6
คัดจากงานวิจัยของ ยุกติ มุกดาวิจิตร การรู้หนังสือ สถานที่และการก่อตัวของเมืองไทดํา : บท ทดลองเสนอประวัติศาสตร์การเมืองไทดําในเวียดนามยุคก่อนสมัยใหม่ (มุมมองจากเอกสาร "ความโต้เมือง" กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2547. k N dN N - k N a ก่อ เป็น ดิน เป็น หญ้า ก่อ เป็น ฟ้า ดั่ง hd - k N dN d kN - ดอก เห็ด ก่อ เป็น ดิน เจ็ด ก้อน k N hiN sM s - k N N ก่อ เป็น หิน สาม เส้า ก่อ เป็น น้ํา k KVJ - k V - M N -----> เก้า แคว ปาก แต้ ตาว ยาม นั้น N h d u oL M t แถน จึง ให้ เจ็ด ปู่ สะกงลง มา แต่ง fN dN M LuM - M J - M ot แผ่น ดิน เมือง ลุ่ม มี ทุก อัน ทุก เยี่ยง มี ทุก ตัว s - N h d u M t M LuM ทุก สิ่ง แถน จึง ให้ เจ็ด ปู่ มา แต่ง เมือง ลุ่ม N bN N M - M N Luk u เป็น บ้าน เป็น เมือง ยาม นั้น ลูก คน ปู่ Jd h Luk dk Luk kN s kN Lb - ทํา แห ลูก เหล็ก ลูก ทอง(แดง) กิน ก้อย กิน ลาบ KV otk N kN x kN oPk - KV otk ขว้าง ตก น้ํา กิน (ปลา)แข่ กิน (ปลา)โปก ขว้าง ตก obk kN kV kN N - KV otk N kN บก กิน กวาง กิน เก้ง ขว้าง ตก บ้าน กิน Luk - M N ot s n M ลูก (ขวัญ) คน ยาม นั้น ทุก ตัว ทุก สิ่ง เมือง LuM Hu k - ot Nk Hu V - ลุ่ม รู้ พูด ทุก ตัว นาก ต่าง รู้ กล่าว ทุก ot K ot L Hu -

น้ำเต้าปุง

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา มธ. 110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ คัดจากงานวิจัยของ ผศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร เรื่อง "การรู้หนังสือ สถานที่และการก่อตัวของไทดำ: บททดลองเสนอประวัติศาสตร์การเมืองไทดำในเวียดนามยุคก่อนสมัยใหม่ (มุมมองจากเอกสาร "ความโต้เมือง" กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2547.

Citation preview

Page 1: น้ำเต้าปุง

คัดจากงานวิจัยของ ยุกติ มุกดาวิจิตร “การรู้หนังสือ สถานที่และการก่อตัวของเมืองไทดํา : บททดลองเสนอประวัติศาสตร์การเมืองไทดําในเวียดนามยุคก่อนสมัยใหม่ (มุมมองจากเอกสาร "ความโต้เมือง" กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2547.

k N dN N - k N a ก่อ เป็น ดิน เป็น หญ้า ก่อ เป็น ฟ้า ดั่ง

hd - k N dN d kN - ดอก เห็ด ก่อ เป็น ดิน เจ็ด ก้อน

k N hiN sM s - k N Nก่อ เป็น หิน สาม เส้า ก่อ เป็น น้ํา

k KVJ - k V - M N -----> เก้า แคว ปาก แต้ ตาว ยาม นั้น

N h d u oL M t แถน จึง ให้ เจ็ด ปู่ “สะกง” ลง มา แต่ง

fN dN M LuM - M J - M ot แผ่น ดิน เมือง ลุ่ม มี ทุก อัน ทุก เยี่ยง มี ทุก ตัว

s - N h d u M t M LuM ทุก สิ่ง แถน จึง ให้ เจ็ด ปู่ มา แต่ง เมือง ลุ่ม

N bN N M - M N Luk u เป็น บ้าน เป็น เมือง ยาม นั้น ลูก คน ปู่

Jd h Luk dk Luk kN s kN Lb - ทํา แห ลูก เหล็ก ลูก ทอง(แดง) กิน ก้อย กิน ลาบ

KV otk N kN x kN oPk - KV otk ขว้าง ตก น้ํา กิน (ปลา)แข่ กิน (ปลา)โปก ขว้าง ตก

obk kN kV kN N - KV otk N kN บก กิน กวาง กิน เก้ง ขว้าง ตก บ้าน กิน

Luk - M N ot s n Mลูก (ขวัญ) คน ยาม นั้น ทุก ตัว ทุก สิ่ง ณ เมือง

LuM Hu k - ot Nk Hu V - ลุ่ม รู้ พูด ทุก ตัว นาก ต่าง รู้ กล่าว ทุก

ot K ot L Hu -

Page 2: น้ำเต้าปุง

ตัว เค้าแมว ตัว “ล้ํา” ต่าง รู้ เจรจา

ot mu ot m Hu kV - M N ทุก ตัว หมู ตัว หมา ต่าง รู้ กล่าว ยาม นั้น ฟ้า

L s sd - dd s sN - จึง แล้ง สี แสด ฟ้า จึง แดด สี่ แสน

KVJ tJ k - bV K tJ h วัว ควาย ตาย อยาก หญ้า บ่าว ค้า ตาย หาง

k - M N . . . u กลาง ทาง ยาม นั้น ปู่ สะกง ฟ้า จึง เอา

u M d - xd M dJ - hJ M Jdงู มา เหยียด เอา เขียด มา ยืด เอา หอย มา ทํา

V d - M N . . . KuM M Md - วาง เหล้า(โต๊ะเครื่องเซ่น) ยามนั้น ฟ้า จึง คุ้ม มา มืด

Hd M d - M dV VN dV ofN ฟ้า จึง ฮืด มา หลั่ง มื้อ เดียว วัน เดียว ฝน

sN h - Md ofN a nJ mk V - h แสน ห่า เม็ด ฝน เท่า หน่วย หมาก หว้า ห่า

ofN a nJ mk mJ - hJ N N ฝน เท่า หน่วย หมาก หม้วย ทุก ห้วย น้ํา ต่าง นอง

dN hiN dN J Lb - M N ทุก ดอน หิน ดอน ทราย ต่าง ท่วม ยาม นั้น

N M M N M dV VN dV - น้ํา จึง โถม ท่วม ถึง แถน มื้อ เดียว วัน เดียว

M N s n M LuM tJ md - M N Nยาม นั้น ทุก สิ่ง ณ เมือง ลุ่ม ตาย หมด ยาม นั้น แถน

uk oL M LuM m - M dจึง ปลูก พันธุ ์ คน ลง เมือง ลุ่ม ใหม่ มี แปด

nJ mk t Pu - d s K -

Page 3: น้ำเต้าปุง

หน่วย หมาก เต้า ปุง แปด เสา ทอง ค้ํา ฟ้า1

k nJ mk t Pu M J -ใน หน่วย หมาก เต้า ปุง มี ทุก อัน ทุก เยี่ยง

M sM HJ sM sb s x na N - M sM HJมี สาม ร้อย สาม สิบ “สิง” ข้าว ใน นา มี สาม ร้อย

M LuM - M N N h u พันธ์ุ เมือง ลุ่ม ยาม นั้น แถน จึง ให้ ปู่ เจ้า

V s V N mk t Pu oL Hd ท้าว สวง ท้าว เงิน เอา หมาก เต้า ปุง ลง มายัง

M oM M J Nk - h u เมือง โอม เมือง อาย นอก ฟ้า จึง ให้ ปู่ เจ้า

V N fu N Luk mk t Pu oL Hd ท้าว เงิน ผู ้ เป็น ลูก เอา หมาก เต้า ปุง ลง มายัง

M L Nk - M Luk u เมือง “ล้อ” นอก ฟ้า จึง มี ลูก ชื่อ ปู่ เจ้า

V L --->ท้าว “ล้อ”

M N . . . u V N t fN dNยาม นั้น ปู่ เจ้า ท้าว เงิน จึง แต่ง แผ่น ดิน

M L - u V N mk t Pu เมือง ล้อ ปู่ เจ้า ท้าว เงิน จึง ปัน หมาก เต้า ปุง

J M h - t fN dN M LuM - จ่าย ไป ทุก แห่ง แต่ง ไป ทุก แผ่น ดิน เมือง ลุ่ม

M N M M b tk ohk nJ mk ยาม นั้น เอา ขึ้น เมือง “บ๋อ แต้” หก หน่วย หมาก

t Pu - ohk s K - M M oJN

1 สํานวนที่ถ่ายทอดด้วยอักษรไทยในงานของสุมิตร ปิติพัฒน์ (2545:37) แบ่งวรรคตอนและจัดประโยคแบบที่ทําให้เข้าใจไปว่า แถนให้นํา “เสาทองคํา” ลงมา แล้ว“ฟ้า”กลัยกลายเป็นประธานในประโยคถัดไป ผู้เขียนเห็นว่า คําว่า และ K ในที่นี้เป็นคนละคํา ไม่ใช่ทองคํา ภาษาไทดํา “ทอง” หมายถึง

ทองแดง ส่วนทองคําจะใช้คําว่า “คํา” เท่านั้น “คํา” ในที่นี้จึงแปลได้เป็น เสาทองแดงค้ําฟ้า

Page 4: น้ำเต้าปุง

เต้า ปุง หก เสา ทอง ค้ํา ฟ้า เอา ไป เมือง “โซ้น”

k M LV - M okJ k M L M Ja sกับ เมือง ลาว เมือง โกย กับ เมือง “หลื้” เมือง “ซ้อ” สอง

nJ mk t Pu - s s K - หน่วย หมาก เต้า ปุง สอง เสา ทอง ค้ํา ฟ้า

M N u V aN a h u V ยาม นั้น ปู่ เจ้า ท้าว เงิน จึง ให้ ปู่ เจ้า ท้าว

La kiN M La - a h u xuN L ล้อ กิน เมือง ล้อ จึง ให้ ปู่ เจ้า ขุน “เลื๊อง”

Jd ma - u V La Jd V - เป็น หมอ ปู่ เจ้า ท้าว ล้อ เป็น ท้าว

D M N u V aN a b a ยาม นั้น ปู่ เจ้า ท้าว เงิน จึง กลับ จึง

KN M kiN M oM M J J k - คืน ไป กิน เมือง โอม เมือง อาย เยี่ยง เก่า

เมื่ออ่านเปรียบเทียบสํานวนข้างต้นกับสํานวนเมืองลาในบทที่หนึ่งของภาคผนวก 1 จะเห็นว่าสํานวนเมืองหม้วยข้างตันสั้นกว่า ตัดรายละเอียดออกไปมากกว่า ส่วนสํานวนลาวโซ่งยิ่งสั้นกว่านี้มาก แต่ทั้งสามสํานวนก็ยังคงโครงเรื่องหลักไว ้ กล่าวคือเรื่องการก่อเกิดของโลก ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์ยุคแรกกับแถนเจ้าครองฟ้า และการส่งคนลงมาเป็นผู้ปกครองบนโลกเป็นคนตระกูลล้อ

แน่นอนว่าส่วนนี้เป็นเรื่องเล่าที่น่าจะมีที่มาจากวรรณกรรมมุขปาฐะ ในทํานองเดียวกับที ่ เดวิด วายอัต กล่าวถึงตํานานขุนบรมในพงศาวดารล้านช้างและพงศาวดารเมืองน่าน ที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือ หากนํามาเปรียบเทียบทั้งเรื่องเล่าและถ้อยคําสํานวนแล้ว จะเห็นความคล้ายคลึงกันหลายประการของพงศาวดารล้านช้าง (พงศาวดารเหนือ 2499:389-400) และความโต้เมืองไทดํา(ส่วนพงศาวดารน่านผู้เขียนยังไม่มีโอกาสตรวจสอบ) สาระที่ควรพิจารณาเปรียบเทียบกันได้แก่

• ประโยคแรกสุดที ่ความโต้เมืองเมืองหม้วยกล่าวว่า “ก่อเป็นดินเป็นหญ้า” พงศาวดารล้านช้างก็เริ่มต้นตํานานกําเนิดโลกว่า “ก็เป็นดินเป็นหญ้า”2

2 เปนไปไดอยางยิ่งวา แทนที่จะเปน “ก็” คำนี้อาจเปนคำวา “กอ” ในตนฉบับภาษาลาว หากเปนดังนั้นยิ่งทำใหเห็นวาสำนวนของพงศาวดารใกลชิดกับสำนวนในความโตเมืองยิ่งขึ้น

Page 5: น้ำเต้าปุง

• ความสัมพันธ์ที ่ข ัดแย้งกันระหว่างแถนเจ้าครองฟ้ากับมนุษย์เป็นสิ ่งที ่ท ั ้งพงศาวดารล้านช้างและความโต้เมืองต่างก็ให้ความสําคัญ แถนกับมนุษย์ขัดแย้งกันจนที่สุดแถนบันดาลให้น้ําท่วมโลก เป็นจุดหักเหของเรื่องที่มีในทั้งสองสํานวน

• จากนั้นการถือกําเนิดใหม่ของโลกและมนุษย์มาจากน้ําเต้า • ในทั้งสํานวนพงศาวดารล้านช้างและความโต้เมืองกล่าวถึงมนุษย์ที่ออกมาจากน้ํา

เต้า ว่ามีตระกูลต่างๆ สํานวนเมืองลากล่าวว่า “มีบรรดาตระกูลล้อ เลื้อง กว่าง ต่ง แลว บรรดาตระกูลเหล่านี้ยอมรับให้ตระกูลล้อเป็นเจ้านาย” (ดูภาคผนวก 1) ส่วนสํานวนพงศาวดารล้านช้างระบุถึงคนที่ออกมาจากน้ําเต้า ว่าม“ีไทยลม ไทยล ีไทยเลิง ไทยลอ ไทยควาง” (หน้า 391)

• ท้ายสุดจึงมีผู้มีอํานาจวิเศษ หรือที่ศรีศักดิ์ วัลลิโภดมนิยมเรียกว่า “วีรบุรุษทางวัฒนธรรม” มาเป็นผู้ชี้นําให้ทํามาหากิน สร้างสังคม ในสํานวนพงศาวดารล้านช้าง วีรบุรุษดังกล่าวผลัดเวียนกันมาดูแลปกครองคนถึงสี่รุ่น จนถึงรุ่นขุนบูลมมหาราชาธิราช จึงสามารถจัดการบ้านเมืองได้สําเร็จ แต่สํานวนของความโต้เมืองนั้น เพียงหนึ่งหรือสองชั่วคนคือ ท้าวตุมฮวาง และท้าวสวงกับท้าวเงิน ก็จัดการบ้านเมืองได้แล้ว

• ขุนบูลมของล้านช้างตั้งเมืองขึ้นที่นาน้อยอ้อยหนู บริเวณ“เมืองแถน” (สะกดด้วยตัว น แต่หลายท่านสันนิษฐานว่าคือชื่อเดิมของเมืองแถงหรือเดียนเบียนฟูอย่างที่คนไทยมักเรียก) ส่วนท้าวสวงท้าวเงินของไทดําตั้งเมืองบริเวณเมืองล้อ (ภาษาเวียดนามเรียกเหงี้ยะโหละจังหวัดเอียนบ๋าย) ใกล ้ “ปากแต้ตาว” หรือปากแม่น้ําดํากับแม่น้ําแดงสบกัน

• จากนั้นทั้งขุนบูลมและท้าวสวงหรือท้าวเงินก็ให้กําเนิดลูกชื่อเดียวกันคนหนึ่ง คือขุนลอ หรือขุนล้อในสําเนียงไทดํา ขุนบูลมมีลูกเจ็ดคนขุนลอเป็นลูกคนโต

• เมื่อจ่ายให้ลูกทั้งเจ็ดไปเป็นเจ้าเมือง ขุนล้อไปสร้างเมืองชวา ลูกคนอื่น ๆ ให้ไป หัวแต (หัวน้ําแต้หรือน้ําดํา?) เมืองแกว (เวียดนาม?) ยวนโยนก (ล้านนา?) อโยทธยา (อยุธยา?) เมืองเชียงคม เมืองพวน ส่วนท้าวล้อในความโต้เมืองสร้างเมืองล้อ ความคล้ายคลึงกันดังกล่าวชวนให้สันนิษฐานว่า หากตํานานขุนบรมของไม่นํา

มาจากความโต้เมืองของไทดํา ไทดําเองนั่นแหละที่นํามาจากพงศาวดารล้านช้าง หรือไม่เช่นนั้นทั้งล้านช้างและไทดําต่างก็ร่วมกันสร้างตํานานนี ้หากแต่จุดเน้นทางภูมิศาสตร์ของล้านช้างและไทดํา โดยเฉพาะในเรื่องกําเนิดโลกและจุดเริ่มต้นสร้างบ้านเมืองแตกต่างกัน แต่หากมองว่าตํานานลักษณะนี้เป็นตํานานที่หลายๆกลุ่มชนหลายๆภาษาเล่าร่วมกันแล้ว “ประวัติศาสตร์นิพนธ์”ลักษณ์นี้ก็อาจเรียกได้ว่าเป็น ประวัติศาสตร์สากล (Universal histories) ดุจเดียวกับที่วายอัตกล่าวถึงตํานานทางพุทธศาสนาในประเทศไทยได้เช่นกัน แม้ว่าเมื่อมองแบบภูมิศาสตร์สมัยใหม่ ขอบเขตความเป็นสากลจํากัดอยู่แคบกว่าของพุทธศาสนา แต่สําหรับมนุษย์ที่ออกมาจากน้ําเต้า ภูมิศาสตร์ของเรื่องเล่าแถน น้ําเต้า และขุนลออาจจะเทียบได้กับประวัติศาสตร์การกําเนิดจักรวาลในมุมมองภูมิศาสตร์สมัยใหม่เลยทีเดียว

Page 6: น้ำเต้าปุง

อย่างไรก็ดี เรื่องเล่ากําเนิดโลกชวนให้สันนิษฐานว่า ไทดําน่าจะเขียนความโต้เมืองขึ้นเมื่อมีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับกลุ่มชนในแถบแม่น้ําโขง ภาคเหนือของลาว หรือบริเวณเมืองแถง มากกว่าที่จะเขียนสืบทอดกันมาตั้งแต่เมืองล้อ หรือกล่าวได้ว่า ถิ่นฐานทางวัฒนธรรมที่สําคัญของไทดําในยุคบันทึกเอกสารเป็บลายลักษณ์อักษรอยู่ใกล้กับประเทศลาว