไดชัดเจน นําเสนอเปนภาพแผนภูมิมากกวาท่ีจะเปนตัวอักษรขนาดเล็ก (เนือ่งจากเขยีนไมพอ) ดงัเชนในแผนการเรยีนการสอนที ่ 1-2 ซึง่พฤตกิรรมของผูเรยีนตางๆดงัไดกลาวมาแลวสามารถบงชีถึ้งการพัฒนาทางดานกระบวนการคดิอยางมวีจิารณญาณทีเ่พ่ิมมากขึน้

2.4.3 ขั้นสรุปผูสอนไดสรุป เนื้อหาที่สําคัญของการเรียน และเสริมในประเด็นที่ผูเรียนนําเสนอไม

ชัดเจน หรือเขาใจผิด และเปดโอกาสใหผูเรียนซักถามประเด็นที่ยังสงสัย แตผูเรียนสวนใหญยังคงกมหนากมตาจดในสิ่งท่ีผูสอนสรุป โดยไมมีคําถาม ผูสอนใชเวลาสรุปประมาณ 5 นาที

2.4.4 ขั้นพัฒนาทักษะผูสอนไดนําเสนอรายชื่อผูปวย เลขที่เตียง ตึกผูปวย โดยไมมีการวินิจฉัยโรคหรือไม

มีการใหขอมูลใดๆเกี่ยวกับผูปวย เพ่ือตองการใหผูเรียนตรวจวินิจฉัยและหาปญหาผูปวยดวยตนเอง โดยกําหนดใหผูปวย 1 คน ตอผูเรียน 3 คน ดังนั้น กลุมยอย 1 กลุม (6 คน) จะไดผูปวย 2 คน ผูปวยสวนใหญจะมีปญหาดานการบาดเจ็บที่ศีรษะกระดูกสันหลังและทรวงอกตามเนื้อหาท่ีเรียน ซึ่งผูเรียนแตละคนจะตองทําการตรวจประเมินและวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัดดวยตนเอง หลังจากผูเรียนไดทราบรายชื่อผูปวยของตนแลว ผูสอนไดแจกใบงานใหผูเรียนตามกลุมยอยที่ไดแบงไว เพ่ือใหผูเรียนไดทํากิจกรรมการเรียนการสอนตามคําชี้แจงและประเด็นคําถามในใบงาน โดยใหผูเรียนแตละคนพิจารณาคําถามและตรวจรางกายผูปวยดวยตนเองโดยไมปรึกษาหารือกัน จากนั้นจึงนําขอมูลปรึกษากันในกลุมยอย และสรุปเปนขอสรุปของกลุมและนําเสนอกลุมใหญในชั้นเรียน ผูสอนใหเวลาในการทํากิจกรรม 1 ชั่วโมง 20 นาที

Page 22: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

121

1) ผูเรียนทาํการตรวจประเมินผูปวยดวยตนเองจากการสังเกตผูเรียนทุกคน ตางใหความสนใจและตั้งใจในการซักประวัติ

และตรวจรางกายเปนอยางดี ในการคนหาปญหาผูปวยตามที่ไดรับมอบหมาย ไมมีการปรึกษาหารือเหมือนแผนการสอนกอนๆ จากนั้นแตละคนจะพยายามสรุปปญหาผูปวย วินิจฉัย และวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัด

2) กิจกรรมไตรตรองระดับกลุมหลังจากที่ผูเรียนไดตรวจประเมินผูปวยและวางแผนการรักษาตามใบงาน

ท่ีใหแลว ผูสอนไดเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนขอมูลการตรวจรางกายผูปวยที่ทุกคนไดรับ แลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน และสรุปเปนขอสรุปของกลุมเพ่ือสงตัวแทนนําเสนอ เพ่ือสงตัวแทนนําเสนอขอมูลผูปวย ผลการซักประวัติ ตรวจรางกาย และผลการวางแผนการรักษาทางกายภาพบําบัด ใหกับผูปวย 1 ราย โดยคราวนี้ผูสอนเปดโอกาสใหในแตละกลุมคัดเลือกตัวแทนขึ้นนําเสนอเอง

ภาพที่ 25 แสดงรูปแผนโปรงใสซึ่งสรุปเนื้อหาที่ผูเรียนกลุมหนึ่งไดนําเสนอในระหวางกิจกรรมการเรียนการสอนในวงจรที่ 3

Page 23: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

122

3) การนาํเสนอผลและแลกเปลี่ยนตอกลุมใหญตัวแทนผูเรียนไดนําเสนอกรณีผูปวยที่ตนเองมีประสบการณ แลวใหผู

เรียนรวมกันพิจารณาถึงขอบงชี้และขอควรระวังในการทํากายภาพบําบัดหลังจากนั้นผูสอนไดสรุปประเด็นปญหาระหวางการสังเกตผูเรียนขณะฝกปฏิบัติบน

หอผูปวย และสรุปประเด็นสําคัญที่ยังขาด หรือพูดไดไมชัดเพ่ิมเติม และเปดโอกาสใหผูเรียนซักถามปญหา2.4.5 ขั้นพัฒนาการนาํไปใช

ผูสอนไดเสนอกรณีตัวอยางผูปวยใหมในใบงานที่ 2 แผนการสอนที่ 6 ซึ่งเปนกรณีศึกษาผูปวย โดยใหผูเรียนนําไปคิดเปนแบบฝกหัด สามารถปรึกษาหารือกันได สามารถเปดตํารา และคนควาในหองสมุด โดยแนะนําวาคําตอบของปญหาผูปวยที่ใหไมมีถูกไมมีผิด ทุกคนควรคิดวิเคราะหและหาทางแกปญหาที่สมเหตุสมผล โดยใหแสดงทั้งเหตุและองคประกอบ หากผูเรียนสงสัยสามารถเปดดูคําเฉลยบน web page ท่ีผูสอนที่ทําสรุปไวให หรือหากสงสัยสามารถ e-mail สอบถามผูสอนได

จากการสังเกตพฤติกรรมผูเรียน ของผูชวยสอนทั้ง 4 ทาน เห็นสอดคลองกันวาผูเรียนสวนหนึ่งมีความอิดโรยและเหนื่อยตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในครั้งนี้ จากการที่ผูชวยสอนไดมีโอกาสพูดคุยกับผูเรียนกลุมดังกลาว พบวาผูเรียนกลุมดังกลาวมีการออนลาเนื่องจากอาจารยหลายทานนัดสอนเพ่ิมนอกเหนือจากการเรียนการสอนตามตารางสอน และสัปดาหหนาเปนการสอบปลายภาคการศึกษา ผูเรียนสวนใหญกําลังเตรียมตัวสอบ นอกจากนั้น รูปแบบการสอนและขั้นตอนกิจกรรมการสอนเหมือนเดิมจึงทําใหผูเรียนไมตื่นเตนเทาท่ีควร

ผูเรยีนไดใหขอเสนอแนะวา ลกัษณะการจดัรปูแบบการสอนด ี มีกิจกรรมการเรยีนการสอนทีทํ่าใหเกิดการเรยีนรูตามเนือ้หาโดยไมตองบรรยายทาํใหไมงวง สามารถกระตุนใหผูเรยีนไดฝกการใชความคดิอยางเปนระบบ แตกิจกรรมควรมรีปูแบบหลากหลายไมนาเบ่ือ เพราะรปูแบบปจจบัุนมลีาํดบัขัน้ตอนเหมอืนเดมิมีความจาํเจ สวนชวงเวลาในการจดักิจกรรมเหมาะสมแลว หากเปนไปไดควรกระชบัมากกวานี้

2.4.6 การประเมินผลหลังจากที่จบเนื้อหาในแผนการสอนแลว ผูวิจัยไดทําการทดสอบยอยหลังเรียน

สํารับวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซึ่งเปนขอสอบอัตนัย จํานวน 1 ขอ คะแนนเต็ม 10 คะแนน กอนทําการทดสอบยอย ผูสอนไดมีขอตกลงกับผูเรียนวา ไมอนุญาตใหพูดคุย หรือปรึกษาหารือกัน และไมอนุญาตใหเปดเอกสารประกอบการสอนหรือตําราใดๆ ทุกคนจะตองทําดวยความสามารถของตนเอง ผลการทดสอบยอยนํามาวิเคราะหหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการทดสอบยอยพบวาคะแนนเฉลีย่และสวนเบีย่งเบนมาตรฐานมคีาเทากับ 7.725 และ 0.85 ตามลาํดบั เทียบเปนรอยละได 77.25 ซึง่สงูกวาเกณฑของรายวชิา

2.4.7 การสะทอนผลกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณผูชวยสอนไดแจกแบบประเมินพฤติกรรมกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณดวย

ตนเองฉบับปรับปรุงใหม ซึ่งพัฒนาจากฉบับเดิม และแบบประเมินพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอน ใหผูเรียนและผูสอนไดประเมินพฤติกรรมของผูเรียนขณะทํากิจกรรมการเรียนการสอนใหกับผูเรียนทุกคน

พบวากระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณของผูเรียนมีการพัฒนาขึ้นจากวงจรที่สองมาก สงัเกตไดจากการอภปิรายในกลุมยอย ผูเรยีนจะใชคาํถาม ถามผูอภิปรายวา ประเดน็ทีกํ่าลงัพิจารณาคอือะไร (บงชีถึ้งความตระหนกัในดานความชดัเจนของประเดน็/ปญหา) สามารถแสดงเหตผุลทีก่ลาวมาไดหรอืไม เหตผุลดงักลาวไดมากจากการตรวจรางกายหรอืจากขอมูลในแฟมประวตั ิ(บงชีถึ้งความตระหนกัในดานความชดัเจนของขอมูลและแหลงขอมูลท่ีนาํมาใชเปนเหตุผลการอางอิง) นอกจากนั้น ผูเรียนสวนใหญมีความชัดเจนตอประเดน็ที่อภิปรายและพยายามซกัถามปญหาเพ่ือนในระหวางท่ีมีการนาํเสนอผลในกลุมใหญ หลายคนไดตัง้ประเดน็คาํถามที่

Page 24: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

123

นาสนใจและมคีวามแปลกใหม ซึง่บงชีถึ้งความคดิทีมี่ความหลากหลายกวางและลกึซึง้มากขึน้ แผนโปรงใสและผลงานทีน่าํเสนอก็มีความกระชบัและไดใจความ สวนใหญแสดงเปนรปูภาพมากกวาเปนตวัอักษรซึง่มีการพัฒนาจากแผนโปรงใสในวงจรที ่1 และ 2 มาก โดยเฉพาะการแสดงความคดิเหน็ในกลุมยอย ผูเรยีนหลายคนยอมรบัวาไดฟงความคิดเห็นจากเพ่ือนในแงมุมที่หลายหลาย ยอมรบัฟงความคดิเหน็ของผูอ่ืนทีมี่มุมมองตางจากตนเองมากขึน้ (พัฒนาเปนคนใจกวาง) จากการประชมุปรกึษากันระหวางกลุมผูสอนและผูรวมสอนเหน็วา ผูเรยีนสามารถพฒันากระบวนการคดิอยางมีวจิารณญาณอยูในระดบัมากอยางนาพอใจ

2.4.8 สภาพปญหาที่พบและแนวทางแกไขขอมูลจากแบบบันทึกเหตุการณการเรียนการสอน แบบสังเกตพฤติกรรมการจัด

การเรียนการสอน แบบบันทึกความคิดเห็นของผูเรียน และจากแบบสัมภาษณ พบวา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความเหมาะสมอยูในระดับดี แตผูเรียนคอนขางเฉื่อยกวาชั่วโมงกอนๆ จากการสัมภาษณพบวา เปนสัปดาหสุดทายที่มีการเรียนการสอน และคณาจารยหลายทานไดนัดสอนเพิ่มเติม ทําใหตองเรียนหลายวิชาติดตอกัน จึงเกิดการเหนื่อยลา และลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอนซ้ําแบบเดิมผูเรียนเริ่มคุนเคยทําใหไมตื่นเตนเทาท่ีควร แนวทางแกไข ควรกําหนดชวงเวลาสําหรับการเรียนการสอนใหเหมาะสม และปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีรูปแบบใหมๆ เปลี่ยนวิธีการนําเสนอของผูเรียน หรืออาจใหผูเรียนมีสวนเขามารวมกันจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ภาพที่ 26 แสดงการสะทอนผลของผูวิจัยรวมตอการจัดการเรียนการสอน ในการสอนวงจรที่ 3

Page 25: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

124

ภาพที่ 27 แสดงการสะทอนผลของผูเรยีนรายหนึง่ตอการจดัการเรยีนการสอน ในการสอนวงจรที ่3

ภาพที่ 28 แสดงผลบันทึกเหตุการณระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการสอนวงจรที่ 3

ภาพที่ 29 แสดงผลบันทึกเหตุการณระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการสอนวงจรที่ 3

Page 26: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

125

2.5 ผลการประเมินรูปแบบการสอนหลังจากผูวิจัยดําเนินการสอนครบตามแผนการสอนที่ไดวางแผนไวแลว ผูวิจัยไดประเมินรูป

แบบการสอนโดยใหผูเรียนทุกคนทําแบบทดสอบเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ ซึ่งเปนฉบับเดียวกันกับที่ผูเรียนไดเคยทํากอนดําเนินการเรียนการสอน ซึ่งผลการวิเคราะหขอมูลดังตอไปนี้

2.5.1 กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณจากการวิเคราะหผลคะแนนจากแบบสอบกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณกอน

และหลังการสอนซึ่งมีคะแนนเต็ม 54 คะแนน พบวากอนสอนคะแนนเฉลี่ยกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคา 37.83 และ 4.40 ตามลําดับ หลังการสอนมีคา 40.32 และ 4.14 ตามลําดับ เม่ือทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยดวยการทดสอบคาที (t=-2.638, p=0.005) พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (p<0.05) จากผลการสะทอนและการสัมภาษณผูเรียน พบวาผูเรียนไดมีโอกาสฝกทักษะการคิดในระหวางการเรียนการสอนมากขึ้น เกิดการเรียนรูและสรางองคความรูขึ้นเอง ไดมีโอกาสเปรียบเทียบสิ่งท่ีตนเองคิดกับเพ่ือนๆ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน (ภาพที่ 30)

2.5.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการวิเคราะหขอมูลดานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา 472 352 กายภาพบําบัด

ในภาวะทรวงอก 2 เรื่องกายภาพบําบัดในภาวะบาดเจ็บ โดยใหผูเรียนทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการสอน คะแนนเต็ม 26 คะแนน พบวาคะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานกอนและหลังการสอนมีคาเทากับ 0.69, 21.95 และ 0.89, 2.24 ตามลําดับ คะแนนเฉลี่ยเทียบเปนรอยละมีคา 2.65 และ 84.42 ตามลําดับ พิจารณาคะแนนจากการทําแบบทดสอบยอยเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแตละวงจรพบวา คะแนนเฉลี่ยคิดเปนรอยละมีคา 65.98, 62.50, 77.25 ในวงจรที่ 1, 2, 3 ตามลําดับ ซึ่งสูงกวาเกณฑกําหนดของรายวิชา (รอยละ 60) ดังภาพที่ 31

363738394041

pre-test post-test

pre-testpost-test

ภาพที่ 30 กราฟแสดงคะแนนเฉลีย่กระบวนการคดิอยางมีวจิารณญาณของกลุมตวัอยางกอนและหลงัการสอนซึง่มีความแตกตางกันอยางมีนยัสาํคญัทางสถิติ

X=37.83SD=4.40

X=40.32SD=4.14

t=-2.638P<0.05

กอนสอน หลังสอน

Page 27: 2. ผลการศึกษาระยะท ี่สอง การพัฒนารูปแบบการสอน · 2.1.1 ลักษณะการจ ัดการเร

126

ผลวิเคราะหจํานวนผูเรียนที่ผานเกณฑในแตละวงจรพบวา ในวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 มีจํานวนผูเรียนที่สามารถผานเกณฑของรายวิชา (60 เปอรเซ็นต) รอยละ 90.24 และ 76.19 ตามลําดับ และสามารถผานเกณฑรายวิชาทุกคน (รอยละ 100) ในในวงจรที่ 3 และภายหลังการสอนครบทุกแผนการสอนแลว (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางท่ีผานเกณฑ จําแนกตามระดับความสามารถหลังสิ้นสุดการเรียนการสอนในแตละวงจร และหลังสิ้นสุดการสอนครบทุกแผนการสอน

กลุม วงจรที่ 1 วงจรที่ 2 วงจรที่ 3 ส้ินสุดการสอนจํานวน ผาน % จาํนวน ผาน % จาํนวน ผาน % จาํนวน ผาน %

เกง 10 9 90 10 9 90 10 10 100 10 10 100

ปานกลาง 21 19 90.48 21 15 71.43 21 21 100 21 21 100

ออน 10 9 90 11 9 72.73 9 9 100 10 10 100

รวม 41 37 90.24 42 32 76.19 40 40 100 41 41 100

จากการสังเกต พบวาผูเรียนสามารถนําขอความรูท่ีเรียนมาไปประยุกตใชขณะฝกปฏิบัติงานเปนอยางดี จากการสัมภาษณผูเรียนสามารถเขาใจเนื้อหาไดลึกซึ้งมากขึ้นอยางเปนลําดับจากวงจระที่1, 2 และ3 เนื่องจากไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนสิ่งท่ีตนเองรู/เขาใจกับเพ่ือนในกลุม ซึ่งบางประเด็นตนเองเขาใจคลาดเคลื่อนก็สามารถปรับได นอกจากนั้นยังไดเห็นเพ่ือนนําเสนอหลายรอบ ซึ่งไดเห็นขอมูลหลากหลายมากขึ้น ทําใหการฝกภาคปฏิบัติกับผูปวยจริงก็มีความมั่นใจมากขึ้น กลาคิด กลาทํา และกลาตัดสินใจมากขึ้น

ภาพที่ 31 กราฟแสดงคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิดเปนรอยละของกลุมตัวอยางหลังสิ้นสุดการเรียนการสอนในแตละวงจร และสิ้นสุดการสอนครบทุกแผนการสอน

020406080

100

วงจร 1 วงจร 2 วงจร 3 สิน้สดุการสอน

65.98 62.5077.25 84.42

เกณฑของรายวิชา 60%