14

Click here to load reader

คู่มืออาหารม้า

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

คูมือฉบับนี้จะกลาวเนนในเร่ืองของอาหารมาเปนสวนใหญ และสอดแทรกเกร็ดความรู และสาระท่ีจําเปนอื่นๆ ท่ีคิดวามีประโยชน โดยเฉพาะ พฤติกรรมการกินอาหารขบวนการเก็บรักษาอาหาร และการใหอาหารมา มาจะจํากล่ินของอาหารท่ีกินอยูไดทุกวัน การท่ีมีกล่ินแปลกปลอมในอาหารท่ีใหจะทําใหมาเกิดความกังวลท่ีจะกิน และหรือไมกินอาหารเลยดังนั้น การปรับเปล่ียนอาหารใหมสําหรับมาจึงตองคอยๆปรับเปล่ียนปริมาณท่ีจะใหใหมโดยเพิ่มจํานวนอาหารใหมทีละนอยๆพรอมกับลดปริมาณอาหารเดิมลงในสัดสวนท่ีเทาๆกัน ท้ังนี้อาจจะเติมกล่ินท่ีมาชอบลงไปในอาหารเพื่อเพิ่มความนากินมากขึ้น มาใชเวลาในการแทะเล็มหญาในแปลงหญาเปนหลักวันละประมาณ ๑๖ – ๑๘ ชั่วโมง และจะใชเวลาพักผอนในหวงเวลากลางดึกประมาณ ๑ นาฬิกา – ๔ นาฬิกา และจะใชเวลากินอาหารขนในคอกประมาณ ๔ – ๕ชม.ตอวัน โดยมักชอบกินอาหารในระดับเดียวกับพื้นราบมากกวาอาหารท่ีวางสูงกวาพื้นระดับมาเลือกอาหารท่ีกินจากลักษณะของอาหาร กล่ินของอาหาร รสชาติของอาหาร และรูปรางของอาหาร ขบวนการเก็บหญาและอาหาร รวมท้ังการเตรียมอาหารท่ีถูกตองจะทําใหคุณคาทางโภชนาการไดรับการถนอมรักษาใหคงคุณคาอยูอยางครบถวน

การทําใหอาหารนุม นากิน ลดฝุน สามารถทําไดโดยการใชสวนผสมของกากน้ําตาลกับน้ําสะอาดในอัตราสวน ๕๐:๕๐ ราดหญาท่ีแหงใหท่ัว อบและปดไวประมาณ ๒ ชม. (อยาท้ิงไวนานเกิน ๘ ชม.) จะชวยลดการสูญเสีย ลดฝุนในหญาแหง ทําใหนุมนากิน ลดปญหาระบบทางเดินอาหาร การใหอาหารอยาง ตรงเวลาและสม่ําเสมอ จะชวยทําใหระบบการยอยอาหารของมามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอีก ๔๐% (ถาไมตรงเวลามามักจะกัดแทะร้ัว/ คอก ท่ีเปนไมได)ถาตองการใหมาไดรับพลังงานจากอาหารขนเต็มท่ี ควรขังในคอกหรือแปลง จนกวาจะกินอาหารเม็ดหรืออาหารขนหมด แลวจึงปลอยมาเขาแปลงหญา การใหอาหารท่ีถูกตอง ถูกวิธี จะทําใหมามีสุขภาพดีและไดรับคุณคาโภชนาการครบถวน

สิ่งที่ควรปฏิบัติในการใหอาหารมา

**จํานวนของอาหารที่ใหกับมากินตองคิดเปนน้ําหนักของอาหาร ไมใชปริมาณ

๑. อาหารท่ีใหตองมีความสมดุลยระหวางอาหารหยาบ (หญาแหง หญาสด รํา)และอาหารขน (อาหารเม็ด ธัญพืช ไขมัน โปรตีน) ตามความตองการของมา

มาท่ีไดรับการปลอยในแปลงหญาท่ีสมบูรณตองการอาหารเสริมนอย เวนแต ชวงวัยท่ี กําลังเจริญเติบโต ตั้งทอง เล้ียงลูกออน หรือการฝก และถาสภาพรางกาย ไมสมบูรณจําเปนตองใหอาหารเสริมโดยเฉพาะมายืนโรง การคํานวณสูตรของอาหารท่ีใหมีความสําคัญมาก

อัตราสวนของ อาหารหยาบ ตอ อาหารขน ขึ้นอยูกับระยะเวลาในการออกกําลังกาย อายุ การสืบพันธุ และสภาพอากาศ

Page 2: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

อาหารหยาบท่ีใหอยางนอย ๑% ของน้ําหนักตัวมา เพื่อใหเกิด ความเหมาะสมของระบบการยอยและการดูดซึมอาหารและน้ํา ตัวอยางเชน ใหหญาแหง ๑ กก.ตอ นน.ตัวมา ๑๐๐ กก. หรือ ถาจําเปนใหหญาแหง ๐.๕ กก. / ๑๐๐ กก. นน.ตัวมา (๐.๕%นน.ตัว) เพื่อดํารงระบบการยอยของมา

๒. อาหารท่ีใหตองปรับใหมีความเหมาะสมกับมาแตละตัว โดยมาตองไดรับอาหารเพื่อ

๒.๑ การรักษาน้ําหนักตัว๒.๒ รักษาสภาพรางกาย๒.๓ รักษาขีดความสามารถ

** ควรช่ังน้ําหนักตัวและตรวจสอบ BCS (BODY CONDITION SCORE) ทุก ๗ – ๑๐ วันโดยเฉพาะมาใชงานหนัก และ ชวงวัยที่มากําลังเจริญเติบโต

* มาใชงานเบาหรือออกกําลังกายตองการเพียงหญาแหงคุณภาพดีและอาหารขนเพียงเล็กนอย ถาออกกําลังกายมากใหเพิ่มอาหารขน

* ถามาเบ่ือไมอยากกินอาหาร อาจทําใหอาหารมามีความนากิน โดยการตมธัญพืชหรือใชกากน้ําตาลผสม หรือใชวิตามินบี และควรมีการตรวจสภาพความเจ็บปวย สภาพฟนรวมดวย

* มาบางตัวอาจมีอาการแพตออาหารท่ีให เชน เปนตุมตามผิวหนัง แสดงอาการทองเสีย หรือเสียด ถาเปนไปไดควรเปล่ียนชนิดอาหารใหใหม

๓. ปริมาณอาหารท่ีใหโดยการคํานวณตามสูตรเปนสวนหนึ่งในการจัดการ ผูเล้ียงดูควรสังเกต รูปรางและการออกกําลังกายประกอบดวย เพื่อใหมาไดรับอาหารท่ีพอเพียง

๔. เวลาในการใหอาหารตองเปนเวลาเดียวกันของทุกวัน เนื่องจากเปนธรรมชาติของมาท่ีจะมี การปรับระบบการยอยอาหารใหเปนเวลาโดยเฉพาะมายืนโรง และมาท่ีกําลังฝกการใหอาหารท่ีตรงเวลามีความจําเปนมาก

๕. อาหารท่ีใหตองแบงเปนมื้อ อยางนอยวันละ ๒ มื้อ

* มาท่ีไมไดปลอยแปลงควรแบงอาหารอยางนอย ๒ มื้อ

* มาเปนสัตวท่ีมีกระเพาะเล็ก เมื่อเปรียบเทียบกับขนาดรางกาย ไมมีถุงน้ําดี และเคี้ยวชาจึงตองกินอาหารทีละนอยแตบอย โดยเฉพาะมาแขงควรไดรับการแบงอาหารอยางนอย๓ – ๔ มื้อ

- ๕ -

Page 3: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

* การแบงชวงเวลาในการใหอาหารเทาๆกัน และมื้อสุดทายควรใหมีปริมาณ(BULK) มาก เพื่อใหกินไดตลอดคืน

* ควรเพิ่มอาหารชดเชยใหมาเพื่อทดแทนปริมาณอาหารท่ีสูญเสียระหวางการกินอาหารปกติ ประมาณ ๑๐%

๖. สถานท่ีหรือจุดใหอาหารควรเปนจุดเดียวกันท้ังในแปลงปลอยและคอก และไมโดนฝนสาดถึง และไมควรยายท่ีโดยไมจําเปน

๗. ตรวจสอบคุณภาพอาหารท่ีใหอยูเสมอ

๘. อาหารมาท่ีจะใหตองผสมคลุกเคลาใหเขากันดีกอนเพื่อปองกันมาเลือกกินเฉพาะสวน ท่ีชอบ โดยเฉพาะอาหารเม็ด อาหารขน ซึ่งจะมีผลเสียตอระบบการยอยอาหาร ควรระวังอยาใหสวนท่ีเปนแรธาตุจับตัวเปนกอน โดยเฉพาะเกลือจะทําใหมีปญหา ในการยอย

* การทําใหอาหารเปยกโดยการราดหรือจุมจะทําใหลดฝุนท่ีปนเปอน และชวยรักษา อาหารเสริมหรือยาท่ีผสมและชวยทําใหรสชาติดีขึ้น

๙. ควรผสมอาหารท่ีจะใหแตละคร้ังกอนเวลาท่ีจะใหอาหารเพื่อความสดใหมทุกคร้ัง ถาอาหาร มีความชื้นไมควรผสมใหนานเกินกวา ๑๒ ชม. เพราะอาจเกิดการเหม็นหืนและดึงดูดแมลง อาจมีผล ตอระบบการยอยอาหาร

* ควรนําอาหารท่ีเหลือท้ิงกอนการใหอาหารใหมทุกคร้ัง

๑๐. อาหารควรมีความนากิน ประหยัด จัดการงาย และตรงตามความตองการของมา

* อาหารท่ีใหไมจําเปนตองตองมีสูตรผสมยุงยากซับซอน สามารถใชวัตถุดิบในพื้นท่ีท่ีมีคุณภาพได

* มาท่ีอยูตัวเดียวและไดรับอาหารไมเพียงพอ หรือไมไดใชงานหรือออกกําลังกายมักจะแทะคอก ดังนั้น มาทุกตัวควรไดมีโอกาสในการออกกําลังกายในแปลงปลอย หรือฝกในแตละวัน เพื่อใหใชพลังงานท่ีไดรับจากอาหารอยางมีประสิทธิภาพ

๑๑. ควรมีการดําเนินการดานสัตวบาลควบคูไปกับการใหอาหาร เชน การตรวจฟนการตรวจสุขภาพท่ัวไป การควบคุมพยาธิ การออกกําลังกายประจําวันจะชวยใหการกินอาหารการทํางานไดประโยชนสูงสุด

- ๗ -

- ๖ -

Page 4: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

* การตรวจดูอุจจาระท่ีถายออกมาแตละวันจะทําใหทราบถึงประสิทธิภาพในการยอย ดีหรือไม สังเกต ปริมาณ สี กล่ินของปสสาวะเพื่อดูสุขภาพท่ัวไป หรือการขาดน้ํา

๑๒. ควรมีน้ําสะอาดเพียงพอสําหรับใหมาตลอดเวลา โดยเฉพาะ ในสภาพอากาศท่ีรอนหรือ ทํางานหนัก อาจใหน้ําท่ีผสมอิเล็กโตรไลทและ พึงตรวจความสะอาดของน้ําดื่มอยูเสมอ

๑๓. ควรเนนการใหอาหารเสริมในกรณีท่ีจําเปนเพื่อใหเหมาะสมกับสภาพการใชงานและวงจรชีวิตมา

ตารางที่ ๑ สัดสวนการใหอาหารมาตามลักษณะการใชงาน(ที่มา : Kohnke, J. 1998. Feeding and nutrition of horses : The making ofa champion. 3rd (ed). Vetsearch International: Parramatta. 44.)ลําดับ ลักษณะกิจกรรม อาหารหยาบ (%) อาหารขน (%)

๑.๒.

๓.

๔.

๕.

มาพักใชงาน- มาใชงานเบา(pleasure, dressage, show horse)- มาตั้งทองระยะ ๘ – ๑๑ เดือน- มากําลังเจริญเติบโตจนถึงอายุ ๒ ป- มาใชงานปานกลาง(stock work, roping cutting, jumping)- มาใหนมในชวง ๓ เดือนทาย- มาอายุ ๑ ป- มาใชงานหนัก(racing, pacing, polo, evening)- มาใหนมในชวง ๓ เดือนแรก- มาหยานม (๖ เดือน)

๘๐ – ๑๐๐๖๕ – ๗๕

(เฉลี่ย ๔๐%)

๕๕ – ๖๕(เฉลี่ย ๖๐%)

๔๐ - ๔๕(เฉลี่ย ๔๕%)

(เฉลี่ย ๕๐%)

๐ – ๒๐๒๕ – ๓๕

(เฉลี่ย ๓๐%)

๓๕ – ๔๕(เฉลี่ย ๔๐%)

๕๐ - ๖๐(เฉลี่ย ๕๕%)

เฉลี่ยอาหารขน๔๕%

Page 5: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

- มา Endurance(endurance riding, driving)

และไขมัน ๕%

สิ่งที่ไมควรปฏิบัติในการใหอาหารมา

* มีขอควรระวังหลายกรณีในการใหอาหารโดยเฉพาะเมื่อตองใหอาหารขนในมาใชงาน หรือมากําลังเจริญเติบโต

๑. หามเปลี่ยน อาหาร/สูตรอาหาร อยางฉับพลันเพราะจะทําใหเกิด

๑.๑ ระบบการยอยอาหารผิดปกติ๑.๒ ความอยากอาหารลดลง

**การปรับเปลี่ยนควรเร่ิมจากการเพ่ิมอาหารใหมลงไปผสมในอาหารเดิมทีละนอยๆ จนสามารถทดแทนอาหารเกาไดทั้งหมด ในระยะเวลา ๑๔ – ๒๑ วัน หรืออาจยาวนานกวานี้ก็ได ตามความเหมาะสม

๒. หลีกเล่ียง การเพิ่มอาหารขน หรือ ธัญพืช ทันทีหรือเพิ่มจํานวนมากๆ ในเวลาอันส้ัน

* การใหอาหารมาตองใหตามระดับการใชงานของมา และตามหลังการออกกําลังหรือใชงานมา

* ควรเพิ่มอาหารขน หรือ ธัญพืช ประมาณ ๕ – ๑๐% ของปริมาณท่ีเคยใหหลังจากมากลับจากแปลงหญาเขาคอก และเพิ่มจํานวนใหสอดคลองกับระดับการใชงาน

๓. ไมควรใหอาหารท่ีมีการปนเปอนฝุน (มาก) รา และส่ิงสกปรก

* ฝุนท่ีปนเปอนในอาหารจะทําใหเกิดปญหาระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะมาใชงานท่ียืนโรง

*ธัญพืชและหญาแหง ควรแชในน้ําอุนผสมกากน้ําตาล(๕๐:๕๐) เพื่อลดฝุน

* หามใหอาหารท่ีเปนรา อาหารเสีย หรือหญาแหง ท่ีมีส่ิงปนเปอน เพราะอาจจะทําให การยอยอาหารผิดปกติ อาหารเปนพิษ แทง เชน อาหารท่ีปนเปอนขี้หนู

๔. ไมควรใหอาหารเหลือคางประจําวัน อาหารปน เปอนอุจจาระ ส่ิงแปลกปลอมอาหารเปยกและอาหารท่ีเหลือ

Page 6: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

* ใหลางทําความสะอาด ภาชนะท่ีใสอาหาร และถังน้ําใช ทุกคร้ัง เมื่อปลอยมาลงแปลง พรอมท้ังทําความสะอาดคอก

๕. ไมควรใหอาหารท่ีดอยคุณภาพแกมา เนื่องจาก

๕.๑ สูญเสียโดยไมจําเปนมากขึ้น๕.๒ ตองกินมากกวาเดิมเพื่อใหไดพลังงานเทาเดิม โดยเฉพาะหญาแหงจะทําให

เกิด ‘Hay belly’ และไมควรใชส่ิงลอใจใหอยากกินมาผสมในอาหารดอยคุณภาพ เชนกากน้ําตาล

๖. ไมควรใหอาหารขนหรือธัญพืชท้ังหมดทีเดียว

๖.๑ ควรแบงอาหารเปนมื้อๆละ ๑/๓ สวน เพื่อลดการจุกเสียด Azoturiaและการยอยท่ีผิดปกติ

๖.๒ การใหอาหารขนหรืออาหารเม็ดมากเกินไป ในมาท่ีไมไดใชงาน ทํางานจะทําใหอุณหภูมิ ของรางกายมาสูงขึ้น ตื่นตัว ดื้อ และยากตอการควบคุม

๖.๓ ถามาไมทํางานเนื่องจากเจ็บขา ปวย หรือมีฝนตก เลอะเทอะ เฉอะแฉะใหลดอาหารเม็ด ในมื้อตอไปแลวทดแทนดวยหญาแหง

๖.๔ ในมาแขง มาใชงาน ใหลดอาหารขนลง ๑/๒ สวน หรือนอยกวานี้ ในมื้อเย็น กอนท่ีมาจะพักในวันถัดไป แลวคอยๆเพิ่มใหเทาเดิม ในภายหลัง ถาหยุดทํางาน ๑ วันใหใชเวลา ๒ วัน ในการเพิ่มปริมาณอาหารจนเทาเดิม

* การใหอาหารขนหรือธัญพืชมากเกินไปในมา จะทําใหรางกายมาเกิดความรอนอยูไมสุข ปสสาวะบอย (ระบายความรอน) ขาดน้ํา และคุมลําบาก

๗. หามมากินอาหารขน หรือธัญพืช อยางเดียว หรือปลอยใหกินหญาออนอยางเดียว

* ในมาท่ีตะกละจะกินอาหารขนมากและเร็ว อาจทําใหเกิดการติดคอและ การยอยผิดปกติ

* ควรพิจารณาผสมอาหารขนกับหญาสับในอัตราสวนท่ีเทากันเพื่อทําใหมากินอาหารชาลง

* หามใหมากินอาหารขนอยางเดียวในอากาศหนาว ควรใหตามความตองการของมาแตละตัว

Page 7: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

๘. หามนําหญาท่ีตัดจากสนามหญา สวนหยอม ใหมา เนื่องจากอาจมีการปนเปอนจากรา พืชท่ีมีพิษ ลวด เศษโลหะ แกว หิน และยาฆาแมลง อาจทําใหเกิดอาการเสียดและอันตรายรุนแรงได

๙. หาม ใหอาหาร และ น้ํา ในภาชนะท่ีสกปรก ควรทําความสะอาด ภาชนะใสอาหาร ปองกันรา การหมัก และ ลางทางระบายน้ําเสีย ใหสะอาดอยูเสมอ

๑๐. หามใหอาหาร หญาแหง บนพื้นคอก เนื่องจาก

๑๐.๑ เกิดการสูญเสียจากการตะกุย การกระจาย๑๐.๒ อาจปนเปอนไขพยาธิ ตัวออนพยาธิ ตามพื้น๑๐.๓ อาจปนเปอนทราย๑๐.๔ ใชภาชนะท่ีมีความเหมาะสม ขอบมน (ไมคม) และ มีน้ําหนัก

พอสมควรท่ีมาไมสามารถจะพลิกได

๑๑. หาม ใหหญาแหงจํานวนมาก กอนนํามาใชงาน และหามมาท่ีกินอิ่มออกกําลังกาย ,ทํางาน

๑๑.๑ หญาแหงจํานวนมาก ควรใหในเวลากลางคืน๑๑.๒ กอนออกกําลังกาย ใหอาหารปริมาณนอยๆ ท่ีมีสัดสวน อาหารขน :

อาหารหยาบ (๖๐ : ๔๐)๑๑.๓ การจุม/ ราดอาหารกอนใหมา หลังจากการใชงานจะเพิ่มความอยาก

กินและความชื้นทําใหออนนุมขึ้น

๑๒. หาม มากินน้ําเย็นจํานวนมาก ทันที หลังออกกําลังกาย หรือ ใชงาน

* มาท่ีกําลังเหนื่อย เสียเหงื่อมากมากินน้ําเย็นทันทีจะทําใหเกิดอาการจุก และการยอยอาหารผิดปกติ

๑๓. หามผสมอาหารเสริมแคลเซียมในอาหารท่ีมีรําเปยกผสมอยู

๑๓.๑ รําท่ีเปยกจะจับตัวกับแคลเซียม และ ลดการดูดซึมจากลําไส๑๓.๒ ใหผสมแคลเซียมในอาหารอื่น๑๓.๓ อาจใชแคลเซียมผสมกับรําแหงไดในจํานวนนอยๆ

ตารางที่ ๒ ปจจัยที่สงผลใหมามีสภาพรางกายผอม(ที่มา : Kohnke, J. 1998. Feeding and nutrition of horses : The making ofa champion. 3rd (ed). Vetsearch International: Parramatta. 51.)

Page 8: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

ลําดับ ประเภทของปจจัย สาเหตุ อาการ การรักษา

๑. กายภาพ - ป ว ด ข ณ ะ กํ า ลั ง เ ค้ี ย วอาหารเพราะมีฟนแหลมคม- ใชงานมามากเกินไป- เจ็บปวดจากอุบัติเหตุ, เจ็บข า , โ ร คท า ง เ ดิ น ร ะบ บหายใจ, อุณหภูมิรางกายเพ่ิมสูงข้ึน

- อาหารหลนออกจากปากขณะเ ค้ียวอาหาร กินหญาชา(อาหารขนและหญาท่ียาว)- ออนแรง ปวดกลามเนื้อ เบื่ออาหาร- เบื่ออาหาร , ซึม

- ทําการตะไบฟนทุก ๖เดือน สําหรับมาใชงานของทุก ๑๒ เดือน สํ าหรับม าประเภทอ่ืนๆ- หลีกเลี่ยงการฝกมาท่ีเร็วหรือเริ่มฝกเร็วไป รวมท้ังใหทําการ Cool down- ตรวจรางกายมา โดยสัตวแพทย

๒. ระบบยอยอาหาร - อาหารขนสูง เยื่อใยต่ํา และปลอยใหแทะเล็มนอยเกินไป- ทองเสีย ปวดทอง- กินอาหารขนมากเกินไปเครียดจากการออกกําลังกาย มีแผลในระบบทางเดินอาหาร

- ทองเสียอยางออนและมีความผิดปกติท่ีกีบ- ภาวะขาดน้ํา และเบื่ออาหาร- มีแผลท่ีกระเพาะอาหารและลําไส ซึมพฤติกรรม การกินเปลี่ยนไป

- เพ่ิมสัดสวนอาหารขนและลดอาหารหยาบ- เสริมอิเล็กทรอ-ไลท และใหน้ําเพียงพอ- เพ่ิมการใหอาหารหยาบ

๓. จิตใจ -มีการเปลี่ยนสภาพแวดลอมใหม ปราศจากสังคม- ชิงดีชิงเดนระหวางกัน

- ลั ก ษ ณ ะ ท า ท า งเปลี่ยนไป การกินอาหารผิดปกติ เบื่ออาหาร

- ใหการสมาคมระหวางมาและปลอยแปลง- ใหวิตามินบี และเสริมแรธาตุ มีการขนสงมาอยางถูกตอง

ระบบการจัดการอาหารมา

การจัดระบบการใหอาหารมาแบงเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบการปฏิบัติของแผนกสัตวบาล ซึ่งแบงความรับผิดชอบออกเปน ๒ ระดับ คือ

๑. บก.แผนก มีเจาหนาท่ีคํานวณปริมาณอาหารสําหรับแจกจายเปนนายทหารสัตวแพทย หรือนายทหารสัตวบาลท่ีไดรับมอบหมายหนาท่ีเปนผูดําเนินการ มีหนาท่ีดังนี้.-

๑.๑ รับตารางรายชื่อมา พรอมน้ําหนักตัวมา และ สภาวะการใชงานมา

Page 9: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

๑.๒ คํานวณปริมาณอาหาร ตามหลักวิชาการตามตารางเกณฑการจายท่ีมีผลอนุมัติใชแลว แยกบรรจุใสซอง/ ถุงพลาสติก เปนรายมื้อ/ วัน พรอมเขียนรายละเอียดกํากับขาง ซอง/ ถุงอาหาร ดังนี้.-

- คอก_____ ชื่อมา_____ เพศ_____ ประเภทมา_____

- วัน/ เดือน/ ป (ท่ีใหอาหาร)

- มื้อท่ี_____

๑.๓ นํา ซอง/ ถุงอาหาร ท่ีบรรจุ และ เขียนรายละเอียดตาม ขอ ๑.๒เรียบรอยแลวลงในกลองรวม ของแตละคอก รอใหเจาหนาท่ีประจําคอก มาลงนามรับไปแจกจายตามกําหนด/ วัน

๑.๔ บันทึกรายละเอียดการจายอาหารประจําวัน และสรุป นําเรียนหก.กสษ. ทุกสัปดาห

๒. หน. คอก หรือ เจาหนาท่ีคอกมีหนาท่ี ดังนี้.-

๒.๑ ชั่งน้ําหนักตัวมาทุกวันศุกร บันทึกรายชื่อมา พรอมน้ําหนักตัวมาและสภาวะการใชงานมา นําสง บก.แผนกสัตวบาล ในเวลา 1200 ของวันศุกร เพื่อใชในการคํานวณปริมาณอาหารในสัปดาหถัดไป (เสาร – ศุกรหนา)

๒.๒ จัดเจาหนาท่ีไปรับอาหารสําหรับแจกจายมาประจําวันจาก บก.แผนกฯโดยลงชื่อการรับอาหารมาแจกจายทุกคร้ัง

๒.๓ แจกจายอาหารใหมาตามท่ีรายละเอียดแจงไวขาง ซอง/ ถุงอาหาร ใหถูกตองตามมื้อท่ีกําหนด

๒.๔ บริหารจัดการสุขาภิบาลในความรับผิดชอบในการใหอาหารใหถูกสุขลักษณะอยูเสมอ

๒.๕ บันทึกการกินอาหารของมาแตละตัวและรายงาน หก.กสษ. ผาน แผนกสัตวบาลทุกสัปดาห

* ควรตรวจสอบสภาพการกินอาหารของมา (โดยนายสัตวแพทย หรือนายทหารสัตวบาลของหนวย)

การคํานวณปริมาณอาหารสําเร็จรูปสําหรับมา

เนื่องจากตารางเกณฑการจายอาหารไดแบงชวงน้ําหนักแตละชวงหางกัน ๕๐ กก.แตน้ําหนักตัวมาอาจจะไมตรงตามชวงท่ีไดกําหนดไวแลว และชวงหาง ๕๐ กก. คอนขางหางใน

Page 10: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

การปฏิบัติจริง จึงขอใหเจาหนาท่ีผูคํานวณปริมาณอาหารยึดถือมูลฐานในการคํานวณทางปฏิบัติ ดังนี้.-

๑. ชั่งน้ําหนักตัวมาเปนรายตัว๒. ถาน้ําหนักลงทาย –๐๐ , –๕๐ เชน ๔๐๐, ๔๕๐ เปนตน ใชเกณฑ การจาย

ตามตารางท่ีกําหนดไดเลย๓. ถาน้ําหนักตัวมาไมตรงตามขอ ๒. ใหยึดถือวิธีการคํานวณน้ําหนักตามตาราง

ดังนี้.-

น้ําหนักตัวมา (กก.) น้ําหนักตัว

สําหรับคิดเกณฑจาย (ตัว)

น้ําหนักตัวมา (กก.)

๑๒๖ – ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๑ – ๑๗๕

๑๗๖ – ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๑ - ๒๒๕

๒๒๖ – ๒๕๐ ๒๕๐ ๒๕๑ – ๒๗๕

๒๗๖ - ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๑ - ๓๒๕

๓๒๖ - ๓๕๐ ๓๕๐ ๓๕๑ – ๓๗๕

๓๗๖ – ๔๐๐ ๔๐๐ ๔๐๑ - ๔๒๕

๔๒๖ - ๔๕๐ ๔๕๐ ๔๕๑ – ๔๗๕

๔๗๖ – ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๑ - ๕๒๕

Page 11: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

๕๒๖ - ๕๕๐ ๕๕๐ ๕๕๑ – ๕๗๕

๕๗๖ – ๖๐๐ ๖๐๐ ๖๐๑ - ๖๒๕

๖๒๖ - ๖๕๐ ๖๕๐ ๖๕๑ – ๖๗๕

๖๗๖ – ๗๐๐ ๗๐๐ ๗๐๑ - ๗๒๕

๗๒๖ - ๗๕๐ ๗๕๐ ๗๕๑ – ๗๗๕

๗๗๖ – ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๑ - ๘๒๕

๘๒๖ - ๘๕๐ ๘๕๐ ๘๕๑ - ๘๗๕

๘๗๖ – ๙๐๐ ๙๐๐ ๙๐๑ - ๙๒๕

การตรวจสภาพทั่วไปในมา

การตรวจ หรือ สังเกตสภาพท่ัวไป ของมา วันละ ๒ คร้ัง (อยางนอย ๑ คร้ัง)จะเปนการดีมาก เพื่อสังเกตในเร่ืองตอไปนี้

๑. สภาพการบาดเจ็บ

๒. ความผิดปกติของลักษณะทาทาง

๓. การกินอาหาร

๔. ความอยากอาหาร

๕. ลักษณะการกินอาหาร (ชา/ เร็ว) หรือ ไมกิน เนื่องจากการบาดเจ็บ ของ ล้ิน/ปาก/ ฟน

๖. วิเคราะหสาเหตุของอาหารท่ีเหลือวามีสาเหตุเนื่องจากอะไร (ใหอาหารมากเกินไป ใหน้ํานอยเกินไป, มีส่ิงสกปรกปนเปอน) หรืออาหารหมดเกล้ียง เนื่องจากอะไร (ใหนอยเกินไป อวน ผอม เกินไป)

๗. ตรวจดูอุจจาระมีความผิดปกติ (เหลว, กล่ินคาว, พยาธิ) ผานกระบวนการยอยมาดีหรือไม

Page 12: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

๘. ถามามีอาการผิดปกติดังกลาวควรวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก ซึ่ง คาปกติอยูระหวา ๙๙ – ๑๐๑° F (๓๗.๓ – ๓๘.๓ ° C) ถาพบวาอุณหภูมิตางจาก คาปกติ ≠ ๑° F (๐.๕ °C) การทําการตรวจโดยละเอียด เพื่อหาสาเหตุท่ีแทจริงอีกคร้ัง

เกร็ดความรูทั่วไปที่เกี่ยวของ

- อาหารท่ีเก็บไวนานมากเทาไรคุณคาของวิตามินท่ีมีอยูในอาหารหรืออาหารเสริมก็จะสูญเสียไปมากเทานั้น

- การคํานวณสูตรอาหาร ตามความตองการของมา ใหยึดถืออาหารหยาบเปนหลักกอน แลวจึงเพิ่มอาหารขน หรือธัญพืช ฯลฯ ตามสัดสวนความตองการของการใชงาน หรือออกกําลังกาย

- การใหอาหารท่ีตรงเวลาสม่ําเสมอสามารถชวยใหการยอยอาหารนั้นดีขึ้นไดและไดคุณคาทางอาหารมากขึ้น และทําใหมารูสึกสบายใจ

- มา ท่ีมีพยาธิมาก หรือ ฟนไมดี เปนสาเหตุใหญ ท่ีทําใหมามีสภาพไมสมบูรณแคระแกร็น แมจะไดรับอาหารดีก็ตาม

- ควรใหอาหารมาตามสัดสวนของการออกกําลัง หรือ การใชงานในแตละวัน ถาไมทํางานควรลดอาหารลง พลังงานท่ีไดรับมากจนเกินไปจากอาหาร จะทําใหมาตื่นตัว อยูไมสุข อุณหภูมิของรางกาย จะสูงขึ้น หงุดหงิด ปสสาวะบอย

- สารแคโรทีนมีอยู ๖๐๐ ชนิด แตมีเพียง ๒๐ ชนิดเทานั้น ท่ีมีประโยชนสําหรับมา เชน เบตา-แคโรทีน ท่ีอยูในหญาใบเขียวดีท่ีสุด ปริมาณหญา ๑ มก. ใหเบตา-แคโรทีน๐.๐๑ – ๐.๐๕ มก.ของวิตามินเอ

- มาไมสามารถดูดซึมแคโรทีนจากหญาแหงได เพราะวา ๘๐ % ของแคโรทีนสูญเสียไปภายใน ๓ เดือนหลังการเก็บเกี่ยวรักษา

- อาหารจําพวกแปง หรือ คารโบไฮเดรต ท่ีมาไดรับจากธัญพืชเกินกวา ๐.๔ %ของน้ําหนักตัว จะทําใหการยอยในลําไสลดลง ทําใหเกิดการหมักในลําไสตอนปลาย

- หลังการกินอาหาร ปริมาณเลือดท่ีไหลเวียนในระบบยอยอาหารเพิ่มจากเดิม๒๐% เปน ๒๗% แตปริมาณเลือดท่ีไปเล้ียงกลามเนื้อลดลงเพียง ๓% สันนิษฐานวา มาคงปริมาณการไหลเวียนเลือดท่ีกลามเนื้อไว เนื่องจากตองรักษาความจําเปนเพื่อการหนีจากผูลาเวลาหากิน

Page 13: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

- ปริมาณหญาแหง ๑ กก. ท่ีมากิน ตองการปริมาณน้ําเพื่อการสมดุลย ประมาณ๑๐ กก.จึงทําใหมามีน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น (ทุกๆ ๑ กรัม ของไฟเบอรสามารถจับน้ําได ๑ – ๕ มล.)มาจะกินน้ํามากกวาหญา ๓๓%

- ในมาแขงการใหอาหารหยาบอยางนอย ๐.๗๕ -๑ % ของน้ําหนักตัว จะทําใหลดน้ําหนักของลําไส และทําใหสภาพท่ัวไปดขีึ้น

- ถาเพิ่มไขมันในอาหาร ๑๐% ปริมาณอาหารท่ีกินจะลดลง ๒๒% มีความจุประมาณ ๓๑%ของลําไสและจุน้ําได ๑๒%

- ควร สนใจสังเกต มา ท่ีมีอายุมากขณะกินอาหารวามีปญหาใดหรือไม เชน เคี้ยวชา อาหาร ตกหลนจากปาก

- ควรใหสัตวแพทยตรวจฟนมาท่ีมีอายุมากทุก ๓ – ๖ เดือน เพื่อใหการรักษา หรือแกไขปญหาท่ีมีผลกระทบตอการเคี้ยวอาหาร

- ในมาท่ีไมคอยกินอาหารอาจใชวิตามินบี(เสริม) ปายท่ีล้ินวันละ ๒ คร้ัง ชวยใหรางกายแข็งแรงและกินอาหารไดมากขึ้น

- ขณะท่ีมาออกกําลังกายสูงสุด ความรอนท่ีเกิดจากการเผาผลาญพลังงาน จะมากกวาความรอนในเวลาท่ีมาพักประมาณ ๖๐ เทา

- ปกติมาจะราเริงดีใจเมื่อไดกินอาหาร เวนแต มาเกิดความเครียดทางรางกายทางจิตใจ ทางระบบการยอยอาหาร ซึ่งเปนเหตุใหไมสนใจกินอาหาร ไมอยากกิน ทําใหมีอาหารเหลือ

- ควรใหลูกมาแรกเกิดไดกินน้ํานมเหลืองของแมมาใน ๘ – ๑๒ ชม. นับแตเกิด(ประมาณ ๓ – ๕ ลิตร)

- แมมาจะผลิตน้ํานมเหลืองในชวง ๒ – ๓ วันแรกหลังคลอด และปริมาณของแอนติบอดี้จะสูงสุดในชวง ๖ – ๑๒ ชม. หลังคลอด

- ลูกมาแรกเกิดใน ๖ – ๑๒ ชม. แรก หามใหน้ํานมอื่นหรือน้ํา จนกวาลูกมาจะไดกินน้ํานมเหลืองเพราะจะทําใหกระบวนการดูดซึมแอนติบอดี้ในน้ํานมเหลืองหยุดลง

- น้ํานมเหลืองท่ีดูดซึมไดดีในชวง ๑๒ – ๑๖ ชม.แรกหลังคลอดสามารถใหภูมิตานทานโรคกับลูกมาไดถึงอายุ ๖ – ๙ สัปดาห แตถาไดรับน้ํานมเหลืองไมพอภูมิตานทานจะหมดไปใน ๕ – ๗ สัปดาห

- ๒๓ -

Page 14: คู่มืออาหารม้า

คูมือการใหอาหารมา ของกรมการสัตวทหารบก

- ลูกมาในทองแมจะเพิ่มขนาดเปน ๒ เทา และ มีน้ําหนักเพิ่มอีก ๖๐ %ในชวง ๓ เดือนสุดทายของการตั้งทอง

- ในระยะ ๓ เดือนกอนคลอด แมมาตองการสารอาหารเพิ่มขึ้น ดังนี้.-

- พลังงาน เพิ่มขึ้น ๒๐%

- โปรตีน และLysine เพิ่มขึ้น ๓๐%

- แคลเซียมและฟอสฟอรัส เพิ่มขึ้น ๘๐%

- ในระยะการใหนมลูกมา แมมาตองการสารอาหารเพิ่มขึ้น ดังนี้.-

- พลังงาน เพิ่มขึ้น ๗๐%

- โปรตีน เพิ่มขึ้น ๖๐%

- แคลเซียม เพิ่มขึ้น ๖๖%

- ฟอสฟอรัส เพิ่มขึ้น ๒๕%

- น้ําสะอาด เพิ่มขึ้น ๒ เทา

- ในมาใชงานหนักหรือฝกหนัก ควรใหอาหารกอนการฝกหรือใชงาน ๔ – ๕ ชม.และใหอาหารหลังการฝกหรือทํางานเสร็จแลวอยางนอย ๑ ชม.