38
สภาพและปญหาการเรียนการสอน เรื่อง เพศศึกษาและโรคเอดสของครูสุขศึกษาระดับ มัธยมศึกษาในพื้นที่เขตการศึกษา 3 จังหวัด นนทบุรี

3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

Citation preview

Page 1: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

สภาพและปญหาการเรียนการสอน เรื่อง

เพศศึกษาและโรคเอดสของครูสุขศึกษาระดับ

มัธยมศึกษาในพื้นที่ เขตการศึกษา 3 จังหวัด

นนทบุรี

Page 2: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

สภาพสังคมในปจจุบันเปนสังคมของโลกยุคโลกาภิวฒัน

ซึ่งเปนยุคที่มีวิวัฒนาการเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี

โดยเฉพาะดานการติดตอสื่อสาร ทําใหวัยรุนเกิดการเรียนรู

และการลอกเลียนแบบอยางรวดเร็ว ดังน้ัน คานิยมและ

พฤติกรรมของวัยรุนจึงเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะในเรื่อง

พฤติกรรมทางเพศที่พบวา มีการรบัอารยธรรมทางตะวันตก

อาทิเชน พฤติกรรมการแตงกายตามแฟชั่นตะวันตก การคบ

เพื่อนตางเพศ

Page 3: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

และพฤติกรรมการแสดงออกทางเพศของวัยรุนในที่

สาธารณะ เชน การจับมือถือแขน หรือการกอดจูบกับเพื่อน

ตางเพศ ตลอดจนพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ นอกจากน้ี

การรับรูขาวสารในเรื่องเพศ จากหนังสือลามก ภาพยนตรที่

นําเสนอในเรื่องการมีเพศสัมพันธอยางชัดเจน การใชยา

กระตุนเซ็กส รวมถึงอินเตอรเน็ตที่เสนอความรูเรื่องเพศที่

ไมถูกตอง เปนตน ปจจัยตาง ๆ เหลาน้ีลวนสงผลกระตุนให

วัยรุนมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในดานการมีเพศสัมพันธ

มากขึ้น

Page 4: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ดังน้ัน ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาสภาพปญหาการเรียนการสอนเรื่อง

เพศศึกษาของครูสุขศึกษาอยางรีบดวนในโรงเรียนมัธยมศึกษา เพ่ือให

ทราบถึงสภาพและปญหาการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาและโรคเอดส

ในดานเน้ือหาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การใชสื่อ การวัดและ

ประเมินผลและดานอื่น ๆ ท่ีสงผลตอการเรียนการสอนในโรงเรียน

สังกัดพ้ืนท่ีการศึกษา 3 จังหวัดนนทบุรี เน่ืองจากเปนพ้ืนท่ีท่ีติดตอกับ

กรุงเทพมหานครซึ่งมีผลงานวิจัยท่ีกลุมวัยรุนมีปญหาทางเพศ และ

พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศอยูมากดังกลาวมาแลวขางตน เพ่ือใชเปน

แนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาในโรงเรียน

ระดับมัธยมศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 3 จังหวัดนนทบุรีใหถูกตอง

และผูเรียนสามารถนําความรูไปใชในการดําเนินชีวิตไดอยางมีคุณภาพ

เหมาะสมและปลอดภัยยิ่งขึ้น

Page 5: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

วัตถุประสงคของการวิจัย

เพื่อศึกษาสภาพและปญหาการเรียนการสอนเรื่อง

เพศศึกษาของครูผูสอนวิชาสุขศึกษาระดับมัธยมศึกษาใน

เขตพื้นที่การศึกษา 3 จังหวัดนนทบุรี

Page 6: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ขอบเขตของการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังนี้ ศึกษาเฉพาะสภาพและปญหาการเรียนการสอนเร่ือง

เพศศึกษาและโรคเอดสของครูสุขศึกษาระดับมัธยมศึกษาในเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา 3 จังหวัดนนทบุรีในดานตอไปนี้

1. สภาพท่ัวไปของผูสอนเกี่ยวกับการเรียนการสอนเร่ืองเพศศึกษาและโรค

เอดส

2. ดานการจัดการเรียนการสอนเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส

3. ดานส่ือการสอนเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส

4. ดานการวัดและประเมินผลเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดส

5. ปญหาดานอ่ืน ๆ ท่ีมีผลตอการเรียนการสอนเพศศึกษาและโรคเอดส

Page 7: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ไดทราบถึงสภาพการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาของครูสุข

ศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา 3 จังหวัด

นนทบุรี

2. เปนแนวทางในการนําผลการวิจัยไปใชปรับปรุงและสงเสริม

การเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

3. เปนแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการเรียนรู หลักสูตร การ

จัดเนื้อหาที่เหมาะสมเพ่ือสงเสริมใหนักเรียนมีความรู และตระหนัก

ตอผลของการประพฤติปฏิบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องทางเพศ ให

นําไปสูการมีพฤติกรรมทางเพศที่ถูกตองเหมาะสม และมีคุณภาพ

ชีวิตที่ดี

Page 8: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ตัวแปรที่ใชในการวิจัย

1. ตัวแปรตน ไดแก การจัดการเรียนการสอนตาม

หลักสูตรวชิาสุขศึกษาเรื่องเพศศึกษา หลักสูตร/เน้ือหาเรือ่ง

เพศศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน

การวัดและประเมินผล และการสนับสนุนจากผูบริหาร

โรงเรียน

2. ตัวแปรตาม ไดแก สภาพและปญหาการเรียนการ

สอนเรื่องเพศศึกษาและโรคเอดส

Page 9: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

คําจํากัดความในการวิจัย

• สภาพ

• ปญหาการเรียนการสอน

• ความรูเร่ืองเพศศึกษา

• ครูสุขศึกษา

• โรงเรียนมัธยมศึกษา

Page 10: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

การสรางแบบสอบถาม

1. ศึกษา คนควา รวบรวมความรู

2. ศึกษาหลักสูตร

3. กําหนดขอบขาย เนื้อหา

4. สรางแบบสอบถาม

5. นําแบบสอบถามใหผูทรงคุณวุฒิ

6. นําแบบสอบถามที่ไดจากขอ 6 ไปทดลองใช (Try Out)

7. นําแบบสอบถามที่ไดจากขอ 7 ไปใชกับกลุมตัวอยางประชากร

จริง

Page 11: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

การเก็บรวบรวมขอมูล

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการวิเคราะหสถานภาพทั่วไป

1. กลุมตัวอยางครูผูสอนสุขศึกษาระดับมัธยมศึกษาจํานวน

ทั้งหมด 46 คน เปนเพศชาย 22 คน คิดเปนรอยละ 47.80 และเพศ

หญิง 20 คน คิดเปนรอยละ 43.50 ไมระบุเพศ 4 คน

เมื่อจําแนกตามอายุพบวา สวนใหญอายุ 45-55 ป จํานวน 17 คน

คิดเปนรอยละ 37.00 รองลงมา อายุ 25-34 ป จํานวน 11 คน คิดเปน

รอยละ 23.90 และ อายุ 55 ปข้ึนไป จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ

21.70

Page 12: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

เมื่อจําแนกตามระดับการศึกษา พบวา สวนใหญจบการศึกษาใน

ระดับปริญญาตรี จํานวน 35 คนคิดเปนรอยละ 76.10 และ ปริญญา

โท จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ17.40

เม่ือจําแนกตามวิชาเอก พบวา สวนใหญวิชาเอกของคุณวุฒิ

สูงสุด วิชาเอกพลศึกษา จํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 52.20 และ

วิชาเอกสุขศึกษา จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 19.60 เมื่อจําแนกตาม

วิชาโทของคุณวุฒิสูงสุด พบวา สวนใหญวิชาโทของคุณวุฒิสูงสุด

วิชาโทสุขศึกษา จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 50.00 และวิชาโทพล

ศึกษา จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 4.30

Page 13: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

2. กลุมตัวอยางครูผูสอนสุขศึกษาระดับมัธยมศึกษา

สวนใหญมีหนาที่ความรับผิดชอบสอน และทําหนาที่อ่ืนๆ

จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 56.50 รองลงมา สอนอยาง

เดียว จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 34.80 และบริหารและ

ทําการสอน จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 8.70

Page 14: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ครูสวนใหญไดรับการอบรม จํานวน 39 คน คิดเปนรอย

ละ 84.80 ไมเคยไดรับการอบรม จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ

10.90 หนวยงานที่ไดรับการอบรม สวนใหญเปนหนวยงาน

ของกระทรวงศึกษาธิการ จํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 69.60

และหนวยงานอ่ืนๆ จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 15.20 หัวขอ

ที่เคยไดรับการอบรม สวนใหญเปนการอบรมเรื่องเพศศึกษา

จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 54.30 รองลงมา กิจกรรมการ

สอนเพศศึกษา จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 50.00 และ

เน้ือหาเพศศึกษาตามระดับชั้น จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ

13.00

Page 15: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหสภาพการสอนเรื่องเพศศึกษา

ในโรงเรียนมัธยมศึกษา มีดังตอไปน้ี

1. ครูมีความเห็นวาผูบริหารสถานศึกษาใหการสนับสนุน

เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมทางดานเพศศึกษามากเปนอันดับ 1

ไดแก ใหความรวมมือในการทํากิจกรรม จํานวน 44 คน รอย

ละ 95.70 รองลงมา ไดแก ใหงบประมาณในการจัดกิจกรรม

ตางๆ คิดเปนรอยละ 84.80 และอํานวยความสะดวกในการ

จัดหาวัสดุอุปกรณ จํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 76.10

Page 16: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

2. โรงเรียนมีการสงเสริมใหบุคลากรในโรงเรียนศึกษา

หลักสูตรไปใชดวยวิธีการจัดครูเขาอบรมเกี่ยวกับหลักสูตร

สุขศึกษา จํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ 93.50 รองลงมาศึกษา

ทําความเขาใจหลักสูตรดวยตนเอง จํานวน 40 คน คิดเปนรอย

ละ 87.00 และจัดใหมีการสัมมนา ใชหลักสูตรสุขศึกษาระดับ

โรงเรียน จํานวน 27 คน คิดเปนรอยละ 58.70

Page 17: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

3. จุดมุงหมายในการสอนเพศศึกษาใหเกิดความรูเพื่อ

นําไปใชในชีวิตประจําวัน จํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ

97.80 รองลงมา สอนใหเกิดความเขาใจสามารถนําไป

แกปญหาที่เกิดขึ้นได จํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ 93.50

และสอนใหเกิดทักษะในการปฏิบัติจนเปนสุขนิสัย จํานวน

41 คน คิดเปนรอยละ 89.10

Page 18: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

4. จุดมุงหมายในการสอนที่คิดวานักเรียนจะทําไดยากที่สุด

ไดแก สอนใหเกิดทักษะในการปฏิบัติจนเปนสุขนิสัย (รอยละ

1 9 . 6 0 ) ร อ ง ล ง ม า ส อ น ใ ห เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู เ พ่ื อ นํ า ไ ป ใ ช ใ น

ชีวิตประจําวัน (รอยละ 13.00) และสอนใหเกิดความเขาใจสามารถ

นําไปแกปญหาที่เกิดข้ึนได คิดเปนรอยละ 8.70 แตสอนใหเกิดความ

เชื่อ จนสามารถนําไปปฏิบัติไดมีเพียงรอยละ 4.3

5. การเตรียมการสอนเพศศึกษาดวยวิธีศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับ

เรื่องที่สอน จํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ 93.50 รองลงมา เตรียมส่ือ

และวัสดุกอนทําการสอนทุกครั้ง จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ91.30

และทําบันทึกใหสอดคลองกับแผนการสอน จํานวน 37 คน คิดเปน

รอยละ 80.40

Page 19: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

6. วิธีสงเสริมการสอนเพศศึกษา ไดแก จัดปายนิเทศ

เก่ียวกับเพศศึกษา จํานวน 41 คน คิดเปนรอยละ 89.10

รองลงมา จัดแนะแนวสุขภาพทางเพศใหแกนักเรียน จํานวน

38 คน คิดเปนรอยละ 82.60 และจัดถาม-ตอบ เกี่ยวกับ

สุขภาพทางเพศ จํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 80.40

7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผูสอนใชสอน

เพศศึกษา ในระดับมากที่สุดไดแก การบรรยาย (รอยละ

45.70) รองลงมา การคิดแกปญหา (รอยละ 26.10) การสราง

สถานการณจําลอง (รอยละ 21.70) และการแสดงบทบาท

สมมติ (รอยละ 19.60)

Page 20: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

8. สภาพการสอนเรื่องเพศศึกษาดานการใชสื่อการสอน

พบวาครูใชสื่อการสอนบอยครั้ง จํานวน 28 คน คิดเปนรอย

ละ 60.90 ใชทุกครั้ง หรือใชนานๆ ครั้ง จํานวน 11 คน คิด

เปนรอยละ 23.90 และผูสอนใชสื่อการสอนประเภทรูปภาพ

มากท่ีสุด จํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 80.40 รองลงมา

วิ ดีโอเทป จํานวน 34 คน คิดเปนรอยละ 73.90 ใชของ

ตัวอยาง จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 54.30 และใชกระดาน

ชอลก จํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ 41.30

Page 21: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

9. การจัดเตรียมสื่อการสอนเพศศึกษาดวยวิธีการที่ครู

แตละคนผลิตขึ้นใชเอง และไดรับแจกจากหนวยงานผลิต

สื่อการสอนของสํานักการศึกษาจํานวน 30 คน คิดเปน

รอยละ 65.20 รองลงมาครูและนักเรียนรวมกันผลิต

จํานวน 27 คน คิดเปนรอยละ 58.70 และจัดขึ้นโดยเงิน

งบประมาณของโรงเรียน จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ

50.00

Page 22: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

10. หัวขอและปริมาณการสอนวิชาเพศศึกษา มีการ

ปฏิบัติในระดับมากที่สุด ไดแก วิธีปองกันโรคติดตอทางเพศ

และโรคเอดส จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ 82.60 รองลงมา

ผลเสียของการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร จํานวน 36 คน

คิดเปนรอยละ 78.30 และสาเหตุของการเกิดโรคติดตอทาง

เพศและโรคเอดส และพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูงตอการติด

เชื้อโรคทางเพศ จํานวน 33 คน คิดเปนรอยละ 71.70

Page 23: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

11 . สภาพการสอนเรื่องเพศศึกษา ดานการวัดและ

ประเมินผล โดยครูไดดําเนินการวัดและประเมินผลวิชา

เพศศึกษาจากจุดประสงคการเรียนรู จํานวน 45 คน คิดเปน

รอยละ 97.80 รองลงมา จากขอสอบ จํานวน 44 คน คิดเปน

รอยละ 95.70 จากการสังเกต จํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ

87.00 จากการสัมภาษณ และจาการปฏิบัติ คิดเปนรอยละ

78.30 และ69.60 ตามลําดับ

Page 24: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหปญหาการสอนเร่ืองเพศศึกษาใน

โรงเรียนมัธยมศึกษา

ผลการวิ เคราะหปญหาการสอนเรื่องเพศศึกษาใน

โรงเรียนมัธยมศึกษา มีดังตอไปน้ี

1. ปญหาการสอนทั่วไป เรื่องเพศศึกษา ในระดับมาก

ที่สุด ไดแก สื่อการสอน จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 45.70

รองลงมา กิจกรรมการเรียนการสอน จํานวน 17 คน คิดเปน

รอยละ 37.00 พื้นฐานความรูเรื่องเพศ จํานวน 15 คน คิดเปน

รอยละ 32.60 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ย โดยภาพรวม พบวา มี

ปญหาอยูในระดับนอย ( = 1.17, SD = .56)

Page 25: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

2. ปญหาการสอนเรื่องเพศศึกษา ดานหลักสูตรและ

เน้ือหา ในระดับมากที่สุด ไดแก มีปญหาในดานหลักสูตร

และเ น้ือหาวิชา และไมทราบขอบเขตเน้ือหาในแตละ

ระดับชั้นจึงทําใหเน้ือหาซ้ําซอนกัน จํานวน 3 คน คิดเปนรอย

ละ 6.50 และไมเขาใจวิธีการวิเคราะหจุดประสงคในหลักสูตร

จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 4.30

3. ปญหาการสอนเพศศึกษาดานหลักสูตรและเน้ือหาที่

มีความสัมพันธกันมากที่สุด ไดแก ปญหาดานหลักสูตรและ

เน้ือหากับการที่ไมสามารถปรับเน้ือหาใหเขากับสถานการณ

จริง (r = 0.819)

Page 26: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

4. ปญหาการสอนเร่ืองเพศศึกษา ดานการจัดการเรียนการสอนพบใน

ระดับมากท่ีสุด ไดแก มีเวลาเรียนไมพอในการใชเกมประกอบการสอน และ

ไมสามารถจัดกิจกรรมตามแผนการสอนไดตามกําหนดเนื่องดวยเวลาสอน

ไมเพียงพอ จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 15.20

5. ปญหาการสอนเร่ืองเพศศึกษา ดานการวัดและประเมินผลอยูใน

ระดับมาก ไดแก มีเวลาไมพอท่ีจะทําการวัดดานปฏิบัติ และขาดความรูใน

การวิเคราะหและปรับปรุงขอสอบ มีปญหาในการสังเกตติดตามการปฏิบัติ

เม่ืออยูนอกช้ันเรียน จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 10.90

6. ปญหาการสอนเร่ืองเพศศึกษา ดานการวัดและประเมินผลท่ีมี

ความสัมพันธกันมากท่ีสุดไดแก การขาดความรูในการวิเคราะหและ

ปรับปรุงขอสอบ มีปญหาในการสังเกตติดตามการปฏิบัติเม่ืออยูนอกช้ันเรียน

กับการท่ีไมสามารถวัดและประเมินผลไดครอบคลุมตามจุดประสงค (r =

0.885)

Page 27: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

7. ปญหาการสอนเรื่องเพศศึกษา ดานการใชสื่อการ

สอนพบในระดับมาก ไดแก ขาดงบประมาณในการผลิตสื่อ

จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 17.40 รองลงมา ขาดการ

สนับสนุนชวยเหลือจากโรงเรียนในการหาสื่อประเภทตางๆ

จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 15.20 การใชสื่อการสอนมีอยู

ในระดับมาก ไดแก ขาดงบประมาณในการผลิตสื่อ ขาด

ความรูในการนําวัสดุในทองถิ่นมาผลิตสื่อการสอนได และ

ขาดการสนับสนุนชวยเหลือจากโรงเรียนในการหาสื่อ

ประเภทตาง สําหรับขาดความรูในการใชสื่อใหเหมาะสมกับ

บทเรียนและกิจกรรม มีปญหาอยูในระดับนอย

Page 28: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

8. ปญหาการสอนเรื่องเพศศึกษา ดานอ่ืนๆอยูในระดับ

มาก ไดแก ครูมีงานอ่ืนๆ ตองทํานอกเหนือจาการสอน

จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 28.30 รองลงมา ขาดความ

รวมมือดูแลสุขภาพจากผูปกครอง จํานวน 10 คน คิดเปน

รอยละ 21.70

Page 29: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะหอิทธิพลตอการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุน

ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการมีพฤติกรรมเส่ียงทางเพศและความรูเรื่องเพศของ

วัยรุน เรียงลําดับความสําคัญดังนี้

1) Internet (รอยละ 91.30)

2) เพื่อน (รอยละ 87.00)

3) ยาเสพติด (รอยละ 82.60)

4) มือถือ (รอยละ 78.30)

5) โทรทัศน (รอยละ 65.20)

6) พอ-แม (รอยละ 52.20)

7) หนังสือพิมพ (รอยละ 39.10)

8) ครู (รอยละ 23.90)

9) อื่นๆ (รอยละ 15.20) แสดงวาตัวครูเองไมไดใหความสําคัญในการถายทอดความรูแก

นักเรียนและมีความเห็นวานักเรียนสนใจหาความรูเร่ืองเพศจากแหลงปจจัยอื่น ๆ ดวยความคิดเชนนี้

อาจทําใหครูขาดความใสใจในการเตรียมการสอนที่มีประสิทธิภาพ

Page 30: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

การอภิปรายผล

ขอมูลทั่วไป

ครูสวนใหญมีวุฒิปริญญาตรีสาขาวิชาเอกพลศึกษา รอยละ

52.20 ซึ่งสอดคลองกับขอคนพบของ ทิพยศิริ กาญจนวาสี (2530);

และทิพยศิริ (2546). ท่ีพบวา ครูท่ีสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องเพศศึกษา

สวนใหญมีคุณวุฒิระดับปริญญาตรี วิชาเอกพลศึกษา จะเห็นไดวา

แมวาเวลาผานมา เปนเวลามากกวา 10 – 20 ป แตครูผูสอนก็ยังเปน

ครูคุณวุฒิวิชาเอกสุขศึกษา ทั้งนี้อาจเปนเพราะงบประมาณของ

โรงเรียนมีจํากัด กระทรวงศึกษายังใหความสําคัญวิชาสุขศึกษานอย

เกินไปครูสาขาใดก็สามารถสอนได

Page 31: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

แตการที่ผูสอนสวนใหญจบวิชาเอกพลศึกษาทําใหครูขาด

เทคนิควิธีการถายทอดตามปรัชญาการสอนสุขศึกษาที่จะตอง

มีทักษะกระบวนการสอนและกระบวนการถายทอดความรู

จนเกิดทัศนคติเพื่อนําไปสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่พึง

ประสงค ซึ่งตองอาศัยทักษะกระบวนการ กิจกรรม และสื่อ

หลากหลายมาชวยในการสอนเรื่องเพศศึกษา

Page 32: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

2. จากการท่ีพบวาครูผูสอนสวนใหญไดรับการอบรมการสอนเร่ือง

เพศศึกษาถึงรอยละ 84.0 แตหัวขอท่ีไดรับการอบรมยังพบวาอยูในระดับต่ํา

กวารอยละ 80 คือ (1) การจัดการเรียนการสอนเร่ืองเพศศึกษารอยละ 54.3 (2)

กิจกรรมการสอนเพศศึกษาเพียงรอยละ 50.0 (3) เนื้อหาเพศศึกษาตาม

ระดับช้ันเพียงรอยละ 13.0

จะเห็นไดวาแมวาครูจะไดรับการอบรมถึงรอยละ 93.5 หัวขอเร่ือง

เพศศึกษาท่ีครูสุขศึกษาไดรับการอบรมทางดานกิจกรรมยังมีนอยเกินไป

เพียงรอยละ 50.0 ซ่ึงไมสอดคลองกับวิธีการสอนเร่ืองเพศศึกษา เพราะ

วิธีการสอนเร่ืองเพศศึกษาจะไดผลดีตองเนนทักษะกระบวนการดาน

กิจกรรมในการเรียนการสอน ซ่ึงลอวเรนซ (Lawranz, 1984) ท่ีไดกลาววา

การอบรมมีผลตอประสิทธิภาพของการสอนสุขศึกษาในชั้นเรียน ท้ังในดาน

ส่ือการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน

Page 33: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ซึ่งสอดคลองกับจิรพรรณ รัตนวีระประดิษฐ (2534) และทิพยศิริ กาญจนวาสี (2530) และทิพยสิริ (2546) ท่ีพบวาครูยังมีปญหาในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งจะเห็นไดวาแมเวลาผานไปมากกวา 20 ป แตขอคนพบของงานวิจัยในปจจุบันยังพบเปนปญหาเชนเดิม ซึ่งอาจเปนเพราะครูยังไดรับการอบรมความรูดานกิจกรรมยังนอยกวารอยละ 80 จึงทําใหครูสวนใหญสอนเรื่องเพศศึกษายังไมถูกตองตามหลักการท่ีควรจะเปน เนื่องจากการไดรับการอบรมยังไมตรงตามปญหาของการสอนเพศศึกษาของครูจึงสงผลใหการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษายังไมทําใหนักเรียนเกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีพึงประสงค ยิ่งกวาน้ันยังพบวาสวนใหญมากถึงมากท่ีสุดรวมกันรอยละ 82.7 ของครูท้ังหมดใชวิธีการสอนแบบบรรยาย แสดงวาครูสุขศึกษาไมไดสอนโดยเนนใหนักเรียนเปนศูนยกลางการเรียนการสอน ขอคนพบยังระบุอีกวา เวลาสอนไมเพียงพอ จึงไมสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหแกนักเรียน จึงทําใหการสอนใหนักเรียนเกิดทักษะในการปฏิบัติจนเปนสุขนิสัยทําไดยากพบรอยละ 19.60 นอกจากนี้ครูยังตองทําหนาท่ีอื่นดวย ซึ่งพบอยูในระดับรอยละ 28.3 จึงทําใหครูมีเวลานอยในการเตรียมกิจกรรมซึ่งสงผลตอคุณภาพของกิจกรรม และจะขอคนพบวาครูทําบันทึกการสอนลวงหนากอนสอนทุกท้ังเพียงรอยละ 67.40

Page 34: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

3. ในดานสภาพปญหาท่ัวไปของการสอนพบวา ครูสุขศึกษายังมีปญหาในเร่ืองตอไปนี้คือครูมีปญหาดานส่ือการสอน รอยละ 45.7 และครูมีปญหาดานกิจกรรมการเรียนการสอน รอยละ 37.0 รวมท้ังครูมีปญหา ดานพ้ืนฐานความรู เ ร่ืองเพศ รอยละ 32.6 และครูมีปญหาดานการวัดและประเมินผล รอยละ 30.4 ซ่ึงจะเห็นไดวาครูผูสอนยังมีปญหาในเร่ืองส่ือการสอน ความรูดานเพศศึกษา และกิจกรรมท่ีใชในการสอน รวมท้ังวิธีการวัดและประเมินผลเร่ืองเพศศึกษาดวย พบวาไมมีเวลาพอในการวัดและประเมินผล ดานการปฏิบัติรอยละ 10.9 ไมสามารถวัดและประเมินผลไดครอบคลุมจุดประสงค รอยละ 23.9 ขาดความรูความเขาใจในการสรางขอสอบ ซ่ึงสอดคลองกับขอคนพบจากงานวิจัยของ อรชร อินทกุล (2530) และวิชิต สุรัตนเรืองชัย (2533) แมเวลาตางกันกวา 20 ป เชนกัน ท่ีพบวาครูมีพื้นฐานความรูเร่ืองเพศศึกษาและโรคเอดสอยูในระดับนอยและมีปญหาดานการวัดและประเ มินผลด านทัศนคติ โดยปญหาการขาดความรู ในกระบวนการดังกลาวเปนกระบวนการท่ีสําคัญในการสอนเร่ืองเพศศึกษา

Page 35: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ซ่ึงสอดคลองกับสุชาติ โสมประยูร (2521) ท่ีกลาววา การวัดผลการ

เรียนในทางดานความรูหรือแนวความคิด ความรูสึกหรือทัศนคติ และการ

ปฏิบัติหรือความประพฤติเกี่ยวกับเร่ืองเพศตามจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรมท่ี

ครูไดตั้งข้ึนสําหรับการสอนในแตละบทเรียน เพื่อประเมินผลพฤติกรรมของ

เด็ก ซ่ึงจะเปนประโยชนในการปรับปรุงการเรียนการสอนเร่ืองเพศศึกษา

โดยตรง ทําใหครูไมสามารถสอนนักเรียนใหเกิดความเขาใจจนนําไป

แกปญหาได รอยละ 8.7 และนักเรียนไมเกิดความเช่ือจนสามารถนําไป

ปฏิบัติได รอยละ 4.3 รวมท้ังไมสามารถสอนใหเกิดทักษะในการปฏิบัติจน

เปนสุขนิสัยได รอยละ 19.6

Page 36: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

สวนครูรอยละ 19.6 พบวาการสอนใหผูเรียนเกิดทักษะในการปฏิบัติจนเปน

สุขนิสัยเปนเรื่องยาก เนื่องจากครูขาดการอบรมทักษะกระบวนการในการ

เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพท่ีจะตองสอนใหเด็กเกิดความเช่ือเสียกอน จึงจะ

นําไปสูการปฏิบัติ ซึ่งเห็นไดจากขอคนพบเพียงรอยละ 4.3 ท่ีมีจุดมุงหมายในการ

สอนเพศศึกษาใหเกิดความเช่ือจนสามารถนําไปปฏิบัติได เกิดทักษะในการปฏิบัติ

จนเปนสุขนิสัย เพียงรอยละ 19.6 ในจํานวนนี้ครูรอยละ 4.3 ระบุวาการสอนให

เกิดความเช่ือจนสามารถนําไปปฏิบัติไดเปนจุดมุงหมายท่ีนักเรียนทําไดยากท่ีและ

พบวาเพียงรอยละ 60.9 มีการใชสื่อประกอบการเรียนการสอน ซึ่งการสอนเรื่อง

เพศศึกษามีความจําเปนตองใชส่ือประกอบการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนเกิด

ความตระหนักจนถึงข้ันเปลี่ยนแปลงไปสูพฤติกรรมการปฏิบัติไปในทางท่ีพึง

ประสงคได สวนสื่อท่ีใช รอยละ 80.4 เปนรูปภาพ และสื่อท่ีนํามาใชรอยละ 65.2

ไดรับแจกจากหนวยงานผลิตส่ือ ในขณะท่ีครูโดยรวมรอยละ ท่ีอางวา ขาด

งบประมาณการผลิตสื่อการสอนเรื่องเพศศึกษา และครูขาดความรูในการนําวัสดุ

ในทองถิ่นมาผลิตสื่อการสอน

Page 37: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

4. สวนหัวขอท่ีครูใชวิธีสอนแบบบรรยายอยูในระดับดีมาก ไดแก 1) สาเหตุของการเกิดโรคติดตอทางเพศและโรคเอดส 71.7% 2) อธิบายวิธีการแพรกระจายของโรคติดตอทางเพศและโรคเอดส76.1% 3) บอกวิธีปองกันโรคติดตอทางเพศและโรคเอดส 82.6% 4) เนนพฤติกรรมท่ีมีความเส่ียงสูงตอการติดเช้ือโรคทางเพศ 71.7% ในขณะท่ีหัวขอการสอนถึงเหตุการณท่ีอาจนําไปสูการมีเพศสัมพันธ และพฤติกรรมท่ีอาจนําไปสูการมีเพศสัมพันธ 58.7% ปรากฏวาทําการสอนอยูในระดับต่ําเกินคร่ึงเล็กนอย แสดงวาครูทําการสอนพฤติกรรมท่ีมีความเสียงสูงตอการติดเช้ือโรคทางเพศแบบผิวเผิน ไมไดอธิบายถึงเหตุการณ และพฤติกรรมเส่ียงท่ีอาจนําไปสูการมีเพศสัมพันธ 60.9% เนื่องจากพบวามีการสอนอยูในระดับนอย ในขณะท่ีครูอางวามีการสอนเนนพฤติกรรมท่ีมีความเส่ียงสูงตอการติดเช้ือโรคทางเพศอยูใน ยิ่งกวานั้นการอธิบายทักษะการปฏิเสธ 63.0% ก็พบวาครูทําการสอนอยูในระดับนอยอีกดวย

Page 38: 3.PPT ผศ.ดร.ทิพย์สิริ

ขอคนพบเหลาน้ี แสดงใหเห็นวาการสอนของครูยังไม

บรรลุวัตถุประสงค ทั้งน้ีอาจจะเปนเพราะวาครูยังขาดทักษะ

กระบวนการในการเนนในเรื่องที่ลึกซึ้ง การสอนไมทําให

นักเรียนเกิดความตระหนัก (Awareness) ซึ่งสอดคลองกับ

ผลการวิจัยของทิพยศิริ กาญจนวาสี (2530) และทิพยสิริ

กาญจนวาสี (2546) พบวาเน้ือหาที่ครูสอนยังไมเนนใหผูเรียน

ไดเขาใจถึงพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูงทางเพศวาการแพรเชื้อ

โรคเกิดขึ้นไดอยางไร จึงไมทําใหผูเรียนเกิดการเรียน