92
เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรณีศึกษา: ถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร นางกมลพัฒน แยมประไพ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา ปการศึกษา 2546 ISBN 974-373 -- -- ---- ---- ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรณีศึกษา: ถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร

นางกมลพัฒน แยมประไพ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา

ปการศึกษา 2546 ISBN 974-373 -- -- ---- ----

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

Page 2: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

ประกาศคุณูปการ

วิทยานิพนธสําเร็จลุลวงดวยความกรุณาของ ทานอาจารย รศ. ดร. สิทธิชัย ตันธนะสฤษดิ์

ผศ. สุพิศวง ธรรมพันทา ผศ. บุปผา แชมประเสริฐ ดร.ทวิช บุญธิรัศมี และผูเชี่ยวชาญทุกทาน จึง

ขอกราบขอบพระคุณ ไว ณ โอกาสนี้ นอกจากนี้ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย ดร.สายหยุด

จําปาทอง ที่ไดกรุณาสละเวลามาเปนประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธในครั้งนี้

ขอขอบคุณ เพื่อนๆ พี่ๆ นองๆ สังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา รุนที่ 2 ที่ไดใหความชวยเหลือใน

การเก็บรวบรวมขอมูล และเปนกําลังใจจนวิทยานิพนธนี้แลวเสร็จ

คุณคาประโยชนของวิทยานิพนธเลมนี้ ขอมอบแดบุพการี ครูอาจารย และผูมีพระคุณทุกๆ

ทาน ดวยความเคารพอยางสูง

กมลพัฒน แยมประไพ

Page 3: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สารบัญ หนา

ประกาศคุณูปการ. …………..……………………..…………………… ค บทคัดยอภาษาไทย …..………………………………….………………. ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ..……………………………………………….… ฉ สารบัญเรื่อง ..……………………………………………………….…… ญ สารบัญแผนภาพ……………………………………………..……….….. ฎ สารบัญตาราง……………………………………………………………. ฏ สารบัญตาราง (ตอ)........................................................................... ฐ

บทที่ 1 บทนํา…………………………………………………………………….… 1

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา………………………………...…. 1

วัตถุประสงคของการวิจัย…………………………………………………. 3

ขอบเขตการวจิัย……………………………………………….…………… 3

นิยามศัพทเฉพาะ……………………………………………..………...….. 3

สมมติฐานการวิจัย……………………………………………………….… 4

กรอบแนวคิด……………………………………………………………….. 5

ประโยชนของการวิจัย……………………………………………...……… 6

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ….………………………………………..... 7

ความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและการจัดการขยะมูลฝอย..…………..……….. 7

แนวคิดการรับรูขาวสาร.........................………………………………….. 18

แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน...…..……………………….. 22

แนวคิดพฤติกรรม…….…………..…………………….………………..... 27

แนวคิดเจตคต.ิ..............……………………………………….…..………. 30

งานวิจัยที่เกี่ยวของ…………………………………………………………. 34

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวจิัย ………………………………………………………….. 36

ประชากรและกลุมตัวอยาง………………………….……………………… 36

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย…………………………………………………… 38

การเก็บรวบรวมขอมูล …………………………………………………….. 40

การวิเคราะหขอมูล ..............................................…………………………. 41

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมลู..................................................................... 41

Page 4: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที ่4 ผลการวิเคราะหขอมูล………………………………………………………… 43

ผลการวิเคราะหขอมูลทัว่ไป……………………………………..…………… 43

ผลการทดสอบสมมติฐาน...…………………………………...…..…………. 52

บทที ่5 สรุปและอภิปรายผล……………………………………………..…………… 58

สรุปผลการวิจยั………………………………….…………………………… 58

สรุปและอภิปรายผลการศึกษาวิจยั…………………………………………… 59

ขอเสนอแนะ ………………………………..……………………………….. 69

ขอเสนอแนะในการวิจัยตอไป ………………………………………….…… 70

บรรณานุกรม………………………………………………………………………….. 71

ภาคผนวก……………………………………………………………………………… 75

แบบสอบถาม ………………………………………………………………... 76

รายชื่อผูเชี่ยวชาญ................................................................................... 84

ประวัติผูวิจัย………………………………………………………………………… 88

Page 5: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สารบัญแผนภาพ หนา แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย……………………………………….…………. 6

Page 6: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สารบัญตาราง หนา

ตารางที่ 1 แหลงกาํเนิดของขยะมูลฝอย…………………………………….. 9

ตารางที่ 2 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม..........…………………….. 43

ตารางที่ 3 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ

แบบสอบถามความรูเกีย่วกบัมูลฝอย……………………………. 46

ตารางที่ 5 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ

แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยดานการรับรูขาวสารเกี่ยวกับ

ขยะมูลฝอยของประชาชน...................................................……... 48

ตารางที่ 5 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ

แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยดานการมีสวนรวมของประชาชน….. 49

ตารางที่ 6 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ

แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยดานเจตคติตอการบริการเก็บขน

ขยะมูลฝอย..................................................................................…. 51

ตารางที่ 7 การวิเคราะหความแปรปรวนเจตคติในการบริการเก็บขนมูล

ฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และตัวแปรตามตางๆ

จําแนกอาชีพ................................................................................... 52

ตารางที่ 8 การวิเคราะหความแปรปรวนเจตคติในการบริการเก็บขนมูล

ฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และตัวแปรตามตางๆ

จําแนกลกัษณะที่พกัอาศัย.............................................................. 53

ตารางที่ 9 คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอย

ของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรความรูเกี่ยวกับ

มูลฝอย........................................................................................... 54

ตารางที่ 10 คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอย

ของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการรับรูขาวสาร

เกี่ยวกับขยะมลูฝอยของประชาชน................................................ 55

Page 7: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สารบัญตาราง (ตอ) หนา

ตารางที่ 11 คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอย

ของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการรับรูขาวสาร

เกี่ยวกับขยะมลูฝอยของประชาชน....................................................... 56

Page 8: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

บทที่ 1 บทนํา

ความสําคัญและความเปนมาของปญหา

การพัฒนาและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในรอบ 10 ปที่ผานมา รวม

ทั้งการเพิ่มจํานวนของประชากร และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคหรือวิถีชีวิตของคน

ไทย ไดสงผลใหมีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ประกอบกับการดําเนินงานของ

หนวยงานภาครัฐยังเนนการแกไขปญหาที่ปลายเหตุ และมีปญหาดานการบริหารจัดการขยะมูล

ฝอย ทําใหการกําจัดขยะมูลฝอยเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพ การเก็บขนขยะมูลฝอยและการ

ขนสงขยะมูลฝอยไมเอื้ออํานวยตอเจาของแหลงกําเนิดในการคัดแยกขยะมูลฝอย รวมทั้งการ

ดําเนินงานเก็บรวบรวมและขนสงยังไมถูกตองจนทําใหเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญ และสงผล

กระทบตอประชาชน มีขยะตกคางในชุมชน เนื่องจากระบบเก็บรวบรวมและขนสงไมทั่วถึง และ

ประชาชนมีการทิ้งขยะมูลฝอยอยางไมถูกตอง ประกอบกับระบบการเก็บขนขยะและของเสียไม

มีระบบการเก็บที่ถูกตองตามหลักวิชาการ จึงสงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนและกอให

เกิดปญหาสิ่งแวดลอม (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ 2546: 10)

จากปญหาดานสิ่งแวดลอม สาเหตุสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่ม

มากขึ้น และเปนแหลงขยะมูลฝอยที่แทจริงก็คือ ชุมชน ซึ่งเปนผูผลิตขยะมูลฝอยจากการ

บริโภคและการทิ้งของคนในชุมชน จากตัวเลขที่แสดงปริมาณขยะ พบวาในป พ.ศ.2544

กรุงเทพมหานครมีปริมาณขยะมูลฝอย 9,400 ตันตอวัน และคาดวาจะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น

(กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติ 2546: 1) ภาระของกรุงเทพมหานครในการจัดเก็บและทําลาย

ขยะมูลฝอยจึงนับวาเปนปญหาหลักที่ตองการการแกไขอยางเรงดวน ถาการบริหารจัดการไมดี

ชุมชน และประชาชนไมใหความรวมมือในการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยรวมทั้งการรักษาความ

สะอาด ปญหาขยะมูลฝอยก็จะทวีความรุนแรงมากขึ้น การจัดการขยะตองอาศัยความรวมมือ

จากสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและประชาชน โดยเฉพาะวิธีการจัดเก็บและการทําลาย

ตองอาศัยเครื่องมือที่ทันสมัย และเทคโนโลยี ซึ่งตองใชงบประมาณสูง จากการดําเนินงานที่

ผานมายังไมสามารถแกปญหาอยางไดผล เนื่องจากปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้น เครื่อง

มือที่มีอยูและวิธีการจัดการมูลฝอยยังขาดประสิทธิภาพ และเปนการแกไขปญหาที่ปลายเหตุ

การจัดการขยะมูลฝอยใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนั้นตองมาจากการลดปริมาณของ

Page 9: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

2

มูลฝอย จึงจําเปนตองมีการจัดการที่เปนระบบและเปนกระบวนการ นับต้ังแตการลดปริมาณ

ขยะมูลฝอยการคัดแยกมูลฝอยกอนนําทิ้ง จะเปนหนทางที่จะชวยเสริมประสิทธิภาพการจัดการ

มูลฝอยและเปนการลดคาใชจายในการดําเนินการ ทั้งยังเปนการชวยอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสภาพแวดลอมโดยรวมดวย ส่ิงสําคัญจะตองอาศัยความรวมมือ

จากประชาชนในฐานะเปนผูผลิตขยะมูลฝอยหรือเปนผูทิ้ง

กรุงเทพมหานครไดกําหนดแนวทางและเปาหมาย โดยจะระดมความรวมมือจากผู

อาศัยในชุมชน ใหดําเนินการพัฒนารวมกัน โดยมุงหวังใหประชาชนตองมีสวนรวมในการแกไข

ปญหาและยังถือวาผูที่กอปญหาตองมีสวนในการแกไขปญหาดวย เพื่อชวยบํารุงรักษาพัฒนา

เมืองใหสะอาดเรียบรอยนามีหนวยงานที่ทําหนาที่จัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยรับผิดชอบดูแล คือ

สํานักรักษาความสะอาดกรุงเทพมหานครและสํานักงานเขต ไดจัดทําโครงการรักษาความ

สะอาดและการจัดเก็บขยะมูลฝอยตาง ๆ เพื่อนํามาใหบริการอยางมีประสิทธิภาพ โดยมุงให

ความรูและขาวสารเกี่ยวกับอันตราย พิษภัยและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากขยะมูลฝอยแก

ประชาชนและสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการลดปริมาณขยะมูลฝอยและคัดแยกกอนทิ้ง

(กรุงเทพมหานคร: 2543) รวมทั้งสนับสนุนใหองคกรสวนทองถิ่นที่รับผิดชอบมีระบบการจัดเก็บ

และขนสงขยะมูลฝอยจากชุมชนอยางถูกตอง

ผูวิจัยในฐานะรับผิดชอบงานรักษาความสะอาดของเขตบางคอแหลมเห็นวา การแกไข

ปญหาเกี่ยวกับขยะมูลฝอยในเขตบางคอแหลม ซึ่งมีที่พักอาศัย สถานที่ราชการและเอกชน และ

ประชาชนที่มีอาชีพหลากหลาย มีสวนในการรับผิดชอบและกอใหเกิดเจตคติที่ดีในการจัดการ

ขยะมูลฝอยที่ได ผูวิจัยจึงไดสนใจศึกษาเรื่อง "เจตคติตอการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบาง

คอแหลม กรณีศึกษา: ถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร" จะเปนประโยชนในการนําความรูที่ได

จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกตใชในการใหบริการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของสํานักงานเขตให

มีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังเปนการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม และเปนการใหบริการประชาชน

ในการเก็บขนขยะอยางมีประสิทธิภาพ

Page 10: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

3

วัตถุประสงคในการวิจัย

1.เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ เขตบาง

คอแหลม กรุงเทพมหานคร

2.เพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการใหบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

กรุงเทพมหานคร เพื่อใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ขอบเขตของการวิจัย

ประชากรที่ใชในการศึกษาเปนกลุมประชากรอาชีพตางๆ ในเขตความรับผิดชอบของ

เขตบางคอแหลม ที่ตั้งอยูบนถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร แยกตามสถานที่พักอาศัยและ

สถานที่ทํางาน ประกอบดวย บานพักอาศัย สถานที่ราชการและเอกชน ศาสนสถาน โรงเรียน

สถานพยาบาล ตลาดสด และคอนโดมิเนียม

นิยามศัพทเฉพาะ อาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพของบุคคลเชน รับราชการ พนักงานองคกรเอก

ชน แมคา นักบวช แมบาน

สถานที่อยู หมายถึง สถานที่พักอาศัย หนวยงานราชการและหนวยงานเอกชนที่อยูบน

ถนนเจริญกุล ไดแก ที่พักอาศัย คอนโดมิเนียม โรงเรียน วัด โรงพยาบาลและสถานพยาบาล

ตลาดสด และสถานที่พักชั่วคราว

ความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอย หมายถึง การที่ประชาชนมีความรูความเขาใจทั่วไปเกี่ยว

กับขยะมูลฝอย ในเรื่องของความหมาย ชนิดของขยะมูลฝอย แหลงที่มาของมูลฝอย การ

กําจัดมูลฝอย การคัดแยกขยะมูลฝอย พิษภัยอันตรายและผลกระทบจากขยะมูลฝอย

ขยะมูลฝอย หรือมูลฝอย หมายถึง บรรดาส่ิงของที่คนไมตองการใชแลว ซึ่งสวนใหญ

เปนของแข็งทั้งอินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุ รวมตลอดถึงขี้เถา ซากสัตว ฝุนละอองและเศษ

วัตถุตางๆที่ทิ้งจากบานเรือน ที่อยูอาศัยและสถานที่ตางๆ ซึ่งแบงไดเปน 3 ชนิดคือ ขยะที่เปน

เศษอาหารหรือขยะเปยก ขยะที่นํากลับมาใชใหมไดหรือขยะแหง และขยะพิษหรือขยะมูลฝอย

อันตราย

Page 11: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

4

เจาหนาที่เก็บขนมูลฝอย หมายถึง พนักงานเก็บขนมูลฝอยที่อยูประจํารถเก็บขนมูล

ฝอยแตละประเภท ไมรวมคนขับรถ ทําหนาที่ใหบริการเก็บขนมูลฝอย

การบริการเก็บขนขยะมูลฝอย หมายถึง กิจกรรมตั้งแตการขนถายมูลฝอยจาก

ภาชนะรองรับมูลฝอย เขาสูรถเก็บมูลฝอยไปจนถึงการขนมูลฝอยนั้นไปถายเทไวที่จุดหมาย

ปลายทาง จําแนกเปน การเก็บขนมูลฝอยที่ใชรถเก็บขนวิ่งเก็บขนมูลฝอยจากภาชนะรองรับมูล

ฝอยที่ตั้งอยูบนถนน ปากซอย จอดรถเก็บขนมูลฝอยเปนจุด เก็บขนมูลฝอยจากภาชนะรองรับ

ของเจาของโดยนําภาชนะรองรับเปลาไปคืน หรือเจาของนําภาชนะกลับคืนไปเอง

การรับรูขาวสาร หมายถึง การรับรูขาวสารประชาชน โดยการรณรงค ประชาสัมพันธให

ประชาชนเขาใจถึงการคัดแยก การเก็บขนขยะมูลฝอย

การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย หมายถึง การมีสวนรวมในการบริหารจัด

การมูลฝอยในชุมชน โดยประชาชนชวยกันรักษาความสะอาดในชุมชนโดยการลดปริมาณขยะ

มูลฝอยชุมชน ซึ่งเปนมูลฝอยที่ถูกปลอยออกมาจากบานพักอาศัย รานคา ตลาด สถานที่ราช

การตางๆ ที่อยูในชุมชนนั้น และเขารวมกิจกรรม หรือโครงการตาง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น

เจตคติ หมายถึง ระดับความความรูสึกหรือความพอใจตอการการบริการเก็บขนขยะ

มูลฝอยของเจาหนาที่เก็บขนขยะ ไดแก การจัดเก็บขนขยะมูลฝอยดวยระบบการคัดแยก การ

ใหบริการตามเวลาที่กําหนด

สมมติฐานของการวิจัย จากกรอบแนวความคิดที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชเปนแนว

ทางกําหนดสมมติฐานเพื่อใชตอบปญหาการวิจัยตามวัตถุประสงคคือ

สมมติฐานที่ 1 ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูล

ฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน

สมมติฐานที่ 2 ประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะแตกตางกันมีเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน

สมมติฐานที่ 3 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธ

กับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สมมติฐานที่ 4 การรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับ

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

Page 12: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

5

สมมติฐานที่ 5 การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับ

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

กรอบแนวความคิด

จากการวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาภายใตแนวคิดและทฤษฎีการเกี่ยวกับ ความรูเร่ืองขยะมูล

ฝอย ของ ยุพิน ระพิพันธุ (2544 : 24 – 26)) ที่อธิบายถึง วัสดุส่ิงของที่ไมตองการใช ซึ่งสวน

ใหญเปนของแข็งของเนาเปอยไดหรือไมก็ตาม ตลอดจนขี้เถา ซากสัตว มูลสัตว ฝุนละอองและ

เศษวัตถุที่ทิ้งแลวจากบานเรือน ที่พักและสถานที่ตางๆ และการจัดการขยะมูลฝอย ที่อธิบายให

เห็นถึงแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชน มาใชรวมกับระบบการเก็บขนมูลฝอย ของธเนศ

ศรีสถิตย (2537:1-10 ) อธิบายถึงการบริการจัดเก็บมูลฝอยอยางมีประสิทธิภาพ ทฤษฎีการรับรู

ขาวสารของ ของนรินทร พัฒนาพงศ (2542:3) ที่อธิบายถึง การสื่อสารจะทําหนาที่ประสาน

ความเขาใจในการที่จะใหเกิดการผลดีตอการบริหารงานใหประสบผลสําเร็จ แนวคิดทฤษฎี

การมีสวนรวมของประชาชนของ โคเฮนและอัฟฮอฟฟ และไพรัตน เตชะรินทร (2527 : 6-7) ที่

กลาวถึงการมีสวนรวมของประชาชนทําใหการทํางานประสบผลสําเร็จ แนวคิดเกี่ยวกับพฤติ

กรรมของ ลลิตา โภชนพันธ (2539 : 15-16) ที่อธิบายถึงพฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู และ

ประสบการณในการทํางานสงผลใหเกิดเจตคติได และแนวคิดเจตคติ ที่อธิบายถึง เจตคติเกิด

จาก ความรู ความรูสึก และพฤติกรรม นํามาศึกษารวมกับหลักฐานเชิงประจักษจากงานวิจัยที่

ผานมา นํามาทําการวิเคราะหและสังเคราะห เพื่อใชเปนกรอบแนวความคิดเพื่อการศึกษา

วิจัยในครั้งนี้ ดังรายละเอียดที่แสดงไวใน แผนภาพที่ 1

Page 13: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

6

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิด

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

-อาชีพ -สถานที่อยู -ความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอย -การรับรูขาวสาร -การมีสวนรวมในการจัดการ มูลฝอย

เจตคติตอการบริการเก็บขน ขยะมูลฝอยของเขต

บางคอแหลม

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย

1.เพื่อทราบถึงปจจัยที่มีผลกระทบตอเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบาง

คอแหลม กรุงเทพมหานคร

2.เพื่อทราบแนวทางในการปรับปรุงการใหบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

กรุงเทพมหานคร เพื่อใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3.สามารถนําผลที่ไดไปเปนแนวทางแกไขหรือพัฒนาสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ

Page 14: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาคนควาทบทวนเอกสารตางๆ และผลงานวิจัยที่เกี่ยว

ของตามลําดับที่จะนําเสนอตอไปนี้

1.ความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและการจัดการขยะมูลฝอย

2. แนวคิดเกี่ยวกับการรับรูขาวสาร

3.แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน

4.แนวคิดพฤติกรรม

5.แนวคิดเกี่ยวกับเจตคติ

6.งานวิจัยที่เกี่ยวของ

1. ความรูเก่ียวกับขยะมูลฝอยและการจัดการขยะมูลฝอย

1.ความหมาย 1.1 ขยะมูลฝอย ตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484 (แกไขเพิ่มเติม

ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2497)

“มูลฝอย” หมายถึง บรรดาส่ิงตางๆ ที่คนไมตองการและทิ้งไป ซึ่งสวนใหญเปน

ของแข็งจะเนาเปอยไดหรือไมก็ตาม และของออนที่มีความชื้น ทั้งนี้รวมถึงขี้เถา ซากสัตว ฝุน

ละออง เศษผาเศษอาหาร เศษกระดาษ และเศษวัสดุส่ิงของทั้งที่เก็บกวาดจากเคหะสถาน

อาคาร ถนน ตลาด สถานที่เลี้ยงสัตว โรงงานอุตสาหกรรมและอื่นๆ

ในทางวิชาการ จะใชคําวา “ขยะมูลฝอย” (Solid Waste) หมายถึง วัตถุส่ิงของที่ไม

ตองการใชแลว ซึ่งสวนใหญเปนของแข็งจะเนาเปอยไดหรือไมก็ตาม รวมตลอดถึงขี้เถา ซาก

สัตว มูลสัตว ฝุนละอองและเศษวัตถุที่ทิ้งแลวจากบานเรือน ที่พักอาศัย สถานที่ตางๆรวมถึง

สถานที่สาธารณะ ตลาด และโรงงานอุตสาหกรรม ยกเวน อุจจาระ และปสสาวะของมนุษย ซึ่ง

เปนสิ่งปฏิกูลที่ตองการเก็บและกําจัดที่แตกตางไป

กรุงเทพมหานคร (กองวิชาการและแผน 2543) ไดใหความหมายไวดังนี้

ขยะมูลฝอย (Solid Waste) หมายถึง วัตถุส่ิงของที่ทิ้งจากอาคารบานเรือนสถาน

ที่ทํางานและจากอุตสาหกรรม ไดแก เศษอาหาร เศษสิ่งของตาง ๆ เครื่องใช วัสดุที่เหลือจาก

การรื้อทําลาย หรือการกอสราง ซากรถยนต และตะกอนจากน้ําเสีย เปนตน

Page 15: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

8

กรุงเทพมหานคร (กองวิชาการและแผน 2543) ไดใหความหมาย ขยะพิษจากชุม

ชน (Household Hazardous Waste) ไวไดแก หลอดไฟ หลอดฟลูออเรสเซนต ถานไฟฉาย สี

สเปรย เครื่องสําอางหมดอายุ แบตเตอรี ยารักษาโรคที่หมดอายุ น้ํามันเครื่อง น้ํามันเบรกรถ

ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑตอไปนี้ น้ํายาทําความสะอาดเครื่องสุขภัณฑ น้ํายารักษาเนื้อไม น้ํายา

ขัดเงาไม น้ํายาขัดเงาโลหะ กาว สีทาบาน ทินเนอร แลกเกอร สารฆาแมลง สารกําจัดวัชพืช สาร

ฆาสัตวที่รบกวน และภาชนะใสปุยเคมี เปนตน ขยะพิษ ควรตองแยกและรวบรวมใสถุง นําไป

ทิ้งในถังรองรับขยะพิษ

1.2 ชนิดของขยะมูลฝอย วิรัช ชมชื่น (2537 : 28 ) ไดอธิบายเกี่ยวกับชนิดของขยะมูลฝอยไวดังนี้

1.2.1 ขยะมูลฝอยเปยก (Garbage) เปนขยะมูลฝอยที่ประกอบดวยอินทรียวัตถุที่

เนาเปอยงายมีความชื้นสูง เกิดการยอยสลายโดยจุลินทรียไดงายเมื่อปลอยทิ้งไวระยะหนึ่งจะ

เกิดการเนาเปอยสงกลิ่นเหม็น เปนแหลงเพาะพันธุของเชื้อโรค ขยะมูลฝอยชนิดนี้ไดแก เศษ

อาหาร เศษผัก เปลือกผลไม เปนตน

1.2.2 ขยะมูลฝอยแหง (Rubbish) เปนขยะมูลฝอยที่ยอยสลายดวยจุลินทรียไดยาก

หรือยอยสลายไมได มีความชื้นต่ํา บางชนิดติดไฟและเปนเชื้อเพลิงไดดี บางชนิดไมติดไฟและ

ทําเปนเชื้อเพลิงไมได เชน เศษอาหาร เศษไม เศษแกว เศษโลหะ กระปอง เปนตน

1.2.3 ข้ีเถา (Aahes) เปนกากเชื้อเพลิงที่ผานการเผาไหมแลว เชน ข้ีเถาถาน ข้ีเถา

แกลบ เปนตน ขยะมูลฝอยชนิดนี้ถากําจัดหรือควบคุมไมดีจะเกิดการฟุงกระจาย ทําให

สกปรกเลอะเทอะเกิดมลพิษทางอากาศได

1.2.4 ซากสัตว (Dead Animals) เปนซากสัตวที่ตายและไมไดใชใหเกิดประโยชน

เชน ซากหนู สุนัข แมว ฯลฯ ซึ่งซากเหลานี้ถาปลอยทิ้งไวจะเนาเหม็นมาก เปนที่เพาะพันธุ

แมลงและเชื้อโรค

1.2.5 เศษกอสราง (Construction Refuse) ไดแก เศษคอนกรีตที่แตกเปนชิ้นเล็ก

ชิ้นนอย เศษอิฐ เศษไม และเศษโลหะตาง ๆ เศษหิน ปูน ทราย ขยะมูลฝอยเหลานี้ทําให

ขาดความสวยงามไมเปนระเบียบ

1.2.6 มูลฝอยจากถนน (Street Seepings) ไดแก ฝุน ผง ดิน หิน ใบไม เศษ

กระดาษ เศษไม และเศษโลหะตาง ๆ ที่ไดจากการกวาดถนน ขยะมูลฝอยเหลานี้ทําใหถนน

สกปรกเลอะเทอะ

1.2.7 มูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Refuse) โรงงานอุตสาหกรรม

Page 16: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

9

แตละแหงจะมีขยะมูลฝอยแตกตางกันไป ทั้งนี้แลวแตกิจกรรมของแตละโรงงาน เชน โรงงาน

ผลิตอาหารจะมีขยะมูลฝอยจําพวกเศษอาหารชนิดตาง ๆ และเศษภาชนะบรรจุอาหารปะปน

อยูสูง ซึ่งจะเปนขยะมูลฝอยสดมากกวาขยะมูลฝอยแหง

1.2.8 ขยะมูลฝอยจากกสิกรรม ไดแก ของเสียที่เกิดจากกิจกรรมทางกสิกรรม เชน

เศษพืช หญา ฟางขาว มูลสัตว เปนตน

1.2.9 ขยะมูลฝอยพิเศษ เปนของเสียซึ่งมีอันตรายสูง เชน ขยะมูลฝอยที่ปนเปอนเชื้อ

โรคที่ไดจากโรงพยาบาล ของเสียจากกัมมันตรังสี และของเสียที่เปนสารเคมี เปนตน ของเสีย

เหลานี้ตองกําจัดและควบคุมเปนพิเศษไมใหเกิดอันตรายตอมนุษย

1.3 การจําแนกประเภทของขยะมูลฝอย วิรัช ชมชื่น (2537 : 28 ) กลาววา มูลฝอยที่เกิดขึ้น สามารถจําแนกประเภทตาม

ลักษณะของแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยได ดังนี้ ตารางที่ 1 แหลงกําเนิดของขยะมูลฝอย

แหลงกําเนิด ชนิดของขยะมูลฝอย สวนประกอบ

1.อาคารบานเรือน

ภัตตาคาร รานคา

สถานที่ทํางาน

ตลาดสด

- ขยะมูลฝอยเปยก

(Garbage)

เปนขยะมูลฝอยที่เกิดจากการเตรียมการ

ประกอบหรือบริการอาหาร ขยะมูลฝอยจาก

ตลาดจากการเก็บอาหารการซื้อขายอาหาร

และผลผลิตเกี่ยวกับอาหาร

- ขยะมูลฝอยแหง

(Rubbish)

พวกที่ไหมไฟได เชน กระดาษ กระดาษ

แข็ง หีบหรือกลอง เศษไม กิ่งไม ใบไม

หญาเครื่องเรือนเครื่องใช

พวกที่ไมไหมไฟ เชน เหล็กและโลหะอื่น ๆ

กระปอง เครื่องเรือน เครื่องใชที่ทําจาก

โลหะ แกว เครื่องปนดินเผา

- ข้ีเถา (Ash) ส่ิงที่เหลือจากการเผาไหม

2.ถนน ขางถนน

บริเวณที่ดินรกราง

วางเปลา

-ขยะมูลฝอยที่เก็บกวาด

จากถนน

- ซากพืช

- เศษชิ้นสวนของ

ยานพาหนะ

ดิน เศษหิน ผง ฝุน ใบไม

สุนัข แมว ฯลฯ

ซากรถยนต ยานพาหนะอื่นๆ

Page 17: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

10

แหลงกําเนิด ชนิดของขยะมูลฝอย สวนประกอบ

3.บริเวณที่มีการ

กอสราง การรื้อถอน

อาคาร

- เศษสิ่งกอสราง ไม อิฐ เศษคอนกรีต หิน

4.โรงงานอตุสาหกรรม

โรงไฟฟา โรงพยาบาล

- ขยะมูลฝอยจาก

กิจการอุตสาหกรรม

- ขยะมูลฝอยพิเศษ

มีลักษณะเฉพาะของอตุสาหกรรมแตละ

ประเภท

ขยะมูลฝอยที่เปนสารพิษ ขยะมูลฝอยที่ติด

เชื้อวัตถุระเบิด วัตถุแผรังสี

5. ฟารมที่เลี้ยงสัตว -ขยะมูลฝอยจากการ

เกษตร

มูลสัตว เศษหญา เศษฟาง

6. โรงงานบําบัดน้ําเสีย - ขยะมูลฝอยจากการ

บําบัดน้ําเสีย

พวกของแข็งที่ติดตะแกรง

1.4 การกําจัดขยะมูลฝอย

การจํากัดขยะมูลฝอยที่ใชอยูในปจจุบันมี 4 วิธีการ ดังนี้คือ 1.4.1 การหมักทําปุย (Composting) การหมักขยะมูลฝอยเพื่อทําปุย คือ การยอยสลายอินทรียวัตถุที่มีอยูในขยะ

มูลฝอยโดยอาศัยขบวนการทางชีวเคมีของจุลินทรีย ภายใตสภาวะที่เหมาะสมในดานความชื้น

อุณหภูมิ ปริมาณ ออกซิเจน รวมทั้งอัตราสวนระหวางคารบอนและไนโตรเจน ทําใหไดแรธาตุ

ที่คอนขางคงรูปมีคุณคาตอการบํารุงดิน 1.4.2 การนําไปเผา (Incineration) การเผาขยะมูลฝอยในเตาเผาที่ถูกหลักสุขาภิบาล เปนขบวนการเผาไหมของ

เสียทั้งสวนที่เปนของแข็ง ของเหลวและกาซ ซึ่งตองใชความรอนสูงเพื่อทําใหการเผาไหมเปนไป

อยางสมบูรณไมทําใหเกิดกลิ่นและควันรบกวนรวมทั้งไมทําใหเกิดปญหาดานมลภาวะทาง

อากาศ

Page 18: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

11

1.4.3 การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill)

การฝงกลบขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาลเปนวิธีการที่ควบคุมและดูแล

ไดงายกวา 2 วิธีขางตน โดยการฝงกลบนี้ขยะมูลฝอยจะถูกนํามาเทกองบนพื้นที่ไดเตรียมไว

แลวใชเครื่องจักรกลบดอัดใหแนนเพื่อลดปริมาตรของขยะมูลฝอยใหเล็กลง จากนั้นจึงใชดิน

กลบทับดานบนและบดอัดใหแนนสลับกันไป ซึ่งจะทําใหเกิดลักษณะเปนชั้นและมีความสูงเพิ่ม

มากขึ้นตามระดับที่กําหนดไว ซึ่งชั้นความสูงของการกลบนี้จะขึ้นอยูกับสภาพของภูมิประเทศ

ของพื้นที่ที่ใชในการฝงกลบ 1.4.4 การลดปริมาณและการคัดแยก การกําจัดดวยวิธีนี้ไมใชการกําจัดขยะมูลฝอยที่สมบูรณ เพราะหลังจากลด

ปริมาณของขยะมูลฝอยลงไดแลว สวนที่เหลือยังตองนําไปฝงกลบ หรือเผา เพียงแตปริมาณ

ของขยะมูลฝอยที่ตองกําจัดนั้นมีนอยลงทําใหประหยัดงบประมาณ พื้นที่และพลังงาน นอกจาก

นี้ยังเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มรายไดอีกดวย โดยปริมาณของขยะมูลฝอยจะ

ลดลงไดดวยการทําใหมันเกิดขึ้นนอยลง การลดปริมาณขยะมูลฝอยจะเกิดขึ้นไดมากนอยเพียง

ใด ข้ึนอยูกับความรวมมือของหลาย ๆฝาย คือ ฝายรัฐบาล ผูประกอบการ ตลอดจนประชาชน

ทุกคน แตละฝายจะมีหนาที่และความรับผิดชอบแตกตางกันออกไป

การคัดแยกขยะมูลฝอย กรุงเทพมหานคร (กองวิชาการและแผนงาน

2543) ไดจัดทําแนวทางในการลดปริมาณและการแยกขยะมูลฝอย โดยใช แนวคิด 4RS

ประกอบดวย 4 วิธีการดังนี้คือ

1. ลดการใช เปนการลดการบริโภคสินคาฟุมเฟอย ใชอยางประหยัด และ

ใชเทาที่จําเปน เชน ทําอาหารใหพอดีรับประทาน เลือกซื้อสินคาที่ไมบรรจุหอหลายชั้น ใชผา

เช็ดหนา แทนกระดาษทิชชู พกถุงผาไปตลาด

2. การซอมแซม เปนการซอมแซมวัสดุส่ิงของที่ชํารุด ใหอยูในสภาพที่ดีใช

งานไดนาน ไมตองทิ้งเปนขยะหรือตองสิ้นเปลืองซื้อใหม

3. การใชซํ้า เปนการนําสิ่งของที่ใชแลวกลับมาใชใหมในรูปแบบเดิม หรือ

ใชประโยชนใหคุมคา เชน ขวดแกวนําไปลางไวใสน้ําดื่ม การนํากระดาษมาใช สองหนา

4. การนํากลับมาใชใหม เปนการนําขยะมาแปรรูป ผานกระบวนการผลิต

ออกมาเปนผลิตภัณฑเพื่อนํามาใชใหม ทําใหไมตองนําทรัพยากรธรรมชาติมาผลิตสิ่งของตางๆ

แตใชขยะเปนวัตถุดิบทดแทนในการผลิตตางๆ เชน การนําขวดแกวที่ใชแลวกลับไปหลอมใหม

เปนตน

Page 19: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

12

ในการดําเนินการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยเพื่อใหไดผลที่ดีที่สุด ควรจะใหมีการคัดแยก

ประเภทตั้งแตแหลงกําเนิดของขยะมูลฝอย โดยเฉพาะอยางยิ่งจากครัวเรือน แตทั้งนี้จะตองได

รับความรวมมือและการยอมรับจากครัวเรือนจึงจะประสบผลสําเร็จ

ดังนั้น ข้ันตอนในการปฏิบัติเพื่อใหไดรับความรวมมือจากทุกชุมชน ในการคัดแยก

ประเภทขยะมูลฝอยควรจะประกอบดวย

1. ใหชุมชน (ครัวเรือน) เปนผูรับผิดชอบหรือมีความรูเปนเจาของโครงการนี้เอง ซึ่ง

ตองรับผิดชอบตอความสําเร็จหรือลมเหลวที่เกิดขึ้น

2. จัดระบบเก็บขนใหเหมาะสม โดยเฉพาะการจัดเก็บขยะมูลฝอยจากบาน

3. จัดหาภาชนะหรือถังขยะมูลฝอยแยกประเภทบริการแกครัวเรือน และชุมชนใหทั่ว

ถึง

4. มีการเก็บขนขยะมูลฝอยที่แยกประเภททุกวัน เชนเดียวกับขยะมูลฝอยทั่วไป

5.ประชาสัมพันธดวยวิธีการตางๆเพื่อใหชุมชนรับทราบโครงการ และผลที่ไดรับจาก

โครงการการรณรงคเพื่อใหชุมชนเกิดความรวมมือในการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย และ

ประโยชนอีกประการหนึ่งของการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย คือ ทําใหสามารถวางแผนการ

กําจัดขยะมูลฝอยครั้งสุดทายไดอยางเหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

1.5 ผลกระทบและปญหาที่เกิดจากขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยที่เกิดจากชุมชน มีความจําเปนอยางยิ่งในการที่จะตองกําจัด หากไมมี

การเก็บและกําจัดอยางถูกตองหรืออยางเหมาะสมแลว จะทําใหเกิดปญหาตาง ๆ ตอชุมชน

คือ

1.5.1 เกิดมลภาวะตอส่ิงแวดลอม (Pollution) ขยะมูลฝอยเปนสาเหตุที่สําคัญอยาง

หนึ่งที่ทําใหส่ิงแวดลอมตาง ๆ ของชุมชนเกิดมลพิษ เชน น้ําเสีย อากาศเสีย เกิดการปนเปอน

ของดิน เปนตน

1.5.2 แหลงเพาะพันธุของเชื้อโรคและแมลง ( Breeding Places ) ในขยะมูลฝอย

อาจจะมีเชื้อโรคที่ทําใหเกิดโรคตางๆปะปนมา เชน มูลฝอยจากโรงพยาบาล และการสะสม

ของมูลฝอยที่เก็บขนมา ถากําจัดไมถูกตองจะเปนแหลงเพาะพันธุแมลงวันและหนู ซึ่งจะเปน

พาหะนําโรคมาสูคน

1.5.3 การเสี่ยงตอสุขภาพ ( Health risk ) ชุมชนที่ขาดการกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี

และถูกตองตามหลักเกณฑการสุขาภิบาล จะทําใหประชาชนเสี่ยงตอการเปนโรคตาง ๆ ไดโดย

Page 20: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

13

งาย เชน โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หรือ พยาธิชนิดตาง ๆ เนื่องจากขยะมูล

ฝอยเปนแหลงเพาะพันธุของแมลง ฉะนั้น การแพรของโรคยอมเปนไดงาย นอกจากนั้นยังมี

อันตรายที่เกิดจากขยะพิษ เชน หลอดฟลูออเรสเซนต มีสารปรอท ทําใหปวดศรีษะ ออนเพลีย

ประสาทหลอน หรือการไดรับสารตะกั่ว จากแบตเตอรี่รถยนต ยาฆาแมลงก็จะทําใหออนเพลีย

ซีด ปวดเมื่อยตามกลามเนื้อ ความจําเสื่อม ชักกระตุกและหมดสติได

1.5.4 การสูญเสียทางเศรษฐกิจ ( Esthetics Economic Loss ) ชุมชนจะตองเสีย

คาใชจายสําหรับกําจัดขยะมูลฝอยเปนประจําอยูแลว และถาการกําจัดไมถูกตอง ยอมสงผล

กระทบตอเศรษฐกิจดานอื่น ๆ เชน นําขยะมูลฝอยทิ้งลงในแหลงน้ํา ก็จะสงผลใหเกิดน้ําเสีย

เปนอันตรายตอสัตวน้ํา ซึ่งจะเปนการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมา เปนตน

1.5.5 ทําใหขาดความสงางาม ( Esthetics ) การเก็บรวบรวมและกําจัดขยะมูล

ฝอยที่ดี จะชวยใหชุมชนเกิดความสวยงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย อันแสดงถึงการมี

วัฒนธรรมนําไปสูความเจริญของชุมชน ถาขาดการเก็บหรือการจัดการไมดี ยอมทําใหเกิด

ความไมนาดู

1.5.6 กอใหเกิดเหตุรําคาญ (Nuisance ) ขยะมูลฝอยกอใหเกิดเหตุรําคาญแก

ประชาชนได เนื่องจากความสกปรกและกลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเนาเปอย หรือการสลายของ

ขยะมูลฝอย

ความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอยเปนสิ่งที่นํามาใชศึกษาเพราะเปนสิ่งที่ประชาชนตองมีความรู

ความเขาใจ ในเรื่องของความ มูลฝอย แหลงที่มาของขยะมูลฝอย การกําจัด การคัดแยกขยะ

มูลฝอย และผลกระทบจากขยะมูลฝอย นําไปสูการจัดการที่มีประสิทธิภาพ

การจัดการขยะมูลฝอย

การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง หลักการในการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับการควบคุม

การทิ้ง การเก็บช่ัวคราว การรวบรวม การขนถายและการขนสง การกําจัดขยะมูลฝอย โดย

คํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดในทางสุขภาพอนามัย ความสวยงาม การอนุรักษส่ิงแวดลอม และที่

สําคัญที่สุดจะตองเปนที่ยอมรับของสังคม ในการจัดการขยะมูลฝอยอยางมีประสิทธิภาพจะ

ตองอาศัยปจจัยในหลายดานประกอบกัน ไดแก ความรูในเรื่องของขยะมูลฝอย การบริการ

การรับรูขอมูลขาวสาร การประสานความรวมมือทั้งของหนวยงานราชการและประชาชน และ

การดําเนินการในการกําจัดขยะมูลฝอยอยางเหมาะสม

Page 21: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

14

ปรีดา แยมเจริญวงศ (2531 : 13-14) ไดใหแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูล

ฝอยไววา การดําเนินการจัดการมูลฝอยที่ดี จะตองใชวิธีการกําจัดที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล

โดยไมทําใหเกิดมลพิษตอสภาพแวดลอม เชน พื้นดิน แหลงน้ําและอากาศ เปนตน โดยจะตอง

คํานึงถึงองศประกอบ สําคัญ 5 ประการ คือ

1. ชนิด ปริมาณและลักษณะของขยะมูลฝอย ที่เกิดขึ้นตามประเภทของกิจกรรมและ

แหลงกําเนิด

2. คาใชจายและการลงทุนที่ใชในการดําเนินงาน เกี่ยวกับการจัดการในการกําจัด

3. ปญหาเกี่ยวกับสภาพแวดลอม ที่ไดรับผลจากการเกิดมลพิษ อาจจะสงผลกระทบตอ

สุขภาพและความเปนอยูของมนุษย

4. การนําเอาทรัพยากรบางสวนจากขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนในดานตางๆ

5. กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและหนวยงานที่เกี่ยวของ

กองวิชาการและแผนงาน (2537) ไดมีวิธีการจัดการขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร ซึ่ง

ดําเนินการโดยสํานักรักษาความสะอาด ไดนํามาปฎิบัติมีอยู 4 วิธี ไดแก

1. การหมักใหมูลฝอยยอยสลายตัวเปนปุยอินทรีย (Composting)

2. การเทกองกลางแจง (Open dumping)

3. การฝงกลบมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill)

4. การเผาในโรงงานเผาขยะ (Incineration) จะนําเผาเฉพาะสวนที่ถูกแยกออกจาก

มูลฝอยที่นําเขาโรงงานและมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดจากสถานพยาบาล

รูปแบบการจัดกิจกรรมหรือโครงการลดและแยกขยะมูลฝอยในชุมชน ซึ่งสามารถอธิบาย

ได ดังนี้

1. ชาวชุมชนมีจิตสํานึกและวิสัยทัศน

2. ระดมอาสาสมัครและมอบหมายภาระกิจ

3. การวางกลยุทธในชุมชน

4. การรณรงคประชาสัมพันธ

5. การลงมือปฏิบตัิ

6. การประเมินสถานการณและการปรับแผน ยุพิน ระพิพันธุ (2544 : 24 – 26) ไดกลาวถึง แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยไววา

การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง หลักการในการดําเนินการเกี่ยวของกับการควบคุม การทิ้งการ

เก็บช่ัวคราว การรวบรวม การขนถายและการขนสง การแปลงรูป และการกําจัดขยะมูลฝอย

Page 22: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

15

โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดในทางสุขอนามัย ความสวยงาม การอนุรักษส่ิงแวดลอม และที่

สําคัญที่สุด คือการยอมรับของสังคม ในการจัดการขยะมูลฝอยอยางมีประสิทธิภาพจะตอง

อาศัยปจจัยในหลายๆ ดานประกอบกัน ไดแก การบริการ การรับรูขอมูลขาวสารดานสิ่งแวด

ลอม ประสบการณที่เกี่ยวกับส่ิงแวดลอม และวิธีการจัดการขยะมูลฝอยในแตประเภท โดยวิธี

การจัดการจะตองพิจารณาถึงความเหมาะสมในทุกแงทุกมุม

การจัดการขยะมูลฝอยในประเทศไทยเริ่มต้ังแต พ.ศ.2440 โดยเริ่มจากการดําเนินการ

แบบงาย ๆ และเริ่มขยายงานใหญข้ึน มีความยุงยากซับซอนมากขึ้นเรื่อยๆ ตามขนาดของชุมชน

ที่ใหญข้ึน ปริมาณประชากรเพิ่มข้ึน และคาดวาในอนาคตจะมีวิธีการที่ยุงยากซับซอนอาศัย

เทคโนโลยีใหมๆ เขามาชวยอีกมาก ความยุงยากหลายประการที่เกี่ยวเนื่องอยูดวย มิอาจแยก

ออกไดรวดเร็ว ผลกระทบอันเนื่องมาจากเทคโนโลยีสมัยใหม ทรัพยากรที่เร่ิมมีจํานวนจํากัด

เปนตน ดังนั้น เพื่อใหการจัดการขยะมูลฝอยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะ

ตองเขาใจถึงสวนตางๆ ของระบบการจัดการขยะมูลฝอย ตลอดจนความสัมพันธของสวน

ตางๆ เหลานั้นใหชัดเจน

กิจกรรมทั้งหลายในการจัดการขยะมูลฝอย อันเริ่มต้ังแตการทิ้งขยะมูลฝอยจนกระทั่งถึง

การกําจัดขยะมูลฝอยในขั้นสุดทาย อาจแบงออกเปน 3 สวน คือ

1.การทิ้งขยะมูลฝอย เปนมูลกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากการที่ผูทิ้งเห็นวาวัสดุชิ้นใดๆ นั้น

ไมสามารถนํามาใชประโยชนไดอีกตอไปแลว จึงทิ้งไวหรือรวบรวมเพื่อกําจัดตอไป ดังจะเห็นได

วาการทิ้งขยะมูลฝอยเปนกิจกรรมที่เกิดขึ้นหรือไม ข้ึนกับบุคคลผูใชวัสดุนั้นๆ วาจะยังใช

ประโยชนจากวัสดุนั้นไดหรือไม

2.การจัดการขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด ในสวนนี้จะมุงความสนใจไปที่ขยะมูล

ฝอยที่มาจากชุมชนมากกวาขยะมูลฝอยจากแหลงอื่น ทั้งนี้ เพราะขยะมูลฝอยสวนนี้ประกอบ

ดวยขยะมูลฝอยมากมายหลายชนิดปะปนกันอยู และเกิดในแหลงที่ผูคนอาศัยอยู โดยเฉพาะ

อยางยิ่งในเขตที่ผูคนอยูกันอยางแออัด ไมมีที่เพียงพอที่จะเก็บขยะมูลฝอยที่เกิดในแหลงที่ผูคน

อาศัยอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตที่ผูคนอยูกันอยางแออัด ไมมีที่เพียงพอที่จะเก็บขยะมูลฝอย

ที่เกิดขึ้นได ถึงแมวาจะมีพื้นที่เพียงพอจะเก็บก็จะมีการขนยายหรือกําจัดไปในเวลาที่ตองการ มี

การขนยายหรือกําจัดไปในเวลาอันควร มิฉะนั้นจะเกิดการเนาเหม็น เปนภาพที่ไมนาดู และอาจ

มีผลตอสุขภาพอนามัยของประชาชน

3.การแปลงรูปหรือการคืนรูป องคประกอบของระบบการจัดการขยะมูลฝอยสวนนี้

รวมตั้งแตเทคนิคการใชเครื่องมือและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เพื่อใชในการเพิ่มประสิทธิ

Page 23: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

16

ภาพของสวนประกอบอื่นๆ และเพื่อแยกวัสดุที่ยังใชประโยชนไดกลับมาใชใหม หรือแปลงรูป

ขยะมูลฝอยใหไดส่ิงที่เปนประโยชน เชน ปุย หรือพลังงานความรอน

ระบบการเก็บขนมูลฝอย ธเนศ ศรีสถิตย (2537: 1-10) ไดกลาวถึงระบบเก็บขนมูลฝอยวา แบงเปน 2 ระบบคือ

1. ระบบถังเคลื่อนที่ (Hauled Container System: HSC) เปนระบบที่ภาชนะ

รองรับมูลฝอยจะถูกลากไปขนถายยังสถานีปลายทาง ซึ่งอาจเปนสถานีขนถายหรือสถานที่

กําจัดมูลฝอยที่มีปริมาณมากและประหยัดเวลาในการเก็บขนมูลฝอย

2. ระบบถังประจํา (Stationary Container System: SCS) เปนระบบที่

ภาชนะรองรับมูลฝอยถูกวางไวตายตัว ไมมีการเคลื่อนยายเหมือนระบบแรก แตใชวิธีขนถายมูล

ฝอยจากภาชนะรองรับไปยังรถขนเก็บมูลฝอยหรือนําภาชนะรองรับมูลฝอยอันใหมมาวางไว

แทน

การกําหนดเสนทางในการเก็บขนมูลฝอย

ธเนศ ศรีสถิตย (25371-10) อธิบายถึงการกําหนดเสนทางการเก็บขนมูลฝอยไววา

การกําหนดเสนทางการเก็บขนมูลฝอยใหเหมาะสม สวนใหญจะทําโดยการทดลองวางเสนทาง

ที่เหมาะสมหลายๆ คร้ัง จึงไมมีกฎเกณฑตามตัว การกําหนดเสนทางทําแบบงายๆ ไมซับซอน

นัก สามารถทําไดดวยวิธีที่เรียกวา Heuristic มีหลักดังนี้

1. เสนทางไมควรแบงซอยมากเกินไป

2. เวลาที่ใชในการเก็ขนมูลฝอยของรถแตละคันควรมีการกําหนดเวลาใหแนนอนและ

ทัดเทียมกัน

3. จุดเริ่มตนในการเก็บขนมูลฝอยควรอยูใกลสํานักงานหรือโรงเก็บรถมากที่สุด

4. หลีกเลี่ยงการเก็บขนมูลฝอยในชั่วโมงเรงดวน

5. กรณีเปนเสนทางเดินรถทางเดียวควรเริ่มตนเก็บจากหัวถนนซึ่งเปนที่สูงกอน

6. กรณีเสนทางตันควรพิจารณากอนวาควรเก็บขนดวยวิธีการอยางไรจึงจะเหมาะสม

7. ถาพื้นที่เก็บขนเปนเนินสูง ในการเก็บขนมูลฝอยควรเก็บในขณะที่รถวิ่งลงเนินและ

ทําการเก็บทั้งสองขางถนนในเวลาเดียวกัน

8. กรณีที่มีการเก็บขนจากดานเดียวของถนน การเดินรถควรเปนแบบทวนเข็มนาฬิกา

ซึ่งจะทําใหไดเก็บขนมูลฝอยจากดานซายของถนนตลอดไป

Page 24: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

17

9. การเก็บขนมูลฝอยทั้งสองขางถนนในเวลาเดียวกัน ควรใชเฉพาะในชวงถนนที่เห็น

วาพนักงานเก็บขนมีความปลอดภัยเพียงพอ และไมควรใหมีจุดเก็บขนมูลฝอยอยูใกลทางแยกที่ถนนตัดกัน

สถานีขนถายมูลฝอย

ธเนศ ศรีสถิตย (2537: 1-10) อธิบายไววา เปนสถานที่ซึ่งจัดไวใหรถเก็บขนมูลฝอย

ขนาดเล็กไปเทลงรถบรรทุกมูลฝอยขนาดใหญ ที่บรรจุมูลฝอยไดปริมาณมากๆ ทําใหรถเก็บขน

มูลฝอยขนาดเล็กไมตองขนสงมูลฝอยไปยังสถานที่กําจัดมูลฝอย หากพื้นที่กําจัดมูลฝอยนั้นอยู

ไกลจากพื้นที่เก็บขน เชน 20 หรือ 30 กิโลเมตร สถานีขนถายมูลฝอยมีประโยชนตอการเก็บมูล

ฝอยคือ

1. ประหยัดคาใชจาย

2. รถเก็บขนมูลฝอยมีเวลาในการเก็บขนมูลฝอยมากขึ้นทําใหสามารถขยายพื้นที่เก็บ

ขนได

3. เอกชนหรือหนวยงานที่มีปริมาณมูลฝอยมาก หากมีรถเก็บขนมูลฝอยเองสามารถ

ขนสงมูลฝอยมาทิ้งสถานีขนถายได เปนการลดภาระของหนวยงานที่รับผิดชอบ

4. ที่สถานีขนถายมูลฝอย สามารถคัดแยกมูลฝอยที่มีประโยชนไดระหวางที่รอเวลาใน

การขนสงมูลฝอยไปยังสถานที่กําจัด

ปญหาขยะมูลฝอยเปนปญหาสําคัญของชุมชนเมืองที่ควรไดรับการแกไข จากการ

ศึกษาชนิดของขยะมูลฝอยที่แบงเปน ขยะมูลฝอยเปยก (Garbage) ขยะมูลฝอยแหง

(Rubbish) ข้ีเถา (Aahes) ซากสัตว (Dead Animals) เศษกอสราง (Construction

Refuse) มูลฝอยจากถนน (Street Seepings) มูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม

(Industrial Refuse) ขยะมูลฝอยจากกสิกรรม และขยะมูลฝอยพิเศษที่เปนของเสียซึ่งมี

อันตรายสูง ของเสียเหลานี้ตองกําจัดและควบคุมเปนพิเศษไมใหเกิดอันตรายตอมนุษย ทําให

ทราบถึงประเภทของขยะมูลฝอยที่มีประโยชนในการนํามาประกอบกับการจัดการขยะมูลฝอย

ประเภทของขยะมูลฝอย ตามแนวคิดของวิรัช ชมชื่น (2537 : 28 ) เปนความรูที่นํามาสรางกิจ

กรรมทั้งหลายในการจัดการขยะมูลฝอย ตั้งแตการทิ้งขยะมูลฝอยจนกระทั่งถึงการกําจัดขยะ

มูลฝอยในขั้นสุดทาย ไดแกการทิ้งขยะมูล การจัดการขยะมูลฝอย และการแปลงรูปหรือการ

คืนรูป และแนวคิดการจัดการของยุพิน ระพิพันธุ ที่อธิบายใหเห็นถึงการจัดการขยะมูลฝอย

ประเภทตางๆ ไดอยางกวางขวาง

Page 25: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

18

จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับความรูและการจัดการขยะมูลฝอยตางๆขางตน ผูวิจัยได

นําแนวคิดการจัดการขยะมูลฝอยของยุพิน ระพิพันธุ (2544: 24-26) มาใชในการศึกษาการจัด

การขยะมูลฝอยประเภทตางๆ โดยนํามาศึกษารวมกับแนวคิดดานการบริการขนถายมูลฝอย

และระบบการเก็บขนมูลฝอย ของธเนศ ศรีสถิตย (2537: 1-10) ที่มีความสอดคลองกับสภาพ

แวดลอมในการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม มาใชเปนกรอบในการศึกษาครั้งนี้

2. แนวคิดเก่ียวกับการรับรูขาวสาร

การดําเนินโครงการเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงค จะตองอาศัยการสื่อสารที่มีองค

ประกอบและกระบวนการในการสื่อสารรวมถึงการประชาสัมพันธที่นับวาเปนหัวใจสําคัญ

การสื่อสารและการประชาสัมพันธที่มีประสิทธิภาพ ตองมีวัตถุประสงคอยางชัดเจนและมีการ

กําหนดวิธีการ การวางแผนในการเลือกและใชส่ืออยางเหมาะสมกับกลุมเปาหมายยอมจะ

ประสบความสําเร็จ ตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่ตองการ

นรินทร พัฒนาพงศ (2542:3)ไดอธิบายไววา การสื่อสาร หมายถึง การแลกเปลี่ยนขาว

สารระหวางผูสงสารและผูรับสาร โดยใชส่ือ หรือชองทางตางๆ เพื่อมุงหมายโนมนาวจิตใจให

เกิดผลในการ รับรู หรือ เปลี่ยนทัศนคติ หรือ เปลี่ยนพฤติกรรม และการประชาสัมพันธ เปน

การสื่อสารขององคกรเพื่อสรางความสัมพันธกับประชาชน โดยการเสนอขาวสาร การสรางกิจ

กรรมใหเปนขาวสาร การแสดงความรับผิดชอบตอสังคม หรือการแสดงความปรารถนาดีตอ

ประชาชนในฐานะที่อยูรวมกันอยางสันติสุข และเกื้อกูลผลประโยชนซึ่งกันและ

กันความสัมพันธในลักษณะนี้จะนําไปสูทัศนคติในเชิงบวก หรือภาพพจน ที่นานิยมขององคกร

และไปสูพฤติกรรมที่มีคุณคาตอสังคม

องคประกอบของการสื่อสาร

นรินทร พัฒนาพงศ (2542:3) ไดกลาววา ในการสื่อสาร มีส่ิงสําคัญที่ตองคํานึง

ถึง องคประกอบ 4 ประการ ดังนี้คือ

1. ผูสงสาร (Sender) หมายถึง บุคลหรือกลุมบุคล ที่มีความคิด มีความ

ตองการ และมีความตั้งใจที่จะสงขาวสาร ความรูสึกนึกคิด ความคิดเห็น ทัศนคติ ความเชื่อ

และอ่ืนๆ ไปสูผูรับสาร ผูสงสาที่ดี มีความสําคัญและความจําเปนอยางยิ่ง ควรมีคุณลักษณะ

ที่มีความเหมาะสมดวยคุณลักษณะที่ดี ของผูสงสาร ประกอบดวยปจจัยตอไปนี้

1.1 มีความรู ความสามารถ ในขอมูลขาวสาร หรือเร่ืองที่จะสื่อสาร

Page 26: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

19

1.2 มีบุคลิกลักษณะในทาทาง ความเฉลียวฉลาด มีไหวพริบ และการตัดสินใจ

1.3 ไดรับการยอมรับในสังคม ผูที่ไดรับการยอมรับทั้งแบบที่เปนผูนําเปน

ทางการ และไมเปนทางการ รวมถึงผูที่มีชื่อเสียงในสังคม จะไดรับการยอมรับดวยดี

1.4 เปนคนเปดเผยจริงใจ จะสามารถสรางความไววางใจกับผูรับสารไดดี

2. สาร (Message) หมายถึง ขาว ขอมูล และอ่ืนๆที่มีความหมายที่แสดง

ออกโดยอาศัยภาษา หรือสัญลักษณที่จะสามารถทําใหเกิดการรับรูรวมกันได ระหวางผูสงสาร

และผูรับสาร สารจะเปนตัวเรงเราและกระตุนใหผูรับสารรับรูและเขาใจความหมาย และมี

ปฏิกิริยาในการตอบสนองได

คุณลักษณะของสารที่ดี เนื้อหาขาวสารที่ดีจะทําใหการสื่อสารมีประสิทธิผล

2.1 สารนั้นจะตองมุงถึงผูรับสารและไดรับความสนใจจากผูรับสาร

2.2 สารนั้นตองมีสัญลักษณแสดงถึงความเหมือนกันของผูสงสารและผูรับสาร

เพื่อแลกเปลี่ยนความหมายซึ่งกันและกัน

2.3 สารตองเราความตองการของผูรับสาร และแนะนําวิธีการที่ผูรับสารจะ

ไดรับประโยชนหรือการตอบสนองตามความตองการ

2.4 สารตองแนะนําวิธีที่ผูรับสารจะตอบสนองความตองการของตน ตาม

ความเหมาะสมกับสถานการณ และสอดคลองกับการดําเนินวิถีชีวิต

3. ชองทางการสื่อสารหรือสื่อ (Channel) หมายถึง ส่ิงที่จะนําสารไปสงยังผู

รับสาร ซึ่งมีหลายชองทางโดยผานสื่อตางๆ เชน ส่ือบุคคล ส่ือส่ิงพิมพ ส่ืออีเล็กทรอนิกส

ส่ือพื้นบาน เปนตน

การที่จะพิจารณาในการใชส่ือหรือชองทางการสื่อสารใด ควรพิจารณาถึง

ปจจัยตอไปนี้ 3.1 ความเหมาะสมของสื่อกับผูสงสาร ผูสงสารตองเลือกชองทาง หรือการใชส่ือที่เหมาะ

สม และตนมีความชํานาญในสื่อนั้นๆ

3.2 ความเหมาะสมของสื่อนั้นกับการถายทอดสาร

3.3 ความเหมาะสมของสื่อกับสภาพแวดลอม

4. ผูรับสาร (Receiver) ในกระบวนการสื่อสารผูรับสารและผูสงสาร จะตอง

เปลี่ยนแปลงบทบาทระหวางกัน คือเปนทั้งผูรับสารและผูสงสารดวย

คุณลักษณะของผูรับสารทีดี เพื่อใหเกิดประสิทธิผล มีดังนี้

Page 27: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

20

4.1 ทักษะในการสื่อสาร ผูรับสารจะตองมีความสามารถหรือมีความชํานาญ

ในทักษะการสื่อสาร

4.2 ทัศนคติในการสื่อสาร ทัศนคติตอตนเอง ตอสารและตอผูสงสาร เพราะ

เปนสวนสําคัญตอพฤติกรรมการรับสารของผูรับสารที่จะถูกกําหนดออกมาในลักษณะใด

4.3 ระดับความรู ความรูเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอการรับและแปลความหมายของ

สารเปนอยางมาก

4.4 สถานภาพในระบบสังคมและวัฒนธรรม

โรเบิรต อาร ออเนอร (อางในนรินทร พัฒนาพงศ 2542) ไดเขียนหลัก 10 ประการ

ของการสื่อสารที่ดีไว ดังนี้

1. จงทําความเขาใจกับความคิดของทานใหแจมแจงกอนจะสื่อสารไปยังผูอ่ืน

2. จงตรวจสอบจุดมุงหมายอันแทจริงของการสื่อสารทุกครั้ง

3. จงพิจารณาถึงสิ่งแวดลอมและตัวบุคคลในการสื่อสาร

4. จงปรึกษาหารือกับผูอ่ืนตามความเหมาะสมในการวางแผนเพื่อการสื่อสาร

5. จงระมัดระวังน้ําเสียงของทานเชนเดียวกับเนื้อหาของขอความที่สงออกไป

6. จงใชโอกาสที่จะใหส่ิงที่เปนประโยชนตอผูรับทันที

7. จงติดตามผลการสื่อสารของทาน

8. จงคํานึงถึงผลของการสื่อสารทั้งในปจจุบันและอนาคต

9. จงระวังใหทาทางของทานสนับสนุนการสื่อสารของทานดวย

10. จงเปนผูฟงที่ดี อยาพยายามใหผูอ่ืนเขาใจทานฝายเดียวแตทานตอง

เขาใจผูอ่ืน

ในการสื่อสารยอมตองพบปญหาและอุปสรรค จึงมีหลักและวิธีการขจัดปญหาและ

อุปสรรคในการติดตอส่ือสาร ดังนี้

1. ความนาเชื่อถือ (Credibility) ถาบุคคลที่ติดตอส่ือสารดวยเปนผูที่เชื่อถือ

ได ไมเคยหลอกลวง เมื่อมีการติดตอส่ือสารครั้งใดยอมไดรับความสนใจ เชื่อฟงและทําตาม

หรืออาจกลาวงายไดวา คนใหความเชื่อถือขาวสารนั้น

2. ความละเอียด (Context) ใหคําอธิบายที่ละเอียดชัดเจน ไมมีเนื้อความใด

ที่ขาดตกบกพรอง

3. เนื้อหา (Content) คําพูดตองเปนเนื้อหาสาระที่จะทําใหคนอื่นสนใจไดดี

Page 28: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

21

ควรจะเปนขาวสารที่แสดงผลดี และผลเสียที่จะเกิดขึ้นแกผูรับสารนั้น หรือเปนการเสนอวิธีการ

ปฏิบัติ ผูที่รับขาวสารจะปฏิบัติไดโดยไมถูกลอเลียนหรือต้ังขอรังเกียจเพราะไมถูกกับ

คานิยมของกลุม

4. ความชัดเจน (Clarity) คือการที่พูดดวยศัพทที่ผูฟงเขาใจทางเดียวตามที่

ผูสงขาวสารตองการใหเขาใจ ไมใชคําที่ตีความได 2 แง 3งาม

5. การกลาวซ้ํา (Consistency) ถาขาวสารที่ใหนั้นมีความสลับซับซอน

เขาใจยากควรตองอธิบายซ้ําหลายๆ คร้ัง เพื่อความเขาใจที่แทจริงและปองกันการหลงลืม

6. ชองทาง (Channel) การเลือกชองทางการติดตอส่ือสารใหถูกกับสถาน

การณและบุคคลตาง ๆ บุคคลที่อยูใกลเคียงอาจสงขาวสารดวยวาจาได แตถาขาวสารยาก

สลับซับซอนอาจใชการจดบันทึกประกอบขาวสารบางอยางตองการสงใหบุคคลโดยทั่วไป

ไดรับทราบ อาจใชการสื่อสารทางมวลชน เชน วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ ขาวสารที่สงไป

ถึงบุคคลเฉพาะคน อาจใชจดหมาย โทรเลข โทรศัพท เปนตน

7. ความสามารถ (Capability) ของทั้งผูสงขาวสาร (Sender) และผูรับขาว

สาร(Receiver) บุคคลบางคนมีความจําดีเพียงบอกกลาวดวยวาจาก็อาจสามารถจดจําไดหมด

แตบางคนมีความสามารถทางนี้จํากัด อาจตองมีการจดบันทึกชวยความจํา ผูสงขาวสาร

บางคนรูจักเลือกใชถอยคําอธิบายใหคนเขาใจไดงาย แตบางคนมีความสามารถทางนี้จํากัด

อาจใชการจดบันทึกชวย เพื่อไดมีโอกาสเลือกใชถอยคําสํานวนไดดีข้ึน

จะเห็นวา การติดตอส่ือสารที่ไดผลนั้น ไมไดข้ึนอยูกับการ กระทําของผูสงขาวสารแต

ฝายเดียว ตองขึ้นอยูกับทั้งตัวผูสงขาวสาร (Sender) ผูรับขาวสาร (Receiver) ชองทาง

(Channel) และตัวขาวสารเอง (Message) ทั้ง ๆ ที่เมื่อมีอุปสรรคในการติดตอส่ือสารเกิดขึ้น

การสื่อสารตามแนวคิดของนรินทร พัฒนาพงศ (2542:3) อธิบายใหเห็นวาการสื่อสาร

จะมีความเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ดังนั้นจึงกลาวไดวาองคประกอบทุกตัวในกระบวนการ

ส่ือสารตางมีอิทธิพล ซึ่งกันและกัน และตองมีคุณลักษณะที่เหมาะสมดังกลาวขางตน จะทํา

ใหประชาชน มีความรู ความเขาใจและรับรูส่ิงตางๆ อันจะเปนประโยชนในการสนับสนุนการ

ทํางาน และการมีสวนรวมในโครงการตางๆ การแลกเปลี่ยนขาวสารระหวางผูสงสาร และผูรับ

สาร โดยใชส่ือ หรือชองทางตาง ๆ เพื่อมุงหมายโนมนาวจิตใจใหเกิดผลในการ รับรู หรือ

เปลี่ยนทัศนคติ หรือ เปลี่ยนพฤติกรรม

Page 29: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

22

กระบวนการในการสื่อสารรวมถึงการประชาสัมพันธนับวาเปนหัวใจสําคัญ ที่องคกรจะ

ใชเปนเครื่องมือในการสรางความสัมพันธกับประชาชน โดยการเสนอขาวสาร การสรางกิจกรรม

และ การแสดงความปรารถนาดีตอประชาชนในฐานะที่สํานักงานเขตบางคอแหลมรับผิดชอบ

เกี่ยวกับการบริการดานการเก็บขนขยะมูลฝอยใหกับประชาชน ความสัมพันธในลักษณะนี้

จะนําไปสูเจตคติที่ดีตอการบริการ การสื่อสารประชาสัมพันธ จึงเปนแนวคิดที่นํามาใชศึกษา

เพื่อใหทราบถึง ผลของการสื่อสารและการประชาสัมพันธ ที่จะทําหนาที่ประสานความเขาใจใน

การที่จะใหเกิดผลดีตอการบริหารงานใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย ผูวิจัยจึงไดนําแนวคิด

ดานการสื่อสารและประชาสัมพันธของนรินทร พัฒนาพงศ (2542: 3) มาเปนกรอบในการศึกษา

คร้ังนี้

3. แนวคิดเก่ียวกับการมีสวนรวมของประชาชน

การมีสวนรวมของประชาชนไดถูกนําไปใชในเรื่องตางๆ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒน

ธรรมและสิ่งแวดลอม ดังนั้นความหมายของการมีสวนรวม จึงถูกใหคําจํากัดความแตกตางกันไป

ตามวัตถุประสงคที่นําไปใช

ความหมายการมีสวนรวมของประชาชน

สัญญา สัญญาวิวัฒน (2539 : 130) ไดใหความหมาย การมีสวนรวมของประชาชน

วา หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนผูเปนเปาหมายของการพัฒนา เขามารวมโครงการ

ของการพัฒนาตั้งแตเร่ิมโครงการดําเนินการ และมีการประเมินจนเสร็จส้ินโครงการ โดยมีวัตถุ

ประสงคใหชาวบานไดเรียนรูทั้งเร่ืองที่ทําอยู และการทํางานรวมกัน ซึ่งถาหากสมประสงคแลวก็

จะทําใหคนเกิดการพัฒนาได

ยุวัฒน วุฒิเมธี (2526 : 25) ไดกลาวถึงสาระสําคัญของการมีสวนรวมของประชาชน

วา หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการคิดริเร่ิม การพิจารณาตัดสิน

ใจ การรวมปฏิบัติ และการรวมรับผิดชอบในเรื่องตางๆ อันมีผลกระทบถึงตัวของประชาชนเอง

เพื่อแกไขปญหาและนํามาซึ่งสภาพความเปนอยูที่ดีข้ึนของประชาชน

ไพรัตน เตชะรินทร (2527 : 6-7) ไดเสนอความหมายและหลักการสําคัญเรื่อง

นโยบายการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนาวาหมายถึง กระบวนการที่รัฐบาลทําการสงเสริม

Page 30: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

23

ชักนํา สนับสนุนและสรางโอกาสใหประชาชนทั้งในรูปสวนบุคคล กลุมคน ชมรม สมาคม มูล

นิธิและองคการอาสาสมัครรูปแบบตางๆ ใหเขามามีสวนรวมดําเนินงานในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือ

หลายเรื่องรวมกันอาทิ ในเรื่องตอไปนี้ เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคและนโยบายของการ

พัฒนาตามที่กําหนดไวคือ

1.รวมทําการศึกษาคนควาปญหา และสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนรวมตลอด

จนความตองการของชุมชน

2.รวมคิดหาสรางรูปแบบ และวิธีการพัฒนาเพื่อแกไขและลดปญหาของชุมชน หรือ

เพื่อสรางสรรคส่ิงใหมที่เปนประโยชนตอชุมชน หรือสนองความตองการของชุมชน

3.รวมวางแผนนโยบายหรือแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขจัดและแกไข

ปญหาและสนองความตองการของชุมชน

4.รวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีจํากัดใหเปนประโยชนตอสวนรวม

5.รวมจัดหรือปรับปรุงระบบการบริหารงานพัฒนา ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

6.รวมการลงทุนในกิจกรรมโครงการของชุมชนตามขีดความสามารถของตนเองและ

ของหนวยงาน

7.รวมปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการ และกิจกรรมใหบรรลุตามเปาหมายที่วาง

ไว

8.รวมควบคุม ติดตาม ประเมินผล และรวมบํารุงรักษาโครงการและกิจกรรมที่ไดทํา

ไวทั้งโดยเอกชนและรัฐบาลใหใชประโยชนไดตลอดไป

ความสําคัญของการมีสวนรวม

ปริศนา โกลละสุต ( 2534 : 13 ) ไดใหความสําคัญของการมีสวนรวมไวดังนี้

1. จะชวยใหประชาชนยอมรับโครงการมากขึ้น เนื่องจากเปนโครงการที่ตรงกับ

ปญหาและความตองการของประชาชน

2. ประชาชนจะมีความรูสึกผูกพัน และมีความรูสึกเปนเจาของมากยิ่งขึ้น

3. การดําเนินโครงการจะราบรื่น ไดรับความรวมมือจากประชาชนมากขึ้น

4. จะชวยพัฒนาขีดความสามารถของประชาชนมากขึ้น

5. โครงการจะใหประโยชนแกประชาชนมากขึ้น และมีการระดมทรัพยากรเพื่อการ

ดําเนินโครงการมากขึ้น

Page 31: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

24

ลักษณะของการมีสวนรวม

โคเฮน และอัฟฮอฟ (Cohen and Uphoff 1980 : 219-222) ไดแบงชนิดของการมี

สวนรวมออกเปน 4 ชนิดคือ

1. การมีสวนรวมในการตัดสินใจ (Decision Making) ประกอบดวย ริเร่ิมตัดสินใจ

ดําเนินการตัดสินใจ และตัดสินใจปฏิบัติการ

2. การมีสวนรวมในการปฏิบัติการ (Implementation) ประกอบดวยการสนับสนุน

ดานทรัพยากรการบริหาร และการประสานงานขอความรวมมือ

3. การมีสวนรวมในผลประโยชน (Benefits) ประกอบดวยผลประโยชนทางดาน

วัตถุ ผลประโยชนทางสังคม หรือผลประโยชนสวนบุคคล

4. การมีสวนรวมในการประเมินผล (Evaluation)

เจิมศักดิ์ ปนทอง (2527 : 10) ไดแบงขั้นตอนของการมีสวนรวมของประชาชนไวเปน

4 ข้ันตอนคือ

1.การมีสวนรวมในการคนหาปญหา และสาเหตุของปญหา

2.การมีสวนรวมในการวางแผนดําเนินกิจกรรม

3.การมีสวนรวมในการลงทุนและปฏิบัติงาน

4.การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล

มิติในการมีสวนรวมของประชาชน

แนวคิดของ Matthias Stiefel and Andrew Pearse (อางใน ปรัชญา เวสารัชช: 5)

ไดเสนอการมีสวนรวมไว 5 มิติ คือ

1. การมีสวนรวมในการประจันหนา โดยถือวาการมีสวนรวมสะทอนลักษณะการ

แจกแจงแบงสรรอํานาจในการตัดสินใจที่ผิดไปจากเดิม จึงอาจมองไดวาเปนการประจันหนา

ระหวางกลุมผลประโยชน กลุมสังคม กลุมชนช้ันตาง ๆ เปนการปะทะกัน (Confrontation)

ระหวางผลประโยชนของคนในเมือง หรือเปนการเผชิญหนาระหวางสมาชิกองคการอาสาสมัคร

กับหนวยงานที่ตั้งขึ้นมั่นคงแลวและไมยอมเปลี่ยนแปลง (Immobile Establishments) ซึ่งโดย

ทั่วไปหมายถึงหนวยงานราชการ

Page 32: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

25

การมองการมีสวนรวมในมิติของการประจันหนาเชนนี้ชี้ใหเกิดความสนใจลักษณะ

การเปลี่ยนแปลงสถาบันซึ่งนําไปสูการตอตานการมีสวนรวมโดยองคการเกา แสดงการเปลี่ยน

หรือปรับโครงสรางทางอํานาจ รวมทั้งชวยใหสนใจประเมินผลไดผลเสียที่เกิดจากการประจัน

หนา (ซึ่งขึ้นกับทัศนะของแตละฝายที่เกี่ยวของ)

2. การมีสวนรวมเปนเรื่องของกลุมและขบวนการในการเขารวม มิตินี้พิจารณา

การมีสวนรวมจากการวิเคราะหโครงสราง วิธีดําเนินการ ตลอดจนสภาพแวดลอมของกลุมและ

ขบวนการที่เกี่ยวของในการเขารวม โดยเนนองคประกอบสําคัญที่กอใหเกิดพลังเชน โครงสราง

และการจัดรูปองคการภายในกลุมหรือภายในขบวนการ องคการที่มีประสิทธิภาพจะเปลี่ยนคน

แตละคนที่ปราศจากอํานาจใหเปนพลังสังคมและเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในขั้นตอน

การประจันหนา อีกองคประกอบหนึ่งที่สําคัญจากมิติของกลุม คือรูปแบบและลักษณะของ

ภาวะผูนํา รวมทั้งสัมพันธภาพระหวาง “ผูนํา” กับ ”ผูตาม” ในขบวนการ

มิติเกี่ยวกับกลุมและขบวนการนี้ ยังใหความสนใจขอบขายของการรวมเปนพันธ

มิตรระหวางกลุมหรือขบวนการตาง ๆ ซึ่งอาจมีผลตอเนื่องถึงการประสานขบวนการตาง ๆ เขา

ดวยกัน เพื่อปกปองและเผยแพรผลประโยชนของกลุมและขบวนการที่เขารวม

3. การมีสวนรวมเปนประสบการณเฉพาะบุคคล ตามนิยามทั่วไป การมีสวนรวม

เปนเรื่องของพฤติกรรมกลุมแตขณะเดียวกันการตัดสินใจเขารวมกับกลุมเปนการตัดสินใจ

เฉพาะบุคคล ซึ่งผูสนใจอาจศึกษาไดจากประสบการณในชีวิตของแตละคน ในแงนี้อาจกลาวถึง

การทําความเขาใจการมีสวนรวมจากการศึกษาประวัติสวนตัว และการทําความเขาใจแนวคิด

สําคัญบางอยาง เชน “การตัดสินใจ” “ความสํานึกในชนชั้น” “การสรางสํานึก” “การจูงใจ”

และ “ความรูสึกแปลกแยก” ทั้งนี้เพราะแนวคิดดังกลาวเกี่ยวของกับการมีสวนรวมของประชา

ชน แตขณะเดียวกันก็เปนเรื่องเฉพาะตัวบุคคลดวย

4. การมีสวนรวมเปนโครงการ (Programme or Project) ในวงราชการและองค

การระหวางประเทศ การมีสวนรวมของประชาชนมักหมายไปถึงโครงการซึ่งถูกกําหนดเพื่อสง

เสริมการพัฒนาเฉพาะดาน นักวิจัยที่สนใจมิตินี้อาจศึกษาระบบการจูงใจซึ่งทําใหขาราชการ

นักปฏิบัติภาคสนาม หรือ ผูนําโครงการมีสวนดําเนินการเผยแพรโครงการศึกษาความสัมพันธ

ระหวางผูนําการเปลี่ยนแปลงกับเปาหมายในโครงการ รวมทั้งศึกษาระดับการมีสวนรวมซึ่งมัก

ข้ึนกับลักษณะโครงการ

Page 33: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

26

การพิจารณาการมีสวนรวมจากมิติของโครงการนี้อาศัยขอสมมติที่วา ถึงแมโครง

การจะถูกกําหนดขึ้นจากแหลงใดก็ตาม โดยเฉพาะอยางยิ่งการกําหนดจากเบื้องบน แตก็เชื่อวา

ถากลุมเปาหมายมีสวนรวมแลว โครงการจะเกิดผล และการเขารวมของกลุมเปาหมายยอมเกิด

ข้ึนไดถาใชวิธีการเขาถึงปญหาที่ถูกตอง

5. การมีสวนรวมเปนนโยบาย ตามความหมายกวาง เราอาจมองประเด็นการมี

สวนรวมของประชาชนวาเปนเรื่องเดียวกันกับประชาธิปไตย ทั้งนี้เพราะในปจจุบันแทบไมมีรัฐ

บาลใดกลาคัดคานหลักการประชาธิปไตยอยางเปดเผย ดังที่เชอรร่ี อารนสไตน (Sherry

Arnstein) เขียนไววา “โดยหลักการไมมีใครคัดคานการมีสวนรวมของประชาชน ทั้งนี้เพราะการ

มีสวนรวมเปนสิ่งดีตามทฤษฎีแลวการมีสวนรวมของผูใตปกครองนั้นเปนหลักหินแหง

ประชาธิปไตย…”

การมีสวนรวมเปนแกนกลางของนโยบายรัฐบาล แตในทางปฏิบัติ ผูนําหรือผู

ปฏิบัติเองอาจมิไดดําเนินการใหเปนไปตามนโยบาย ทั้งนี้ดวยเหตุผลจากความกลัวหรือความ

ไมเชื่อวาจะเกิดผล แตมีบางรัฐบาลพยายามระดมความรวมมือและการมีสวนรวมของมวลชน

ใหสนับสนุนรัฐบาล จึงเนนการมีสวนรวมในนโยบายของรัฐ ซึ่งตามแนวคิดของยุวัฒน วุฒิเมธี

(2526 : 25) ไดอธิบายใหเห็นสาระสําคัญของการมีสวนรวมของประชาชน การเปดโอกาสให

ประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการคิดริเร่ิม การพิจารณาตัดสินใจ การรวมปฏิบัติ และการรวม

รับผิดชอบในเรื่องตางๆ อันมีผลกระทบถึงตัวของประชาชนเอง เพื่อแกไขปญหาและนํามาซึ่ง

สภาพความเปนอยูที่ดีข้ึนของประชาชน และ ไพรัตน เตชะรินทร (2527 : 6-7) ไดอธิบาย

ถึงหลักการสําคัญเรื่อง นโยบายการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนา กระบวนการที่รัฐบาลทํา

การสงเสริม ชักนํา สนับสนุนและสรางโอกาสใหประชาชนทั้งในรูปสวนบุคคล กลุมคน ชมรม

สมาคม มูลนิธิและองคการอาสาสมัครรูปแบบตางๆ ใหเขามามีสวนรวมดําเนินงานในเรื่องใด

เร่ืองหนึ่ง หรือหลายเรื่องรวมกันเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคและนโยบายของการพัฒนา

จากแนวคิดเกี่ยวกับลักษณะการมีสวนรวม ผูวิจัยนํามาศึกษาเพื่อใหทราบถึงลักษณะ

และวิธีการมีสวนรวมของประชาชนในการทํากิจการใดๆ จนประสบผลสําเร็จ ในการศึกษาครั้งนี้

จึงไดนําแนวความคิดเกี่ยวกับลักษณะการมีสวนรวมของ โคเฮนและอัฟฮอฟฟ และ ไพรัชน

เตชะรินทร ที่ไดกลาวถึงการมีสวนรวมของชุมชน ซึ่งกลาวถึงกิจกรรมที่ปฏิบัติในชุมชน คือ กิจ

กรรมการมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย การจําแนกประเภทขยะมูลฝอยและการลดปริมาณ

ขยะมูลฝอย

Page 34: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

27

4. แนวคิดพฤติกรรม เบนดุรา (Bandura, 1997: 16) กลาววา ความรู ความเขาใจ หรือความเชื่อของคนมี

บทบาทสําคัญตอการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2526: 15) ใหความหมายของพฤติกรรมไววา หมายถึง กิจกรรม

ทุกประเภทที่มนุษยกระทําไมวาสิ่งนั้นจะสังเกตไดหรือไมได เชน การเดิน การพูด การคิด ความ

รูสึก ความสนใจ

ชัยพร วิชชาวุธ (2523: 1) ไดใหคําจัดกัดความของพฤติกรรมไววา หมายถึง การกระทํา

ของมนุษยไมวาการกระทํานั้นผูกระทําจะโดยรูตัวหรือไมรูตัว และไมวาคนอื่นจะสังเกตการ

กระทํานั้นไดหรือไมก็ตาม เชน การพูด การเดิน การไดยิน การเขาใจ การรูสึกโกธร การคิด ฯลฯ

ตางก็เปนพฤติกรรมทั้งนั้น

ความหมายของพฤติกรรม จึงหมายถึงการตอบสนองที่บุคคลนั้นแสดงออกมาทั้งภาย

ในและภายนอกตัวบุคคล โดยอาจแสดงออกมาทั้งที่รูตัวหรือไมรูตัวก็ได ซึ่งบุคคลอื่นสามารถ

สังเกตเห็นได หรือสามารถตรวจสอบได

บลูม (Bloom 1975: 65-197) กิจกรรมทุกประเภทที่มนุษยกระทํา อาจเปนสิ่งที่สังเกต

เห็นได หรือไมได และพฤติกรรมดังกลาวแบงออกเปน 3 สวน

1. พฤติกรรมดานความรู เปนพฤติกรรมที่มีข้ันตอนดานความสามารถ ความรู การใช

ความคิด และพัฒนาดานสติปญญา จําแนกไว 6 ข้ันตอนคือ ความรู ความเขาใจ การนําความรู

ไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินผล

2. พฤติกรรมดานทัศนคติ และคานิยม ความรูสึกชอบ พฤติกรรมดานนี้หมายถึง ความ

รูสึก ความชอบ ความเขาใจ ความสนใจ การใหคุณคา การปรับเปลี่ยนคานิยม เปนพฤติกรรมที่

เกิดขึ้นภายในจิตใจ ซึ่งตองใชเครื่องมือพิเศษในการจัดการพฤติกรรมดานนี้

การเกิดพฤติกรรมแบงออกเปน

1.การรับรูหรือการใหความสนใจ ไดแก ความตระหนัก ความยินดีหรือเต็มใจ

รับ การเลือกรับหรือเลือกใหความสนใจ

2.การตอบสนอง ไดแกความยินยอมในการตอบสนอง ความเต็มใจที่จะตอบ

สนอง

3.การใหคา หรือการเกิดคานิยม ไดแกการยอมรับคานิยม การชอบในคานิยม

การผูกมัด

Page 35: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

28

4.การจัดกลุม ไดแก การสรางแนวคิดหรือคานิยม และการจัดระบบคานิยม

5.การแสดงลักษณะคานิยมที่ยึดถือ ไดแก การวางหลักเกณฑทั่วไปเกี่ยวกับคา

นิยม

3.พฤติกรรมดานการปฏิบัติ เปนพฤติกรรมที่เกี่ยวกับการใชความสามารถที่แสดงออก

ทางรางกาย รวมทั้งวิธีการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมที่แสดงออกหรือสังเกตได พฤติกรรมนี้เมื่อ

แสดงออกจะสามารถประเมินผลไดงาย

พฤติกรรมที่มีตอสิ่งแวดลอม ศูนยพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการม (2520

อางใน ลลิตา โภชนพันธ 2539: 15-16) ไดกลาวไววา พฤติกรรมควรไดรับการปรับปรุงใหสอด

คลองและกลมกลืนกับธรรมชาติมากที่สุด ซึ่งการประพฤติตนใหสอดคลองกับธรรมชาติส่ิงแวด

ลอม มีขอควรคํานึงดังตอไปนี้

1.ทุกคนมีบางสิ่งบางอยางที่ไดรับจากสังคม ไดแกการศึกษา การบริการสาธารณะ

เปนตนสิ่งที่ตองใหแกสังคม ไดแก ความรับผิดชอบตอหนาที่ การเคารพกฎหมาย การอนุรักษ

ส่ิงแวดลอมเปนตน

2.ทุกคนควรตองรักษาเสริมสรางธรรมชาติเอาไว เพื่อประโยชนตอตนเองและรักษาสิ่งมี

ชีวิตอื่นๆ

3.การตักตวงผลประโยชนจากธรรมชาติโดยไมระมัดระวัง ยอมกอใหเกิดผลเสียหายแก

การดํารงของสิ่งมีชีวิต

4.ถาเราดํารงชีวิตอยางมีความสุข เราจําเปนตองปรับปรุงแกไข ความคิด ความรูสึกที่

จะอยูในสิ่งแวดลอมอยางกลมกลืนและมีความพอเหมาะ

5.ทรัพยากรทั้งหมดในโลกเปนของสิ่งมีชีวิตทั้งมวล ไมใชของมนุษยเทานั้น

6.การดํารงชีวิตของมนุษยตองคํานึงถึงผลกระทบตอส่ิงแวดลอม จากการใชทรัพยากร

และการกระทํากิจกรรมอ่ืนๆ

7.ในการกระทํากิจกรรมใดๆ ที่กระทําตอส่ิงแวดลอมจะตองคํานึงถึงความสัมพันธของ

องคประกอบตางๆ ในสิ่งแวดลอมที่มึตอความเกี่ยวของกันอยางเปนระบบ เชน การตัดไม

ทําลายปา ทําใหเกิดความแหงแลงและอุทกภัย มีผลตอการดํารงชีวิตของคน

8.การดํารงชีวิตอยางมัธยัสถ เทานั้นจะทําใหคนมีชีวิตกลมกลืนกับส่ิงแวดลอมอยางมี

ความสุข เชน การใชจักรยานทําใหไมเปลืองน้ํามัน ไมทําใหอากาศเปนพิษ สุขภาพแข็งแรงและ

อุบัติเหตุลดลง

Page 36: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

29

9.ในการกระทําใดๆ ที่มีผลกระทบตองสิ่งแวดลอมจะตองคํานึงถึงผลที่เกิดขึ้นในระยะ

ยาวที่จะกระทบกระเทือนถึงอนุชนรุนตอไป เชนการตัดไมทําลายปา จะทําใหเกิดความแหงแลง

กันดาร และเมื่อระยะเวลาผานไปที่แหงนั้นก็จะเปนทะเลทรายอยางถาวร

10.ปญหาสิ่งแวดลอมทั้งมวลเกิดจากคน ดังนั้นในการแกไขและปองกันปญหาสิ่งแวด

ลอมจึงจําเปนตองแกที่ตัวคน โดยแตละคนสํานึกและฝกปฏิบัติตนเอง และรวมกันแกปญหา

สังคม

การวัดพฤติกรรม สมจิตต สุพรรณทัศน (2534:132-136) ไดกลาวถึงวิธีการวัดพฤติกรรมวามี 2 วิธีคือ

1.การศึกษาพฤติกรรมโดยทางตรง อาจทําได 2 วิธีคือ การสังเกตแบบใหผูถูกสังเกตรู

สึกตัว และ การสังเกตแบบธรรมชาติ คือการที่บุคคลที่ตองการสังเกตพฤติกรรมไมไดกระทําตน

เปนที่รบกวนพฤติกรรมของบุคคลผูถูกสังเกต เปนไปตามลักษณะที่ทําใหผูถูกสังเกตไมทราบวา

ถูกสังเกต ซึ่งจะไดพฤติกรรมที่แทจริง

2.การศึกษาพฤติกรรมโดยทางออม มีหลายวิธี ไดแก การสัมภาษณ การใชแบบสอบ

ถาม การทดลอง และการทําการบันทึก

กระบวนการเรียนรูซึ่งมีสถาบันตาง ๆ เชน ครอบครัว โรงเรียน กลุมเพื่อน และส่ือ

มวลชนเปนผูกําหนดอันประกอบดวย ความรู ความเขาใจซึ่งจะมีผลมาจากกระบวนการเรียนรู

เฉพาะเรื่อง เปนปจจัยที่กอใหเกิดความรูสึก มีความตื่นตัวตระหนักในบทบาทหนาที่ของตนและ

พรอมที่จะมีสวนรวม ซึ่งจากแนวคิดของลองแมน (Goldensor 1984: 90) ชี้ใหเห็นวา พฤติ

กรรมเปนการกระทํา หรือการตอบสนองการกระทําทางจิตวิทยาของแตละบุคคล เปนปฏิ

สัมพันธในการตอบสนองตอส่ิงกระตุนภายในหรือภายนอก รวมทั้งกิจกรรมการกระทําตางๆ ที่

เปนไปอยางมีจุดมุงหมายสังเกตเห็นได หรือเปนกิจกรรมกระทําตางๆ ที่ไดผานการใครครวญมา

แลวหรือเปนไปอยางไมรูตัว สอดคลองกับแนวคิดของ เบนดุรา (Bandura, 1997: 16) ที่

อธิบายถึง ความรู ความเขาใจ หรือ ความเชื่อของคนมีบทบาทสําคัญตอการแสดงออกซึ่ง

พฤติกรรม แนวคิดของประภา เพ็ญ สุวรรณ (2526: 15) ที่ชี้ใหเห็นวา กิจกรรมทุกประเภทที่

มนุษยกระทําไมวาสิ่งนั้นจะสังเกตไดหรือไมได เชน การเดิน การพูด การคิด ความรูสึก ความสน

ใจ และ แนวคิดของ ลลิตา โภชนพันธ ชี้ใหถึงการกระทําของบุคคลที่สงผลตอการจัดการ จาก

แนวคิดตางๆ เกี่ยวกับพฤติกรรม ผูวิจัยไดนําแนวคิดของ ลลิตา โภชนพันธ (2539: 15-16) ซึ่ง

Page 37: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

30

ครอบคลุมถึงพฤติกรรมที่สงผลตอการจัดการมาทําการศึกษาพฤติกรรมบุคคลที่นําไปสูผลของ

การจัดการสิ่งแวดลอมในการศึกษาครั้งนี้

5. แนวคิดเก่ียวกับเจตคติ ความหมาย ฟรีดแมน (Freedman 1978 อางใน สงวน สุทธิเลิศอรุณ 2529: 92) ใหความหมายวา

เจตคติ หมายถึง ระบบที่มีลักษณะมั่นคงถาวร ซึ่งประกอบดวยองคประกอบดานความรู ความรู

สึก และการปฏิบัติ

สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529: 92) ไดใหความหมาย เจตคติวา หมายถึง ความรูสึกหรือ

ทาที่ของบุคคลที่มีตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดอันมีผลใหบุคคลมีพฤติกรรมตอบสนองในลักษณะที่สอด

คลองกันและไดอธิบายถึงหนาที่ของเจตคิตวา

เจตคติมีหนาที่ 1.ชวยใหเกิดความเขาใจในสิ่งเรา

2.ชวยในการปรับตัว

3.ชวยปองกันตนเอง

4.ชวยในการแสดงออกถึงคานิยม

สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529: 92-94) ไดกลาวถึงลักษณะของเจตคติวามี 2 มิติ คือ

1.ทิศทาง (Direction) ทิศทางคือ ทางบวกไดแก ความรูสึกหรือทาทางในทางที่ดี ชอบ

และพึงพอใจ และทางลบ ไดแก ความรูสึกหรือทาทางในทางไมดี ไมชอบไมพึงพอใจ

2.ความเขมขน (Magnitude) มี 2 ขนาดคือ ความเขมขนมาก และความเขมขนนอย

เชน บางคนมีความรูสึกชอบสะอาดและความมีระเบียบเรียบรอย แตบางคนมีทาทางใฝต่ํามาก

ผูที่มีเจตคติเขมขนมากจะมีปญหาในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ

Page 38: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

31

องคประกอบของเจตคติ จากการที่เจตคติเปนนามธรรม เปนตัวการสําคัญในการกําหนดพฤติกรรมของคน

เปรียบเสมือนหางเสือของพฤติกรรม ดังนั้น เจตคติจะตองเกิดจากการรับรู มีองคประกอบ 3

ดานคือ

1. ดานความรู (Cognitive Component) เชนความรูที่บุคคลไดรับมา รวมทั้งความ

เชื่อ

2. ดานความรูสึก (Affective Component) เมื่อบุคคลเรียนรูมาจะเกิดความรูสึกตอส่ิง

นั้น วาชอบหรือไมชอบ พอใจหรือไมพอใจ

3. ดานพฤติกรรม (Behavioral Component) เมื่อบุคคลไดเรียนรูมาจะเกิดความรูสึก

ตอส่ิงนั้นในทางบวกหรือลบก็ได และจะแสดงพฤติกรรมตอส่ิงนั้น

สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529: 94-95) ไดอธิบายถึง การปลูกฝงเจตคติและแหลงที่มา

ของเจตคติวา เจตคติเกิดจากการเรียนรู ในขณะที่บุคคลอยูภายใตส่ิงแวดลอม บุคคลจะปะทะ

กับส่ิงแวดลอมตางๆ เกิดเปนประสบการณข้ึน อันจะกอใหเกิดความรูวาอะไรเปนอะไร เกิด

ความรูสึกวาชอบหรือไมชอบ และมีการแสดงพฤติกรรมตอบสนองตอส่ิงที่ไดเกิดการเรียนรูมา

ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง

แหลงที่มาของการเกิดเจตคติ สรุปได 4 ประการคือ

1. ประสบการณเฉพาะดาน บุคคลจะเกิดเจตคติได เมื่อไดมีประสบการณกับตนเอง

ในเรื่องนั้นๆ

2. การติดตอส่ือความหมายกับผูอ่ืน บุคคลจะเกิดเจตคติได เมื่อติดตอส่ือความหมาย

กับผูอ่ืน

3. ตัวอยาง (Model) บุคคลจะเกิดเจตคติไดจากตัวอยางที่ปรากฎ

4. องคประกอบของสถาบัน บุคคลจะเกิดเจตคติจากอิทธิพลของสถาบันตางๆที่

เกี่ยวของ

การเกิดพฤติกรรมทางดานเจตคติ แบงเปน 5 ข้ันตอน (สงวน สุทธิเลิศอรุณ 2529:

95-96) คือ

1. การรับหรือการใหความสนใจเมื่อบุคคลไดปะทะกับส่ิงเรายอมเกิดการรับ หรือให

ความสนใจเกิดความตระหนักหรือเกิดความเต็มใจที่จะรับและมีการคัดเลือกการรับและให

ความสนใจตอส่ิงเราบางอยาง

Page 39: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

32

2. การตอบสนอง เมื่อคนไดรับหรือสนใจในสิ่งเราจะเกิดกรณีผูกพันที่จะตอบสนองตอ

ส่ิงเราเชน การเชื่อฟง เกิดความสมัครใจและความเต็มใจที่จะทํา

3. การเห็นคุณคา หลังจากบุคคลไดรับการตอบสนองตอส่ิงเราแลวบุคคลจะเกิดความ

เชื่อในส่ิงเรานั้น และพัฒนาเปนความรูความเขาใจในขั้นแรกจะมีการยอมรับในคุณคา ตอมาก

เกิดความรูสึกชอบและสุดทายเกิดการยอมรับ

4. การจัดระเบียบ เมื่อบุคคลไดยอมรับคุณคาของสิ่งใดแลวจะมีการจัดระเบียบของคุณ

คานั้นเปนหมวดหมูหรืออาจจะพัฒนาคุณคาของสิ่งนั้นก็ได

5. การแสดงพฤติกรรมตามคุณคาที่ปรากฏ ในขั้นนี้บุคคลจะแสดงพฤติกรรมที่เปน

มาตรฐานสําหรับบุคคลนั้น

ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงเจตคติ

สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529: 96-97) เจตคติแมนไดรับการปลูกฝงในตัวบุคคลก็อาจมี

การเปลี่ยนแปลงไดตามทฤษฎีดังนี้

1.ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงเจตคติเพื่อการปรับตัวใหเขากับสังคม ที่กลาวไววา การ

เปลี่ยนแปลงเจตคติของบุคคลนั้นจะเกิดขึ้นภายหลังจากการที่บุคคลไดเลือกตัดสินใจที่จะปรับ

ตัวใหเขากับส่ิงแวดลอม

2.ทฤษฎีการมีสวนรวมในการกระทํา กลาววาการเปลี่ยนแปลงเจตคติของบุคคลใหเปน

ไปตามรูปใดจะตองใหเขามีสวนรวมในกลุมบุคคลอยางมีประสิทธิภาพ

3.ทฤษฎีความสอดคลองทางความคิด กลาวไววา ถาสมาชิกในสังคมหรือกลุมใดก็ตาม

มีความร ูสึกหรือทาทีไปในทางที่สอดคลองกันก็จะอยูดวยกันไดตอไป

4.ความไมสอดคลองทางความคิด กลาวไววา เมื่อบุคคลเกิดความขัดแยงขึ้นเปนสอง

ทางแตละทางไมลงรอยกันก็จะพยายามขจัดความขัดแยงใหหมดไปไมวาจะขัดแยงกับบุคคล

หรือวัตถุหรือสถานการณ

เคลมาน (Kelman 1958 อางใน สงวน สุทธิเลิศอรุณ 2529: 98) ไดกลาวถึงวิธีการ

เปลี่ยนแปลงเจตคติของบุคคลไวดังนี้

1.การยอมตาม บุคคลจะยอมตามเปลี่ยนแปลงเจตคติเมื่อถูกความกดดันจากกลุม

หรือสถานการณเมื่อถูกบังคับจากกลุมก็จําเปนตองเปลี่ยนเจตคติตามกลุม

Page 40: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

33

2.การเลียนแบบ เมื่อบุคคลเกี่ยวของกับผูอ่ืนจะมีการกระทําระหวางกันเมื่อเกิดความ

พึงพอใจก็จะเกิดการเลียนแบบบุคลิกภาพของบุคคลนั้น กอนจะมีการเลียนแบบจะมีการเปลี่ยน

แปลงเจตคติ

3.ตองการที่จะเปลี่ยน บุคคลเมื่อไดเรียนรูสังคมมากขึ้นก็จะเกิดคานิยมในสิ่งที่ตนชื่น

ชอบทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติตามคานิยม

4.การเปลี่ยนความเชื่อ การเปลี่ยนแปลงเจตคติจะตองเปลี่ยนความเชื่อของบุคคลให

ไดเสียกอน

5.การไดรับความรู ไดรับความรูจากขาวสารที่เชื่อถือไดจะชวยใหบุคคลเปลี่ยนเจตคติ

ได

6.การไดรับประสบการณโดยตรง ถาจะเปลี่ยนเจตคติตองบุคคลจะตองมีประสบ

การณกับตนเองในเรื่องนั้น

7.การเปลี่ยนแปลงปทัสถานทางสังคม เปนวิธีการเปลี่ยนแปลงเจตคติของบุคคลไดวิธี

หนึ่ง

8.การใชวิธีจิตบําบัด กระบวนการลางสมองโดยทําใหบุคคลเกิดความคิดความเขาใจ

อยางแจมแจงยอมเปลี่ยนแปลงเจตคติของบุคคลได

วิธีวัดเจตคติ สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529: 99-101) ไดสรุปไววา มีวิธีที่ใชอยางแพรหลายๆ วิธี ไดแก

1.คําถามแบบที่ใชคําวา เห็นดวย หรือไมเห็นดวย

2.คําถามที่มีตัวเลือกหลายประเด็นตามสเกลที่กําหนด

3.คําถามปลายเปด

4.การใชคําถามแบบใชความหมายของคําที่แตกตางกัน

5.การวัดเจตคติแบบเธอรสโตน เชื่อวาเจตคติของบุคคลที่มีตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดนั้นยอมแตก

ตางกันจากนอยสุดไปมากสุด

6.แบบของโบการดัส เปนเทคนิคการวัดเจตคติทางดานสังคมเปนการวัดในเชิงคุณภาพ

จากแนวคิดของฟรีดแมน (Freedman 1978) ชี้ใหเห็นวา เจตคติ เปนระบบที่มีลักษณะ

มั่นคงถาวร ซึ่งประกอบดวยองคประกอบดานความรู ความรูสึก และการปฏิบัติ ซึ่งสอดคลอง

กับแนวคิดของสงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529: 92) ที่อธิบายวา เจตคติ เปนความรูสึกหรือทาที่ของ

บุคคลที่มีตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดอันมีผลใหบุคคลมีพฤติกรรมตอบสนองในลักษณะที่สอดคลองกันและ

Page 41: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

34

ไดอธิบายถึงหนาที่ของเจตคิตวา มีหนาที่ ชวยใหเกิดความเขาใจในสิ่งเรา ชวยในการปรับตัว

ชวยปองกันตนเอง และชวยในการแสดงออกถึงคานิยม เจตคติเปนความรูสึกหรือทาที่ของ

บุคคลที่มีตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดอันมีผลใหบุคคลมีพฤติกรรมตอบสนอง ตามแนวคิดของสงวน

สุทธิเลิศอรุณ (2529: 92) ครอบคลุมเนื้อหาที่จะศึกษา ผูวิจัยจึงมาใชเปนกรอบในการศึกษา

คร้ังนี้ โดยใชการวัดเจตคติแบบคําถามที่มีตัวเลือกหลายประเด็นตามสเกลและคําถามปลาย

เปดเพื่อใหกลุมตัวอยางสามารถเลือกตอบไดตามความรูสึกของตนอยางกวางขวางยิ่งขึ้น 6. งานวิจัยที่เก่ียวของ

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยตาง ๆ พบวา มีผูทําการศึกษาเกี่ยวกับการมีสวนรวม

ที่มีตอการจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอย รวมถึงเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษาครั้งนี้ ดังนี้

จินตนา เปยสวน (2538) ศึกษาเรื่อง ความรูความตระหนักตนของแมบาน เกี่ยวกับ

การจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในแฟลตขาราชการกรุงเทพมหานครพบวาพฤติกรรมการ

คัดแยกขยะมูลฝอยมีสูง โดยแยกตามประเภทของถังเก็บชนิดตางๆ

วรรณา ล่ิมพานิชย (2538) ไดศึกษาเรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชน ในการกําจัด

ขยะมูลฝอยในเมืองพัทยา พบวา ประชาชนที่อาศัยอยูในเมืองพัทยา ระดับการศึกษา การไดรับ

ขาวสารเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด ไมมีผลตอการมีสวนรวม ความรูความเขาใจในเรื่องขยะ

มูลฝอย และความคิดเห็นตอปญหาขยะมูลฝอยมีความสัมพันธในเชิงบวกกับการมีสวนรวมของ

ประชาชน

ชัยยุทธ โยธามาตย (2539) ศึกษาเรื่อง“การมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะมูล

ฝอย ศึกษาเฉพาะกรณี เขตเทศบาล ตําบลพบิูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี“ ผลการศึกษา

พบวา เพศ อายุ อาชีพ ระยะเวลาที่เขาตั้งถิ่นฐาน การไดรับขาวสาร ไมมีผลตอการมีสวนรวม

ของประชาชนในการกําจัดขยะมูลฝอย สวนระดับการศึกษา รายได การเปนสมาชิกกลุมทาง

สังคม ความรูความเขาใจในเรื่องขยะมูลฝอย และความคิดเห็นตอปญหาขยะมูลฝอยมีความ

สัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะมูลฝอย

นฤเทพ สิทธิชาญคุณะ (2541) ไดทําการศึกษาเรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชนใน

การกําจัดขยะมูลฝอย กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร” พบวา ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครมี

Page 42: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

35

สวนรวมในการกําจัดขยะมูลฝอยในระดับปานกลาง รอยละ 71.2 จากการวิเคราะหหาความ

สัมพันธพบวา ที่อยูอาศัย อาชีพ การศึกษา การรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอย จิตสํานึกตอ

การมีสวนรวม มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะมูลฝอย สวน

อายุ รายได ความรูความเขาใจเรื่องขยะมูลฝอย ทัศนะตอพนักงานเก็บขยะ ไมมีผลตอการมี

สวนรวมของประชาชนตอการกําจัดขยะมูลฝอย

ยุพิน ระพิพนัธุ (2544) ศึกษาเรื่อง ความรู ทัศนคติ และการจัดการที่สงผลตอการมีสวน

รวมของคณะกรรมการชุมชนในการจําแนกประเภทขยะมูลฝอยที่ใชในชีวิตประจําวันกอนทิ้งใน

เขตเทศบาลเมืองพนัสนิคมในจังหวัดชลบุรี พบวา เพศ อาชีพ ระดับการศึกษา ความรูเกี่ยวกับ

ขยะมูลฝอย ระยะเวลาที่อยูในชุมชนมีผลตอการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย

สรุปการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของสรุปไดวา ความรูเร่ืองขยะมูลฝอย การมีสวนรวมในการ

จัดการขยะมูลฝอย การรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยมีผลตอเจตคติในการบริการจัดเก็บขยะ

มูลฝอย สวนอาชีพและลักษณะที่อยูอาศัยของประชาชนที่แตกตางกันยังไมมีการศึกษาที่ชัดเจน

ในเรื่องนี้

จากการศึกษาคนควาวรรณกรรม แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยตางๆที่เกี่ยวของ ผูวิจัยได

นํามาวิเคราะห และสังเคราะห รวมกับหลักฐานเชิงประจักษ เขามาแกปญหาเรื่องการจัดการ

มูลฝอยในชุมชน ตัวแปรที่เปนสาเหตุตอประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยของชุมชน พัฒนาเปน

กรอบแนวคิดในการวิจัย โดยตัวแปรอิสระทุกตวัมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย

ของชุมชน

Page 43: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ผูวิจัยไดศึกษารวบรวม

ขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของจาก หนังสือ งานวิจัย เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาแบบสอบ

ถามและสมมติฐานสําหรับแบบสอบถาม และผูวิจัยไดพัฒนาใหมีคุณภาพโดยมีรายละเอียดดังนี้

ประชากรที่ศึกษาและการสุมตัวยาง

ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนกลุมประชากรที่ประกอบอาชีพตางๆ ที่มีสถานที่อยู

เปน บานพักอาศัย หนวยงานราชการและหนวยงานเอกชนตั้งอยูบนถนนเจริญกรุงมีลักษณะที่อยู

อาศัยและอาชีพแตกตางกัน ไดแก ที่พักอาศัย(บานเรือน) คอนโดมิเนียม สถานที่ราชการ โรง

พยาบาล โรงเรียน วัด โรงพยาบาล ตลาดสด และโรงแรม การเลือกกลุมตัวอยาง เลือกจากกลุมประชากร ที่ไดรับบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

จากเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ซึ่งแตกตางกันตามลักษณะของสถานซึ่งมีอยูหลาก

หลาย แบงเปนกลุมใหญๆ ไดแก บานพักอาศัย หนวยงานราชการและหนวยงานเอกชนทุกหนวย

งานตั้งอยูบนถนนเจริญกรุง

โดยผูวิจัยสงแบบสอบถามแบบเจาะจงไปที่ประธานชุมชน และหัวหนาหนวยงานที่

รับผิดชอบในเรื่องการรักษาความสะอาดในหนวยงานนั้นๆ

ขนาดของกลุมตัวอยาง การกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง ผูวิจัยใชหลักเกณฑการ

คํานวณขนาดกลุมตัวอยาง ของบุญชม ศรีสะอาด (2543 : 37-47) มีหลักเกณฑการคํานวณสัด

สวนดังนี้ หนวยงานที่มีประชากรที่เปนหลักรอยใชสัดสวน 15 –30 % ประชากรที่มีหลักพันใช

สัดสวน 10-15% และประชากรที่มีหลักเปนหมื่นใชสัดสวน 5-10 % ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยได

ใชสัดสวน 15 % ของประชากรที่มีหลักเปนรอย ใชสัดสวน 10 % ของที่เปนเกณฑต่ําสุดของ

Page 44: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

37

ประชากรที่มีหลักเปนพัน และ 5% ของประชากรที่มีหลักเปนหมื่นโดยใชเกณฑต่ําสุด เนื่องจาก

กลุมประชากรมีจํานวนมากและมีความหลากหลาย

ผูวิจัยจึงไดคํานวณขนาดกลุมตัวอยางจากประชากรที่เปนบานพักอาศัยดวยอัตรารอยละ

10 ซึ่งเปนอัตราต่ําสุดของประชากรที่เปนหลักพัน โดยสงแบบสอบถามใหกับประธานชุมชนสงให

กับหัวหนาครัวเรือนไดประชากรจํานวนทั้งสิ้น 156 ตัวอยาง และสงแบบสอบถามไปยังหัวหนา

หนวยงานราชการและหนวยงานเอกชนสําหรับผูที่ทําหนาที่เปนหัวหนาดานรักษาความสะอาด

ของหนวยงานนั้นๆ หนวยงานละ 1 คน จากการกําหนดสัดสวนดังกลาว ไดนํามาพิจารณาขนาด

กลุมตัวอยางจากประชากรกลุมตางๆ ที่นํามาศึกษามีรายละเอียดดังนี้

ชื่อหนวยงาน ประชากร/แหง

กลุมตัวยาง รอยละ

1.บานพักอาศัย 1,495 156 65.27

2.ตลาดสด 28 28 11.71

3.โรงเรียน 7 7 2.93

4.สถานที่ราชการ 5 5 2.09

5.โรงพยาบาลและสถานพยาบาล 2 2 0.84

6.ศาสนสถาน 6 6 2.51

7.สถานบริการที่พักชั่วคราวและหองเชา 15 15 6.28

8.คอนโดมิเนียม 20 20 8.37

รวม 239 100.00

Page 45: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

38

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ลักษณะของแบบสอบถาม แบบสอบถาม แบงออกเปน 3 สวน มีรายละเอียด

ดังนี้

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลประกอบดวย กลุมประชากรจําแนกตาม เพศ อายุ ระดับการ

ศึกษา การนับถือศาสนา รายได อาชีพ และลักษณะที่อยูอาศัย/สถานที่ทํางาน

แบบสอบถาม เจตคติตอการบริการเก็บขนมูลฝอย จํานวน 40 ขอ

สวนที่ 2 แบงเปน 4 กลุม คือ

1.คําถามใชวัดความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอย (จํานวน 10 ขอ) เปนการใหเลือก

ตอบผิดใหคะแนน 0 ตอบถูกใหคะแนน 1 โดยมีเกณฑการแปลผลดังนี้

คะแนน 0.00 -0.33 หมายถึง ระดับนอย

คะแนน 0.34-0.66 หมายถึง ระดับปานกลาง

คะแนน 0.34-1.00 หมายถึง ระดับมาก

2.คําถามใชวัดการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอย (จํานวน 10 ขอ) เปนคํา

ถามมีมาตรวัดเปนแบบ Interval scale 3 ระดับ ประกอบดวย

1-ไมเห็นดวย 2-ไมแนใจ และ3-เห็นดวย

3.คําถามใชวัดการมีสวนรวมของประชาชน (จํานวน 10 ขอ) เปนคําถามมี

มาตรวัดเปนแบบ Interval 3 ระดับ ประกอบดวย

1-ไมเห็นดวย 2-ไมแนใจ และ3-เห็นดวย

4. คําถามใชวัดเจตคติ ตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย (จํานวน 10 ขอ)

เปนคําถามมีมาตรวัดเปนแบบ Interval 3 ระดับ ประกอบดวย 1-ไมเห็นดวย 2-ไมแนใจ และ3-

เห็นดวย

จากขอคําถามในสวนที่ 2 ขอ 2-4 มีระดับการวัดความคิดเห็น 3 ระดับดังนี้ คําถามเชิงบวก คําถามเชิงลบ

เห็นดวย ระดับคะแนน 3 1

ไมแนใจ ระดับคะแนน 2 2

ไมเห็นดวย ระดับคะแนน 1 3

Page 46: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

39

เกณฑการแปลผล แบงคะแนนเฉลี่ยออกเปน 3 กลุมคือ

เห็นดวยระดับตํ่า มีคะแนนเฉลี่ยระหวาง 0.00 - 1.00

เห็นดวยระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.01 - 2.00

เห็นดวยระดับสูง มีคะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.01 - 3.00

สวนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะ เปนคําถามปลายเปด

การสรางเครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแกแบบสอบถาม ผูวิจัยไดสรางขึ้นโดยมีข้ันตอนดังนี้

1.ศึกษาเอกสารและงานวิจัยในสวนที่เกี่ยวของกับการบริการเก็บขนจัดการมูลฝอยนํามา

เปนแนวทางในการสรางแบบสอบถาม

2.กําหนดขอบเขตเนื้อหาในการสรางแบบสอบถาม

3.สรางแบบสอบถามใหสอดคลองกับเนื้อหาที่กําหนดไว

การพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ในการสรางและพัฒนาแบบสอบถามใหมีคุณภาพ ผูวิจัยไดพัฒนาเครื่องมือดวยตนเอง

โดยรวบรวมขอมูลจากเอกสารตาง ๆ เพื่อนําเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถาม

เมื่อทําการสรางแบบสอบถามเปนเครื่องมือที่จะใชในการวิจัยแลว ผูวิจัยไดทําการตรวจ

สอบคุณภาพของเครื่องมือและดําเนินการปรับปรุงแกไข โดยมีข้ันตอนดังนี้

1. การตรวจสอบความตรงของเครื่องมือ (Validity) ไดนําแบบสอบถามที่สรางขึ้น

ไปหาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยนําแบบสอบถามฉบับรางไปใหกรรมการ

วิทยานิพนธ จํานวน 3 ทาน และผูทรงคุณวุฒิจํานวน 2 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

เพื่อตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือในดานเนื้อหาคําถาม เพื่อใหครอบคลุมและวัดไดตรง

ตามที่ตองการวัด รวมทั้งตรวจสอบความเปนปรนัย (Objectivity) ของคําถาม คําตอบแตละขอ

เพื่อใหไดขอคําถามที่ถูกตองชัดเจน เมื่อผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิแลวผูวิจัยไดนําแบบ

Page 47: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

40

สอบถามมาทําการปรับแกใหเหมาะสมทั้งภาษาและเนื้อหาตามความคิดเห็นและขอเสนอแนะ

ของผูทรงคุณวุฒิ เพื่อนําไปตรวจสอบคุณภาพดานอํานาจการจําแนกของขอคําถาม ความเที่ยง

ตรงของเครื่องมือ เพื่อนําไปใชจริง

2. การทดลองใชแบบสอบถาม (Try Out) นําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแลวไป

ทดลองใชกับประชากรที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง ซึ่งมีลักษณะเดียวกัน จํานวน 30 คน

จากเขตยานาวา เพื่อตรวจสอบภาษาที่ใชใหเปนที่เขาใจและมีความชัดเจนเมื่อนําแบบสอบถาม

ไปใชไดจริง

3. การตรวจสอบอํานาจจําแนกรายขอของแบบสอบถาม (Discrimination) นํา

ขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามมาตรวจสอบคุณภาพดวยอํานาจจําแนกรายขอของขอคําถามดวย

การทดสอบหาคาความแตกตางของคาเฉลี่ย (⎯X ) ระหวางกลุมสูงกับกลุมตํ่า ตามเทคนิค 25%

ของลิเคอรต (Likert) โดยเรียงคะแนนจากมากไปหานอย แบงเปนกลุมสูง 25% และกลุมตํ่า 25%

แลวนํามาเปรียบเทียบกันดวยสูตร t-test คัดเลือกเฉพาะขอที่มีคา t-test ตั้งแต 1.75 ข้ึนไป ที่

ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 (บุญชม ศรีสะอาด 2536 : 94) จึงนําไปใชจริง โดยถือวาเปน

อํานาจจําแนกที่ใชได

4. การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ (Reliability) ทําการทดสอบ

กลับกลุมตัวอยางที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจริงจํานวน 30 คน ไดคาความเชื่อมั่น

0.7458

5. ทําการปรับปรุงแกไขขอบกพรองของแบบสอบถามขั้นสุดทาย ในดานการ

ใชภาษา สํานวนภาษาในขอคําถามใหเขาใจงายและเขาใจตรงกัน มีความเที่ยงตรง มีความ

เหมาะสมในการนําไปใช แลวจึงนําไปทําการสอบถามจากลุม ตัวอยางจริง (Internal

Consistency) ดวยวิธี Coefficient Alpha ของ Cronbach โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for

Windows

การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยไดติดตอประธานชุมชนและหัวหนาหนวยงาน เพื่อขอความรวมมือในแจกแบบสอบ

ถามใหแกบุคคลากรในหนวยงานทําการตอบแบบสอบถาม ผูวิจัยไดจัดแบบสอบถามตามสัดสวน

ของประชากรตอกลุมตัวอยางที่กําหนดไวขางตน

Page 48: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

41

ในการเก็บรวมรวมขอมูล ผูวิจัยพยายามเก็บแบบสอบถามกลับมาใหไดมากที่สุดดวย

การมจีดหมายปะหนาทุกชุด เพื่อช้ีแจงผูตอบแบบสอบถามไมตองระบุชื่อ นามสกุล สําหรับการ

ตอบแบบสอบถาม ผูวิจัยจะนําเสนอผลการวิจัยในภาพรวม เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามมีความ

สบายใจที่จะตอบแบบสอบถามตามความคิดเห็น ซึ่งจะเปนประโยชนในการวิจัยครั้งนี้ โดยจะใช

เวลาในการเก็บรวมรวมขอมูลประมาณ 1 เดือน

การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางนํามาวิเคราะห ทําการลงรหัสจากนั้น

ไดนําไปวิเคราะหทางสถิติดวยเครื่องคอมพิวเตอร ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows

และในการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาความสัมพันธทางสถิติในการวิจัยครั้งนี้ ใชระดับความเชื่อมั่น

รอยละ 95 (α = 0.05) เปนเกณฑในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานในการวิจัย

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

1.วิเคราะหคาสถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) โดยใชคาความถี่ (Frequency)

และคารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

Diviation) กับตัวแปรอิสระทุกตัวที่ใชในการวิจัยครั้งนี้

2. คาความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) หาคาความแตกตางตัวแปรมาก

กวา 2 กลุม

3. คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation

Coefficient)

การทดสอบสมมติฐาน

ผูวิจัยไดตั้งสมมติฐานเพื่อใชในการตอบปญหาตามวัตถุประสงคไวดังนี้

สมมติฐานที่ 1 ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูล

ฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน

สมมติฐานที่ 2 ประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะแตกตางกันมีเจตคติตอ

การบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน

Page 49: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

42

สถิติที่ใชวิเคราะหสมมติฐานที่ 1-2 ใชความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA)

หาความแตกตางของตัวแปรมากกวา 2 กลุม

สมมติฐานที่ 3 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธ

กับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สมมติฐานที่ 4 การรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับ

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สมมติฐานที่ 5 การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับ

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

สถิติที่ใชวิเคราะห สมมติฐานขอ 3 - 5 คือ การหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบ

เพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient)

การกําหนดเกณฑในการแปลความหมายคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน มีดังนี้

คา γ ความหมาย 0.8 ข้ึนไป มีความสัมพันธอยูในระดับสูง

0.61- 0.80 มีความสัมพันธอยูในระดับคอนขางสูง

0.41- 0.60 มีความสัมพันธอยูในระดับปานกลาง

0.21- 0.40 มีความสัมพันธอยูในระดับคอนขางต่ํา

0.01- 0.20 มีความสัมพันธอยูในระดับตํ่า

0.00 ไมมีความสัมพันธ

Page 50: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามจํานวน 239 ชุด เปนการวิจัยเชิงสํารวจที่ทําการ

ศึกษาเจตคติตอการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาปจจัย

ที่มีผลกระทบตอเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ดังจะ

นําเสนอผลการวิจัยตามลําดับดังนี ้

ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไป

ตารางที่ 2 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ขอมูลปจจัยสวนบุคคล จํานวน รอยละ 1. เพศ ชาย

หญิง

114

125

47.70

52.30

รวม 239 100.00

2. อายุ 20-30ป

31-40ป

41-50ป

50 ปขึ้นไป

55

111

52

21

23.00

46.40

21.80

8.80

รวม 239 100.00

3.ระดับการศึกษา ประถมศึกษา

มัธยมศึกษา/ปวช.

อนุปริญญา/ปวส.

ปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

81

85

27

21

25

33.90

35.60

11.30

8.80

10.50

รวม 239 100.00

4. นับถือศาสนา ศาสนาพุทธ

ศาสนาคริสต

ศาสนาอิสลาม

180

10

49

75.30

4.20

20.50

รวม 239 100.00

Page 51: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

44

ขอมูลปจจัยสวนบุคคล จํานวน รอยละ 5. รายได 4,000-5,500 บาท

5,501-7,500 บาท

7,501-15,000 บาท

15,001-25,000 บาท

25,000 บาทขึ้นไป

69

101

48

17

4

28.90

42.30

20.10

7.10

1.70

รวม 239 100.00

6.อาชีพ เอกชน

ขาราชการ

พนักงานรัฐวิสาหกิจ

แมคา

แมบาน

นักบวช

พนักงานบริษัท

พนักงานโรงแรม

ภารโรง

อาจารย ครู

บริกร

ลูกจาง(ราชการ)

อื่นๆ

28

22

6

22

23

4

25

8

3

1

94

1

2

11.70

9.20

2.50

9.20

9.60

1.70

10.50

3.30

1.30

0.40

39.3

0.40

0.80

รวม 239 100.00

7.ที่อยูอาศัย/สถานที่ทํางาน บานพักอาศัย

ตลาดสด

โรงเรียน

สถานที่ราชการ

โรงพยาบาลและสถานพยาบาล

ศาสนสถาน

สถานบริการที่พักชั่วคราว

คอนโดมิเนียม

156

28

7

5

2

6

15

20

65.27

11.71

2.93

2.09

0.84

2.51

6.28

8.37

รวม 239 100.00

Page 52: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

45

ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามจากตารางที่ 2 พบวา ผูตอบแบบ

สอบถาม จํานวน 218 คน แยกเปน ชาย จํานวน 114 คน คิดเปนรอยละ 47.70 และเปน

หญิง จํานวน 125 คน คิดเปนรอยละ 52.30 มีอายุ 20-30ป จํานวน 55คน คิดเปนรอยละ 23.00

อายุ 31-40 ป จํานวน 111 คน คิดเปนรอยละ 46.40 อาย ุ 41-50ป จํานวน 52 คน คิดเปนรอย

ละ 21.80 อายุสูงกวา 50 ป จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 8.80

พิจารณาระดับการศึกษา พบวา ระดับประถมศึกษา จํานวน 81 คน คิดเปนรอยละ

33.90 มัธยมศึกษาตอน/ปวช. จํานวน 85 คน คิดเปนรอยละ 35.60 อนุปริญญา/ปวส.

จํานวน 27คน คิดเปนรอยละ 11.30คน ปริญญาตรี จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 8.80 และ สูง

กวาปริญญาตรี จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 10.50

พิจารณาดานอาชีพ พบวา ผูตอบแบบสอบถามเปนเอกชน จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ

11.70 ขาราชการ จํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 9.20 พนักงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 6 คน คิด

เปนรอยละ 2.50 แมคา จํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 9.20 แมบาน จํานวน 23 คน คิดเปนรอย

ละ 9.60 นักบวช จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 1.70 พนักงานบริษัท จํานวน 25 คน คิดเปนรอย

ละ 10.50 พนักงานโรงแรม จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 3.30 ภารโรง จํานวน 3 คน คิดเปนรอย

ละ 1.30 ครู อาจารย จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.40 บริกร จํานวน 94 คิดเปนรอยละ 39.3 ลูก

จางราชการ จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.40 และอ่ืนๆ จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.80

พิจารณาดานรายได พบวา มีรายไดตอเดือน รายได 4,000-5,500 บาท จํานวน 69 คน

คิดเปนรอยละ 28.90 รายได 5,501-7,500 บาท จํานวน 101 คน คิดเปนรอยละ 42.30 รายได

7,501-15,000 บาท จํานวน 48 คน คิดเปนรอยละ 20.10รายได 15,001-25,000 บาท จํานวน 17

คน คิดเปนรอยละ 7.10 รายได และรายไดสูงกวา 25,000 บาท จํานวน 4 คน คิดเปน 1.70

พิจารณาดานที่อยูอาศัยและสถานที่ทํางานพบวา บานพักอาศัย จํานวน 156 คน คิดเปน

รอยละ 65.27 ตลาดสด จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ 11.71 โรงเรียน จํานวน 7 คน คิดเปน

รอยละ 2.93 สถานที่ราชการ จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 2.09 โรงพยาบาลและสถานพยาบาล

จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.84 ศาสนสถาน จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 2.51 สถานบริการ

ที่พักชั่วคราว จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6.28 และ คอนโดมิเนียม จํานวน 20 คน คิดเปน

รอยละ 8.37

สรุปผลการวิเคราะหพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีลักษณะที่อยูอาศัยเปนบานพักอาศัย

หองพักชั่วคราว และคอนโดมิเนียม ตามลําดับ โดยประกอบอาชีพเปนบริกรมากที่สุด รองลงมา

เปน เอกชน และพนักงานบริษัท มีอายุอยูในชวง 31-40 ปมากที่สุดและมีรายไดอยูในระหวาง

5,501 -7,500 บาท

Page 53: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

46

ตารางที่ 3 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถาม

ความรูเกี่ยวกับมูลฝอย

ขอความ ใช ไมใช Mean SD. ระดับ

1.ทานคิดวามูลฝอยคือ วัตถุส่ิงของที่ไม

ตองการใชแลวซึ่งสวนใหญเปนของแข็งจะ

เนาเปอยหรือไมก็ได

78.70 21.30 0.79 0.41 มาก

2.ทานคิดวาเศษกอสราง คอนกรีตที่แตก

เปนชิ้นเล็กๆ ไมจัดวาเปนขยะมูลฝอย

42.30 57.70 0.42 0.50 ปานกลาง

3.ทานคิดวาเศษหญา ฟางขาว ที่มาจาก

การกสิกรรมไมจัดวาเปนขยะมูลฝอย

45.20 54.80 0.45 0.50 ปานกลาง

4.ทานคิดวาขยะมูลฝอยเกิดจากการเตรียม

การประกอบหรือจากการบริการดานอาหาร

62.30 37.70 0.62 0.49 ปานกลาง

5.ทานคิดวาการหมักปุยเปนการกําจัดขยะ

แบบหนึ่ง

67.40 32.60 0.67 0.47 มาก

6.ทานคิดวาการฝงกลบขยะมูลฝอยเปน

การกําจัดอยางไมถูกหลักสุขาภิบาล

38.50 61.50 0.38 0.49 นอย

7.ทานคิดวาการกําจัดขยะดวยการลด

ปริมาณและการคัดแยก เปนการกําจัดขยะ

มูลฝอยที่สมบูรณที่สุด

66.50 33.10 0.67 0.47 มาก

8.ทานคิดวาไมควรนําของที่ใชแลวกลับมา

ใชใหม

52.30 47.70 0.52 0.50 ปาน

กลาง

9.ทานคิดวาขยะมูลฝอยที่มาจากชุมชนไม

ควรใหชุมชนมีสวนรวมในการกําจัดขยะมูล

ฝอยเพราะเปนหนาที่ของสํานักงานเขตที่

ตองรับผิดชอบ

47.70 52.30 0.48 0.50 ปานกลาง

10.ทานคิดวาขยะมูลฝอยสงผลใหเกิดมล

ภาวะตอส่ิงแวดลอม เปนแหลงเพาะ

เชื้อโรค เปนการเสี่ยงตอสุขภาพและเปน

การสูญเสียทางเศรษฐกิจชุมชนตองเสียคา

ใชจายสําหรับการกําจัดขยะมูลฝอย

72.00 28.00 0.72 0.45 มาก

รวม 0.57 0.16 ปานกลาง

ผลการวิเคราะหตารางที่ 3 ปจจัยดานความรูเกี่ยวกับมูลฝอย พบวา ในภาพรวม

Page 54: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

47

กลุมตัวอยางมีความรูเกี่ยวกับมูลฝอยมีคาเฉลี่ยเทากับ 0.57 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ

0.16 ซึ่งมีคาอยูในระดับปานกลาง ความรูเกี่ยวกับมูลฝอยในระดับมาก ประกอบดวยขอคําถามที่

วา ทานคิดวามูลฝอยคือ วัตถุส่ิงของที่ไมตองการใชแลวซึ่งสวนใหญเปนของแข็งจะเนาเปอยหรือ

ไมก็ได ทานคิดวาการหมักปุยเปนการกําจัดขยะแบบหนึ่ง ทานคิดวาการกําจัดขยะดวยการลด

ปริมาณและการคัดแยกเปนการกําจัดขยะมูลฝอยที่สมบูรณที่สุด และทานคิดวาขยะมูลฝอยสงผล

ใหเกิดมลภาวะตอส่ิงแวดลอมเปนแหลงเพาะเชื้อโรค เปนการเสี่ยงตอสุขภาพและเปนการสูญเสีย

ทางเศรษฐกิจ ชุมชนต องเสียคาใชจายสําหรับการกําจัดขยะมูลฝอย แสดงใหเห็นวาการมีความรู

ความเขาใจเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และมีความตองการที่จะกําจัดขยะออกจากแหลงกําเนิด เพราะรู

วาจะทําใหเกิดความเสี่ยงตอสุขภาพ

มีขอสังเกต ที่ไดจากคําถามที่กลาววา “ขยะมูลฝอยที่มาจากชุมชนไมควรใหชุมชนมีสวน

รวมในการกําจัดขยะมูลฝอย เพราะเปนหนาที่ของสํานักงานเขตที่ตองรับผิดชอบ ความรูในขอนี้

ประชาชนตอบ รอยละ 52.30 วาไมใช นั่นแสดงใหเห็นวา ถาประชาชนยังมีความรูความเขาใจเรื่อง

นี้ไมมากพอ ประชาชนก็จะไมใหความรวมมือ หรือไมรับผิดชอบ เพราะคิดวาไมใชหนาที่ของตนที่

ตองปฏิบัติ ซึ่งลักษณะเชนนี้ จะสงผลใหการจัดการขยะในชุมชนไมไดผล”

ตารางที่ 4 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถาม

Page 55: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

48

เกี่ยวกับปจจัยดานการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชน ขอความ เห็นดวย

อยางยิ่ง ไมแนใจ ไมเห็น

ดวย Mean SD. ระดับ

1.ทานคิดวาการประชาสัมพันธของเขตในการ

ใหบริการขนขยะมูลฝอยทั่วถึง

53.60 37.20 9.20 2.44 0.66 มาก

2.ทานคิดวาการประชาสัมพันธของเขตในการ

ใหบริการเก็บขนขยะใชส่ือไมเหมาะสม

6.30 70.70 23.00 1.83 0.52 ปาน

กลาง

3.ทานคิดวาทานไมคอยไดรับขาวสารดานการ

บริการ

10.0 36.00 54.00 1.56 0.67 ปาน

กลาง

4.ทานคิดวาเจาหนาที่ที่มาใหบริการให

สามารถประชาสัมพันธเกี่ยวกับการใหบริการ

ดีอยูแลว

43.10 43.50 13.40 2.30 0.69 มาก

5.ทานคิดวาไมจําเปนตองมีการ

ประชาสัมพันธเร่ืองเวลาการเก็บขนขยะ

32.20 41.40 26.40 2.60 0.76 มาก

6.ทานคิดวาทานไมเคยทราบเกี่ยวกับเวลา

เก็บขนขยะจากเจาหนาที่เพราะไมไดอยูบาน

19.20 51.00 29.70 1.90 0.69 ปาน

กลาง

7.ทานคิดวาเขตไมจําเปนตองมีชองทางการ

ส่ือสารกับประชาชน

40.20 25.90 33.90 2.06 0.86 มาก

8.ทานคิดวาเขตควรประชาสัมพันธการ

บริการ และชวงเวลาการใหบริการดวยการทํา

ปายประชาสัมพันธ

60.70 27.60 11.70 2.49 0.70 มาก

9.ทานคิดวาเขตควรแจกแผนพับ หรือใบปลิว

เพื่อใหความเขาใจแกประชาชนในการบริการ

เก็บขนขยะ

56.50 36.00 7.50 2.49 0.63 มาก

10.ทานคิดวาการจัดทําวีดีโอแนะนําแนวทาง

การจัดการขยะของเขตเปนประโยชน

57.30 33.90 8.80 2.49 0.65 มาก

รวม 2.16

0.26

มาก

ผลการวิเคราะหตารางที่ 4 ปจจัยดานการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชน

เกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนพบวา การรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนใน

ภาพรวม อยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.16 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.26

โดยพบวา ความคิดเห็นที่มีคาอยูในระดับสูง ประกอบดวย ทานคิดวาการประชาสัมพันธของเขต

ในการใหบริการขนขยะมูลฝอยทั่วถึง ทานคิดวาเจาหนาที่ที่มาใหบริการใหสามารถประชา

สัมพันธเกี่ยวกับการใหบริการดีอยูแลว ทานคิดวาไมจําเปนตองมีการประชาสัมพันธเร่ืองเวลาการ

Page 56: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

49

เก็บขนขยะ ทานคิดวาเขตไมจําเปนตองมีชองทางการสื่อสารกับประชาชน ทานคิดวาเขตควร

ประชาสัมพันธการบริการ และชวงเวลาการใหบริการดวยการทําปายประชาสัมพันธ ทานคิดวาเขต

ควรแจกแผนพับ หรือใบปลิวเพื่อใหความเขาใจแกประชาชนในการบริการเก็บขนขยะ และ ทานคิด

วาการจัดทําวีดีโอแนะนําแนวทางการจัดการขยะของเขตเปนประโยชน

ตารางที่ 5 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถาม

เกี่ยวกับปจจัยดานการมีสวนรวมของประชาชน ขอความ เห็นดวย

อยางยิ่ง ไมแนใจ

ไมเห็นดวย

Mean SD. ระดับ

1.ทานคิดวาประชาชนควรมีสวนรวมในการกําจัด

ขยะมูลฝอย

73.20 20.90 5.90 2.67 0.58 มาก

2.ทานคิดวาเขตควรเปดโอกาสใหประชาชนมีสวน

รวมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งจะทําให

การบริการเก็บขนขยะมูลฝอยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

52.30 45.60 2.10 2.50 0.54 มาก

3.ทานคิดวาเขตควรคิดรูปแบบใหมๆ ในการบริการ

เก็บขนขยะมูลฝอย

54.40 36.00 9.60 2.45 0.66 มาก

4.ทานคิดวาทานพรอมที่จะใหความรวมมืออนุรักษ

ส่ิงแวดลอมกับเขต เพื่อใหชุมชนของทานนาอยู

43.10 38.50 18.40 2.25 0.75 มาก

5.ทานคิดวาทานไมมีเวลาในการทํากิจกรรมรวมกับ

เขตในการกําจัดขยะ

20.50 38.10 41.40 1.79 0.76 ปาน

กลาง

6.ทานคิดวาประชาชนไมใหความรวมมือกับเขตใน

การอนุรักษส่ิงแวดลอม

17.20 48.50 34.30 1.83 0.70 ปาน

กลาง

7.ทานคิดวาเขตควรมีโครงการเพื่อใหประชาชนเขา

รวมทํากิจกรรม

53.60 31.00 15.50 2.38 0.74 มาก

8.ทานคิดวาการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมทําใหมี

ความรูความเขาใจในการทํางานของเจาหนาที่

55.60 37.20 7.10 2.49 0.63 มาก

9.ทานคิดวาการมีสวนทํากิจกรรมตางๆ ทําใหเกิด

ความรวมมือกันมากขึ้น

59.80 33.50 6.70 2.53 0.62 มาก

10.ทานคิดวาเปนหนาที่ของเขตในการใหบริการ

โดยที่ไมจําเปนตองเขาไปมีสวนรวมในการรักษา

ความสะอาดชุมชน

31.40 36.40 32.20 1.99 0.80 ปาน

กลาง

รวม 2.29

0.27

มาก

Page 57: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

50

ผลการวิเคราะหตารางที่ 5 ปจจัยดานการมีสวนรวมของประชาชน พบวา การมีสวนรวม

ของประชาชนตามความคิดเห็นของกลุมตัวอยางในภาพรวม อยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ

2.29 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.27 โดยพบวา ขอคําถามที่มีคาอยูในระดับมาก

ประกอบดวย ทานคิดวาประชาชนควรมีสวนรวมในการกําจัดขยะมูลฝอย ทานคิดวาเขตควรเปด

โอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งจะทําใหการบริการเก็บขนขยะ

มูลฝอยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทานคดิวาเขตควรคิดรูปแบบใหมๆ ในการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ทานคิดวาทานพรอมที่จะใหความรวมมืออนุรักษส่ิงแวดลอมกับเขต เพื่อใหชุมชนของทานนาอยู

ทานคิดวาเขตควรมีโครงการเพื่อใหประชาชนเขารวมทํากิจกรรม ทานคิดวาการมีสวนรวมในการ

ทํากิจกรรมทําใหมีความรูความเขาใจในการทํางานของเจาหนาที่ ทานคิดวาการมีสวนทํากิจกรรม

ตางๆ ทําใหเกิดความรวมมือกันมากขึ้น และทานคิดวาเปนหนาที่ของเขตในการใหบริการ โดยที่ไม

จําเปนตองเขาไปมีสวนรวมในการรักษาความสะอาดชุมชน

Page 58: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

51

ตารางที่ 6 แสดงคารอยละ คะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถาม

เกี่ยวกับปจจัยดานเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย ขอความ เห็นดวย

อยางยิ่ง ไมแนใจ ไมเห็น

ดวย Mean SD. ระดับ

1.ทานพึงพอใจตอการใหบริการเก็บขนขยะ

มูลฝอยของเขต

59.80 27.20 13.00 2.47 0.71 มาก

2.ทานพึงพอใจตอการใหบริการเก็บขนขยะ

มูลฝอยของเจาหนาที่ที่เขาไปบริการถึงหนา

บาน

58.60 38.50 2.90 2.56 0.55 มาก

3.ทานพึงพอใจตอโครงการของเขตในการ

ใหประชาชนไปมีสวนรวมในการทํากิจกรรม

53.10 35.6 11.30 2.42 0.69 มาก

4.ทานคิดวาการมีความรูเกี่ยวกับขยะทําให

เกิดทัศนคติที่ดีกับเจาหนาที่ที่มาใหบริการ

54.00 35.10 10.90 2.43 0.68 มาก

5.ทานรูสึกวาความรูเกี่ยวขยะมูลฝอยทําให

ทานสามารถจัดการกับขยะมูลฝอยไดถูกวิธี

55.60 39.70 4.60 2.51 0.59 มาก

6. ทานพึงพอใจในการทํางานตอเจาหนาที่

ที่เสียสละและรับผิดชอบตอการจัดการขยะ

มูลฝอย

54.00 34.30 11.70 2.42 0.69 มาก

7.ทานคิดวาเจาหนาที่ไมมาเก็บขนขยะตาม

เวลาที่กําหนด

22.60 36.00 41.40 1.81 0.78 ปาน

กลาง

8.ทานพึงพอใจตอการบริหารดานการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขต

54.00 37.20 8.80 2.45 0.65 มาก

9.ทานคิดวา รถขนขยะไมเหมาะสมและมี

ไมเพียงพอตอการใหบริการเก็บขนขยะ

9.60 43.90 46.40 1.63 0.65 ปาน

กลาง

10.ทานคิดวาเขตควรมีการจัดการมูลฝอย

ที่ดีกวานี้และควรถูกกับลักษณะสุขาภิบาล

8.0 26.9 65.10 1.43 0.64 ปาน

กลาง

รวม 2.22 0.26 มาก

ผลการวิเคราะหตารางที่ 6 ปจจัยดานเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยพบวา เจต

คติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยในภาพรวม อยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.22

และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.26 โดยพบวา ความคิดเห็นที่มีคาอยูในระดับมาก ไดแก

ทานพึงพอใจตอการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขต ทานพึงพอใจตอการใหบริการเก็บขน

Page 59: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

52

ขยะมูลฝอยของเจาหนาที่ที่เขาไปบริการถึงหนาบาน ทานพึงพอใจตอโครงการของเขตในการให

ประชาชนไปมีสวนรวมในการทํากิจกรรม ทานคิดวาการมีความรูเกี่ยวกับขยะทําใหเกิดทัศนคติที่ดี

กับเจาหนาที่ที่มาใหบริการ ทานคิดวาเจาหนาที่ไมมาเก็บขนขยะตามเวลาที่กําหนด ทานคิดวาเจา

หนาที่ไมมาเก็บขนขยะตามเวลาที่กําหนด ทานพึงพอใจตอการบริหารดานการบริการเก็บขนขยะ

มูลฝอยของเขต และทานคิดวารถขนขยะไมเหมาะสมและมีไมเพียงพอตอการใหบริการเก็บขน

ขยะ

ผลการทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบสมมติฐาน ปจจัยที่มีผลกระทบตอเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขต

บางคอแหลม กรุงเทพมหานคร มีรายละเอียดสรุปไดดังนี้

ตารางที่ 7 การวิเคราะหความแปรปรวนเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และตัวแปรตามตางๆ จําแนกอาชีพ

ตัวแปร แหลงความแปรปรวน SS df MS F Sig.

Between Groups 0.983 12 0.082

Within Groups 14.804 225 0.066

อาชีพ

Total 15.786 237

1.244 .254

สมมติฐานที่ 1 ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูล

ฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน

ผลการวิเคราะหขอมูลจากตารางที่ 7 พบวา ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีเจตคติ

ตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่

ระดับ 0.05 ซึ่งไมยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง

แสดงใหเห็นวาประชาชนไมวาจะประกอบอาชีพใด มีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูล

ฝอยไมแตกตางกัน เพราะทุกอาชีพมีความตองการที่จะกําจัดขยะมูลฝอย และตองใชบริการเก็บขน

ขยะมูลฝอยของสํานักงานเขตเชนเดียวกัน

Page 60: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

53

ตารางที่ 8 การวิเคราะหความแปรปรวนเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบาง

คอแหลม กรุงเทพมหานคร และตัวแปรตามตางๆ จําแนกลักษณะที่พักอาศัย

ตัวแปร แหลงความแปรปรวน SS df MS F Sig.

Between Groups 1.681 7 0.240

Within Groups 14.105 230 0.061

ลักษณะที่พักอาศัย

Total 15.786 237

3.916 .000

สมมติฐานที่ 2 ประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะแตกตางกันมีเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน

ผลการวิเคราะหขอมูลจากตารางที่ 8 พบวา ประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะ

แตกตางกันมีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน ที่ระดับนัย

สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว แสดงใหเห็นวา ประชาชนที่พักอาศัยอยู

ในสถานที่ที่มีลักษณะแตกตางกัน มีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะที่แตกตางกัน ทั้งนี้เพราะ

สถานที่ที่เปนแหลงกําเนิดของขยะในกรุงเทพมหานครมีหลากหลายลักษณะ และมีขยะมูลฝอย

หลายประเภทที่ตองการการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยในลักษณะตางๆ กัน

Page 61: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

54

ตารางที่ 9 คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบาง

คอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรความรูเกี่ยวกับมูลฝอย

ตัวแปร ⎯X SD. γ Sig.

เจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร

2.216 0.258

ความรูเกี่ยวกับมูลฝอย 0.572 0.159

0.024 0.717

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สมมติฐานที่ 3 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับ

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

ผลการวิเคราะห คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรความรูเกี่ยวกับมูลฝอย จากตารางที่ 9 พบวา คา

เฉล่ียของเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม (⎯X = 2.216) และความรูเกี่ยว

กับมูลฝอย (⎯X = 0.572) อยูในระดับปานกลาง และมีความสัมพันธในระดับตํ่า กับเจตคติ

ตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย (γ = 0.024) ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งไมยอมรับ

สมมติฐานที่ตั้งไว

แสดงใหเห็นวา ประชาชนมีความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอย แตไมไดนํามาเกี่ยวกับความคิด

เห็นในดานการบริการเก็บขนมูลฝอยของสํานักงานเขต ดังนั้น ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขยะ

มูลฝอยของประชาชนจึงไมมีความสัมพันธกับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบาง

คอแหลม

Page 62: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

55

ตารางที่ 10 คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบาง

คอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชน

ตัวแปร ⎯X SD. γ Sig.

เจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร

2.216 0.258

การรับรูขาวสาร 2.162 0.2580

0.145 0.025

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สมมติฐานที่ 4 การรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับ

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

ผลการวิเคราะห คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชน

จากตารางที่ 10 พบวา คาเฉลี่ยของเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม อยู

ในระดับมาก (⎯X =2.216) และการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชน (⎯X = 2.162)

อยูในระดับมาก และมีความสัมพันธในระดับตํ่า กับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย (γ =

0.093) ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

แสดงใหเห็นวา ประชาชนไดรับขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยไมมากนัก แตการรับรูขาว

สารยังมีความสัมพันธกับการใหบริการเก็บขนมูลฝอยของสํานักงานเขต แตอยูในระดับตํ่า ทั้งนี้

เพื่อใหการบริการมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประชาชนจะรูและเขาใจการใหบริการของสํานักงานเขต

มากยิ่งขึ้น สํานักงานเขต จึงควรทําการประชาสัมพันธการใหบริการแกประชาชนใหมากยิ่งขึ้น จาก

จึงกลาวไดวา ตัวแปรการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธ

ตอเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

Page 63: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

56

ตารางที่ 11 คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการมีสวนรวมของประชาชน

ตัวแปร ⎯X SD. γ Sig.

เจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร

2.216 0.258

การมีสวนรวมของประชาชน 2.288 0.272

0.258 0.000

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สมมติฐานที่ 5 การมีสวนรวมของประชาชนมีความสัมพันธกับเจตคติตอการบริการ

เก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

ผลการวิเคราะห คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการมีสวนรวมของประชาชน จากตารางที่ 11 พบวา

คาเฉลี่ยของเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม (⎯X = 2.216) และการมีสวน

รวมของประชาชน (⎯X = 2.288) อยูในระดับมาก และมีความสัมพันธในระดับคอนขางต่ํากับเจต

คติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย (γ = 0.258) ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับ

สมมติฐานที่ตั้งไว

แสดงใหเห็นวา การมีสวนรวมของประชาชนในเรื่องเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และการ

บริการเก็บขนมูลฝอยของสํานักงานเขตมีความสัมพันธกันคอนขางนอย ประชาชนสวนใหญจะมี

สวนรวมกับสํานักงานเขตในการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยในทางออม กลาวคือ มีประชาชนบาง

สวนที่มีการทิ้งขยะแบบคัดแยกขยะ สวนใหญยังคงทิ้งขยะในถังภาชนะที่รองรับขยะตามที่ที่

กําหนดไว หรือจากที่ประชาชนวางไวหนาบานกรณีที่เจาหนาที่บริการเก็บขนขยะตรงจากที่พัก

อาศัย จึงเห็นไดวาความรวมมือกับสํานักงานเขตในการบริการเก็บขนขยะจึงมีความสัมพันธใน

ระดับคอนขางต่ํา

Page 64: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

57

สรุปผลจากการวิเคราะหปจจัยที่มีผลกระทบตอเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร พบวา

1. ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ของเขตบางคอแหลมไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งไมยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง

ไว

2. ประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะแตกตางกันมีเจตคติตอการบริการเก็บขน

ขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติ

ฐานที่ตั้งไว

3. ความรูเกี่ยวกับมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับเจตคติตอการบริการเก็บขน

ขยะ มูลฝอยของเขตบางคอแหลม มีความสัมพันธในระดับตํ่า (γ = 0.024) ที่ระดับนัยสําคัญ

ทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งไมยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

4. การรับรูขาวสารของประชาชนเกี่ยวกับขยะมูลฝอยมีความสัมพันธกับเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม มีความสัมพันธในระดับตํ่า (γ = 0.145) ที่

ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

5. การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธกับเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม มีความสัมพันธในระดับคอนขางต่ํา (γ =

0.258) ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 65: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเจตคติตอการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรณีศึกษา:

ถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร คร้ังนี้มีวัตถุประสงค ดังนี้

1. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ เขตบาง

คอแหลม กรุงเทพมหานคร

2. เพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการใหบริการเก็บขนมูลฝอยของ เขตบางคอแหลม

กรุงเทพมหานคร เพื่อใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยผูวิจัยใชแบบสอบถาม ซึ่งแบงออกเปน 3 สวน ประกอบดวย

ปจจัยสวนบุคคลในดานของกลุมประชากรที่จําแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา การนับถือ

ศาสนา รายได อาชีพ และลักษณะที่อยูอาศัย /สถานที่ทํางาน คําถามเปนคําถามที่ใชวัดความรู

เกี่ยวกับขยะมูลฝอย คําถามใชวัดการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอย คําถามใชวัดการมีสวน

รวมของประชาชน คําถามใชวัดเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยการจัด ซึ่งมีคาความเชื่อ

มั่นเทากับ 0.7458

สรุปผลการวิจัย

สรุปผลจากการวิเคราะห ปจจัยที่มีผลกระทบตอเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร พบวา

1. ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกัน มีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขต

บางคอแหลมไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งไมยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

2. ประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะแตกตางกัน มีเจตคติตอการบริการเก็บ

ขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับ

สมมติฐานที่ตั้งไว

3. ความรูเกี่ยวกับมูลฝอยของประชาชน มีความสัมพันธกับเจตคติตอการบริการเก็บ

ขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม มีความสัมพันธในระดับตํ่า (γ = 0.024) ที่ระดับนัยสําคัญ

ทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งไมยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 66: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

59

4. การรับรูขาวสารของประชาชนเกี่ยวกับขยะมูลฝอย มีความสัมพันธกับเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม มีความสัมพันธในระดับตํ่า (γ = 0.145)

ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

5. การมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยของประชาชน มีความสัมพันธกับเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม มีความสัมพันธในระดับคอนขางต่ํา (γ = 0.258)

ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

การอภิปรายผลการวิจัย ผลการศึกษาในครั้งนี้จะนําเสนอประเด็นสําคัญที่พบในการวิจัยดังตอไปนี้

สมมติฐานที่ 1 ผลการวิเคราะห พบวา ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

0.05 ซึ่งไมยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง

ผลการศึกษาที่ไมยอมรับสมมติฐาน แสดงใหเห็นวา ประชาชนที่มีอาชีพแตกตาง

กัน มีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยไมแตกตางกัน เพราะทุกอาชีพมีความตองการที่จะ

กําจัดขยะมูลฝอย และตองใชบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของสํานักงานเขตเชนเดียวกัน การ

ประกอบอาชีพของประชาชน ที่อยูในพื้นที่ความรับผิดชอบของสํานักงานเขตบางคอแหลมนั้นจะมี

ความหลากหลาย ทําใหขยะมูลฝอยมีลักษณะแตกตางกัน เชน อาชีพแมคา หรือแมบาน จะเปน

แหลงของขยะมูลฝอยเปยก เกิดจากการเตรียมการประกอบหรือบริการอาหาร จากตลาดมีการซื้อ

ขายอาหารสดหรือจากการทิ้งเศษขยะมูลฝอย และผลผลิตเกี่ยวกับอาหาร ขยะมูลฝอยที่เก็บกวาด

จากถนน ซากพืช เศษชิ้นสวนของยานพาหนะ สวนประชาชนที่มีอาชีพกอสราง จะมีขยะใน

ลักษณะ เศษวัสดุที่เหลือทิ้งจากสิ่งกอสราง ในขณะที่อาชีพอุตสาหกรรม จะมีขยะประเภทขยะมูล

ฝอยพิเศษหรือขยะพิษ หรือถาเปนขยะมูลฝอยที่มาจากฟารมที่เลี้ยงสัตว เกิดจากผูที่ประกอบ

อาชีพกสิกรรม เปนตน ซึ่งลักษณะการจัดเก็บขยะมูลฝอยหรือการจัดการและการทําลายก็จะมี

ลักษณะแตกตางกันออกไปตามประเภทของขยะมูลฝอยนั้น ๆ ถึงแมประชาชนในเขตบางคอแหลม

จะมีความหลากหลายของอาชีพ แตผลผลิตของขยะที่ไดสวนใหญจะไมแตกตางกันมาก ดังนั้น

ประชาชนที่ประกอบอาชีพแตละลักษณะอาชีพ จึงมีความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และการจัดการ

ขยะมูลฝอยที่เหมาะสมในแตละประเภทของขยะมูลฝอยที่อยูในความรับผิดชอบ ซึ่งความรูเกี่ยว

Page 67: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

60

กับขยะมูลฝอยตาง ๆ นั้นจะทําใหเห็นความสําคัญในการคัดแยกขยะและใชวิธีการกําจัดหรือการ

จัดการที่เหมาะสม สงผลตอความสะอาดของสถานที่ บานเรือนและชุมชนของตน ไมเปนบอเกิด

ของโรคและไมเปนปญหาตอส่ิงแวดลอม ทั้งนี้เพราะประชาชนจะมีความเขาใจและอาศัยการจัด

เก็บจากหนวยงานรักษาความสะอาดทําใหมีเจตคติที่ดีตอการใหบริการอัน จะสงผลดีตอการ

บริการในดานจัดเก็บของสํานักงานเขตบางคอแหลมที่ทํางานไดรวดเร็วขึ้น สามารถบริการไดอยาง

มีประสิทธิภาพดวย นอกจากนี้ยังสอดคลองกับแนวคิดของ ปรีดา แยมเจริญวงศ (2531 : 13-14)

ที่ใหขอสนับสนุนเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยไววา การดําเนินการจัดการมูลฝอยที่ดี จะตองใช

วิธีการกําจัดที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล โดยไมทําใหเกิดมลพิษตอสภาพแวดลอม พื้นดิน แหลง

น้ําและอากาศ เปนตน โดยจะตองคํานึงถึงองศประกอบ สําคัญ 5 ประการ คือ ชนิด ปริมาณและ

ลักษณะของขยะมูลฝอย ที่เกิดขึ้นตามประเภทของกิจกรรมและแหลงกําเนิด คาใชจายและการลง

ทุนที่ใชในการดําเนินงาน เกี่ยวกับการจัดการในการกําจัด ปญหาเกี่ยวกับสภาพแวดลอม ที่ไดรับ

ผลจากการเกิดมลพิษ อาจจะสงผลกระทบตอสุขภาพและความเปนอยูของมนุษย การนําเอา

ทรัพยากรบางสวนจากขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนในดานตางๆ และกฎหมาย ระเบียบ ขอ

บังคับและหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนั้นประชาชนที่ประกอบอาชีพตาง ๆ ยอมมีความรูในการจัด

การขยะตามประเภทแหลงกําเนิดอยูแลว จึงไมสงผลตอเจตคติในการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ของสํานักงานเขตบางคอแหลม

สรุปจากผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ประชาชนทุกอาชีพตางก็มีความตองการ ที่จะกําจัด

ขยะมูลฝอย ซึ่งการจัดการขยะมูลฝอยเกิดจากจิตสํานึกในดานการรักษาความสะอาดของบุคคล

และเห็นความสําคัญของสิ่งแวดลอมที่อาจสงผลถึงมลภาวะตางๆที่จะสงผลกระทบหรืออาจเปน

อันตรายตอสุขภาพอนามัยของตน อีกทั้งมีความจําเปนที่จะตองมีสวนรับผิดชอบในการรักษาความ

สะอาดในการกําจัดขยะมูลฝอย เพื่อมิใหเกิดปญหาการตกคางและสงกลิ่นเหม็นและไมเปนปญหา

หรือภาระของตน ดังนั้นจึงแสดงใหเห็นวา ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกัน จะมีเจตคติตอการ

บริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมไมแตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 68: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

61

สมมติฐานที่ 2 ผลการวิเคราะห พบวา ประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะแตก

ตางกันมีเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมแตกตางกัน ที่ระดับนัย

สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ประชาชนที่พักอาศัยอยูในพื้นที่ในเขตบางคอแหลม จะมี

สถานที่ที่มีลักษณะแตกตางกัน ทั้งนี้เพราะลักษณะที่พักอาศัย หรือสถานท ี ทํางานของประชาชนมี

ความแตกตางกัน มีหลากหลายลักษณะ อาทิ บานพักอาศัยในชุมชน คอนโดมิเนียม สถานที่

ทํางานทั้งหนวยงานราชการและเอกชน เปนตน จึงมีลักษณะของมูลฝอยที่เกดิข้ึนแตกตางกนั ทาํให

การทิ้งขยะมีลักษณะที่แตกตางกันดวย และมีขยะมูลฝอยหลายประเภทที่ตองการการบริการเก็บ

ขนขยะมูลฝอยในลักษณะตางกันตามสถานที่นั้น ๆ การจัดการขยะมูลฝอยที่ดีตองไมกอใหเกิด

ความเดือดรอนรําคาญแกบุคคลอื่นหรือชุมชน ดังนั้นการดําเนินการจัดการขยะมูลฝอยที่ดี จะตอง

ใชวิธีการกําจัดที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล โดยไมทําใหเกิดมลพิษตอสภาพแวดลอม เชน พื้นดิน

แหลงน้ําและอากาศ เปนตน และจะตองคํานึงถึงองศประกอบ สําคัญ ไดแก ปริมาณและลักษณะ

ของขยะมูลฝอย ที่เกิดขึ้นตามประเภทของกิจกรรมและแหลงกําเนิด โดยเฉพาะสถานที่ที่เปนแหลง

สรางขยะอันตราย อาทิ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ จะพบปญหาคือขยะพิษ ขยะอันตราย

เข็มฉีดยา โดยจะมีการจัดเก็บขนโดยการจัดจางบริษัทเอกชน แตขยะมูลฝอยทั่วไปจะจัดเก็บโดย

ฝายรักษาความสะอาดของสํานักงานเขตบางคอแหลม นอกจากนี้ยังมีขยะมูลฝอยจากบานพัก

อาศัยสวนใหญอยูในชุมชนตาง ๆ เชน ชุมชนสวนหลวง1, ชุมชนวัดพระยาไกรระยะ3 และชุมชน

บางอุทิศ การเก็บขนจะใชวิธีการชักลากเนื่องจากขอจํากัดของพื้นที่ในชุมชน แมมีความแตกตางกนั

ตามลักษณะของที่พักอาศัย แตประชาชนจะรับรูปญหาเกี่ยวกับสภาพแวดลอม ที่ไดรับผลจากการ

เกิดมลพิษของมูลฝอยที่อาจจะสงผลกระทบตอ สุขภาพและความเปนอยูของมนุษย ซึ่งสอดคลอง

กับหลักของกองวิชาการและแผนงาน (2537) ที่ไดอธิบายถึงวิธีการจัดการขยะมูลฝอย ในรูปแบบ

การจัดกิจกรรมหรือโครงการลดและแยกขยะมูลฝอยในชุมชน ที่ทําใหชุมชนมีจิตสํานึกและวิสัย

ทัศน ใหความรวมมือในการการวางกลยุทธในชุมชนดานการรักษาความสะอาด และยังสอดคลอง

กับแนวคิดของยุพิน ระพิพันธุ (2544 : 24 – 26) ไดกลาวถึง หลักการในการดําเนินการจัดการขยะ

มูลฝอย เกี่ยวของกับการควบคุม การทิ้งการเก็บชั่วคราว การรวบรวม การขนถายและการขนสง

การแปลงรูป และการกําจัดขยะมูลฝอย โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดในทางสุขอนามัย ความ

สวยงาม การอนุรักษส่ิงแวดลอม และที่สําคัญที่สุด คือการยอมรับของสังคม ในการจัดการขยะมูล

ฝอยอยางมีประสิทธิภาพจะตองอาศัยปจจัยในหลายๆ ดานประกอบกัน ไดแก การบริการ การรับรู

ขอมูลขาวสารดานสิ่งแวดลอม ประสบการณที่เกี่ยวกับส่ิงแวดลอม และวิธีการจัดการ ขยะมูล

Page 69: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

62

ฝอยในแตประเภท โดยวิธีการจัดการจะตองพิจารณาถึงความเหมาะสมในทุกแงทุกมุม นอกจากนี้

ยังพบวา ขยะมูลฝอยที่มาจากชุมชนมีมากกวาขยะมูลฝอยจากแหลงอื่นทั้งมีความหลากหลายจาก

ส่ิงของที่ทิ้งปะปนกันอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตที่ผูคนอยูกันอยางแออัด ไมมีที่เพียงพอที่จะเก็บ

ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นได ถึงแมวาจะมีพื้นที่เพียงพอจะเก็บก็จะตองคํานึงถึงการ ขนยายหรือกําจัดไป

ในเวลาที่ตองการ มิฉะนั้นจะเกิดการเนาเหม็น เปนภาพที่ไมนาดู และอาจมีผลตอสุขภาพอนามัย

ของประชาชน ทั้งนี้การจัดเก็บขยะมูลฝอยจึงขึ้นอยูกับความตระหนักของแหลงกําเนิด ซึ่งถามีทัศ

นคติที่กับการจัดการขยะมูลฝอยก็ยอมสงผลตอการจัดการสิ่งแวดลอม ทําใหที่พักอาศัยถูกสุข

อนามัย และปราศจากโรคภัย

ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาประชาชนที่พักอาศัยอยูในที่พักที่มีลักษณะแตกตางกัน จึงมี

เจตคติตอจัดเก็บขยะมูลฝอยรวมถึงเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของสํานักงานเขตบาง

คอแหลมดวย ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 70: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

63

สมมติฐานที่ 3 ผลการวิเคราะห คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บ

ขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรความรูเกี่ยวกับมูลฝอย จากตารางที่

9 พบวา คาเฉลี่ยของเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม อยูในระดับปาน

กลาง (⎯X = 2.216) และความรูเกี่ยวกับมูลฝอยอยูในระดับปานกลาง (⎯X = 0.572) และมี

ความสัมพันธในระดับต่ํา (γ = 0.024) กับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย ที่ระดับนัย

สําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งไมยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

ผลการศึกษาที่ไมยอมรับสมมติฐาน แสดงใหเห็นวา ถึงแมวาประชาชนมีความรูเกี่ยวกับ

ขยะมูลฝอย แตไมไดนํามาเกี่ยวกับความคิดเห็นในดานการพึงพอใจตอการบริการเก็บขนมูลฝอย

ของสํานักงานเขตบางคอแหลม ดังนั้น ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนจึง

ไมมีความสัมพันธกับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม ทั้งนี้อาจมี

สาเหตุที่เกิดขึ้นไดหลายปจจัย เชน ความรูของประชาชนที่เกี่ยวกับขยะมูลฝอย ซึ่งอยูในระดับ

ปานกลางนั้น กับความพึงพอใจในการบริการเก็บขนมูลฝอยเปนความรูที่ไมเกี่ยวของสัมพันธกัน

ดังเชน มีบางคําถามที่กลาววา “ขยะมูลฝอยที่มาจากชุมขนไมควรใหชุมชนมีสวนรวมในการกําจัด

เพราะเปนหนาที่ ของสํานักงานเขตที่จะตองรับผิดชอบ” ที่ทําใหประชาชนอาจมีความรูความเขาใจ

ที่ผิดวาไมใชหนาที่และความรับผิดชอบของตนในการกําจัด ดังนั้นทางสํานักงานเขตควรใหความรู

เร่ืองในเรื่องของวิธีการ, ข้ันตอน หรือระยะเวลาในการจัดเก็บขยะมูลฝอยซึ่งเปนสิ่งสําคัญ สําหรับ

ความรูดานวิชาการของมูลฝอย เพื่อใหประชาชนเกิดความตระหนักในการจัดการคัดแยกทิ้งขยะ

ใหถูกวิธี เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาขยะมูลฝอยที่เกิดจากบานเรือนของตน

เพราะปญหาขยะมูลฝอยเปนปญหาสําคัญของชุมชนเมืองที่ควรไดรับการแกไข จากการที่ขยะมี

หลากหลายชนิดของขยะมูลฝอย อาทิ ขยะมูลฝอยเปยก ขยะมูลฝอยแหง ข้ีเถา ซากสัตว เศษกอ

สราง มูลฝอยจากถนน มูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม ขยะมูลฝอยจากกสิกรรม และขยะ

มูลฝอยพิเศษที่เปนของเสียซึ่งมีอันตรายสูง ของเสียเหลานี้ตองกําจัดและควบคุมเปนพิเศษไมให

เกิดอันตรายตอมนุษย ทําใหทราบถึงประเภทของขยะมูลฝอยที่มีประโยชนในการนํามาประกอบกบั

การจัดการขยะมูลฝอย ประเภทของขยะมูลฝอย ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของวิรัช ชมชื่น (2537:

28) ความรูที่นํามาสรางกิจกรรมทั้งหลายในการจัดการขยะมูลฝอย ตั้งแตการทิ้งขยะมูลฝอยจน

กระทั่งถึงการกําจัดขยะมูลฝอยในข้ันสุดทาย ไดแกการทิ้งขยะมูล การจัดการขยะมูลฝอย และ

การแปลงรูปหรือการคืนรูป และแนวคิดการจัดการของยุพิน ระพิพันธุ (2544 : 24 – 26) ที่

อธิบายใหเห็นถึงการจัดการขยะมูลฝอยประเภทตางๆ ไดอยางกวางขวาง

Page 71: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

64

นอกจากนี้ ปรีดา แยมเจริญวงศ (2531 : 13-14) ยังชี้ใหเห็นวา การดําเนินการจัดการ

มูลฝอยที่ดี จะตองใชวิธีการกําจัดที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล โดยไมทําใหเกิดมลพิษตอสภาพ

แวดลอม

ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ความรูดานวิชาการเกี่ยวกับขยะมูลฝอย เปนสิ่งสําคัญทีท่าํให

บุคคลเกิดจิตสํานึกในการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการจัด

การขยะมูลฝอยถูกวิธี แตในสวนที่ประชาชนไมไดนําความรูความเขาใจที่เกี่ยวกับการบริการและ

วิธีการเก็บขยะมูลฝอยของสํานักงานเขตบางคอแหลมอาจเนื่องมาจากการใหความรูในสวนนี้ไมทั่ว

ถึง หรือไมไดรับขอมูล จึงทําใหความสัมพันธดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของ

ประชาชนมีความสัมพันธกับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลมต่ําและ

ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 72: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

65

สมมติฐานที่ 4 ผลการวิเคราะห คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บ

ขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอย

ของประชาชนจากตารางที่ 10 พบวา คาเฉลี่ยของเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขต

บางคอแหลมอยูในระดับปานกลาง (⎯X =2.216) และการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของ

ประชาชนอยูในระดับปานกลาง (⎯X = 2.162) และมีความสัมพันธในระดับตํ่า (γ = 0.093) กบั

เจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐาน

ที่ตั้งไว

ผลการศึกษาที่ยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว แสดงใหเห็นวา ประชาชนไดรับขาวสารเกี่ยวกับ

ขยะมูลฝอยไมมากนัก แตการรับรูขาวสารยังมีความสัมพันธกับการใหบริการเก็บขนมูลฝอยของ

สํานักงานเขต แตอยูในระดับตํ่า ทั้งนี้เพื่อใหการบริการมีประสิทธิภาพมากขึ้นและไดรับความรวม

มือที่ดีประชาชนจะตองรูและเขาใจการใหบริการของสํานักงานเขตมากยิ่งขึ้น สํานักงานเขต จึงควร

ทําการประชาสัมพันธการใหบริการแกประชาชนใหมากยิ่งขึ้น จากผลการวิเคราะหที่ไดจากแบบ

สอบถาม มีถึงรอยละ 60.70 ที่ตองการใหเขตทําปายประชาสัมพันธการบริการและชวงเวลาของ

การใหบริการ ดังนั้นจึงแสดงวาการประชาสัมพันธทางเขตไดมีการดําเนินการ แตขอมูลอาจจะยัง

ไมถึงกลุมเปาหมายทั้งหมด หรือการรับรูขอมูลขาวสารยังไมเพียงพอตองมีการกระทําที่ตอเนื่อง

และเขาถึงแตในภาพรวมก็มีการรับรูขาวสารที่ทางเขตไดลงประชาสัมพันธอยูบาง จึงกลาวไดวา

ตัวแปรการรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชนมีความสัมพันธตอเจตคติตอการบริการ

เก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม ทั้งนี้การรับรูของประชาชนเกี่ยวกับการบริการเก็บขน

มูลฝอย จะทําใหประชาชนทราบถึง กระบวนการใหบริการของสํานักงานเขตบางคอแหลม ที่จะเขา

ไปอํานวยความสะดวกในการจัดเก็บขนมูลฝอย เปนบริการที่เขาถึงแหลงกําเนิดของขยะมลูฝอย ซึง่

เปนสถานที่ซึ่งจัดไวใหโดยใชการชักลากและรถเก็บขนมูลฝอย ตามแนวคิดของธเนศ ศรีสถิตย

(2537: 1-10) อธิบายใหเห็นวา การเก็บขนมูลฝอยขนาดเล็กไปเทลงรถบรรทุกมูลฝอยขนาดใหญ

ที่บรรจุมูลฝอยไดปริมาณมากๆ ทําใหรถเก็บขนมูลฝอยขนาดเล็กไมตองขนสงมูลฝอยไปยังสถานที่

กําจัดมูลฝอย ประหยัดคาใชจายรถเก็บขนมูลฝอยมีเวลาในการเก็บขนมูลฝอยมากขึ้นทําให

สามารถขยายพื้นที่เก็บขนได หากมีรถเก็บขนมูลฝอยเองสามารถขนสงมูลฝอยมาทิง้สถานขีนถาย

ได เปนการลดภาระของหนวยงานที่รับผิดชอบ ที่สถานีขนถายมูลฝอย สามารถคัดแยกมูลฝอยที่มี

ประโยชนไดระหวางที่รอเวลาในการขนสงมูลฝอยไปยังสถานที่กําจัด การกําจัดขยะมูลฝอย มี

ความสําคัญตอชุมชน ทั้งนี้เพราะผลกระทบและปญหาที่เกิดจากขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยที่เกิด

Page 73: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

66

จากชุมชน มีความจําเปนอยางยิ่งในการที่จะตองกําจัด หากไมมีการเก็บและกําจัดอยางถูกตอง

หรืออยางเหมาะสมแลว จะทําใหเกิดปญหาตาง ๆ ตอชุมชน เกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอม เชน

น้ําเสีย อากาศเสีย เกิดการปนเปอนของดิน แหลงเพาะพันธุของเชื้อโรคและแมลง ในขยะมูล

ฝอยอาจจะมีเชื้อโรคที่ทําใหเกิดโรคตาง ๆ ปะปนมา เชน มูลฝอยจากโรงพยาบาล และการสะสม

ของมูลฝอยที่เก็บขนมา ถากําจัดไมถูกตองจะเปนแหลงเพาะพันธุแมลงวันและหนู ซึ่งจะเปน

พาหะนําโรคมาสูคน การเสี่ยงตอสุขภาพ ชุมชนที่ขาดการกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี และถูกตองตาม

หลักเกณฑการสุขาภิบาล จะทําใหประชาชนเสี่ยงตอการเปนโรคตาง ๆ ไดโดยงาย เชน

โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หรือ พยาธิชนิดตาง ๆ เนื่องจากขยะมูลฝอยเปน

แหลงเพาะพันธุของแมลง การแพรของโรคยอมเปนไดงาย นอกจากนั้นยังมีอันตรายที่เกิดจาก

ขยะพิษ เชน หลอดฟลูออเรสเซนต มีสารปรอท ทําใหปวดศรีษะ ออนเพลีย ประสาทหลอน หรือ

การไดรับสารตะกั่ว จากแบตเตอรี่รถยนต ยาฆาแมลงก็จะทําใหออนเพลีย ซีด ปวดเมื่อยตาม

กลามเนื้อ ความจําเสื่อม ชักกระตุกและหมดสติได ดังนั้นหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบการให

บริการควรจะมีการสื่อสารประชาสัมพันธใหประชาชนมีความรูความเขาใจ เพื่อใหประชาชน

ตระหนักถึงโทษภัยของขยะมูลฝอย ที่สงผลเสียตอสภาพแวดลอมและสุขภาพของประชาชน

การเก็บรวบรวมและกําจัดขยะมูลฝอยที่ดี จะชวยใหชุมชนเกิดความสวยงาม ความเปนระเบียบ

เรียบรอย อันแสดงถึงการมีวัฒนธรรมนําไปสูความเจริญของชุมชน ถาขาดการเก็บหรือการจดัการ

ไมดี ยอมทําใหเกิดความไมนาดู ซึ่งขยะมูลฝอยกอใหเกิดเหตุรําคาญแกประชาชนได เนื่องจาก

ความสกปรกและกลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเนาเปอย หรือการสลายของขยะมูลฝอย ซึ่งสอดคลอง

กับแนวคิดของของนรินทร พัฒนาพงศ (2542: 3) ที่อธิบายใหเห็นวา กระบวนการในการสื่อสาร

รวมถึงการประชาสัมพันธนับวาเปนหัวใจสําคัญ ที่องคกรจะใชเปนเครื่องมือในการสรางความ

สัมพันธกับประชาชน โดยการเสนอขาวสาร การสรางกิจกรรม และการแสดงความปรารถนาดีตอ

ประชาชนในฐานะที่สํานักงานเขตรับผิดชอบ เกี่ยวกับการบริการดานการเก็บขนขยะมูลฝอยใหกับ

ประชาชน ความสัมพันธในลักษณะนี้จะนําไปสูเจตคติที่ดีตอการบริการ การสื่อสารประชา

สัมพันธ จึงเปนแนวคิดที่นํามาใชศึกษา เพื่อใหทราบถึง ผลของการสื่อสารและการประชาสัมพันธ

ที่จะทําหนาที่ประสานความเขาใจ ทําใหประชาชนมีเจตคติที่ดีตอการใหบริการ ทําเกิดผลดีตอการ

บริหารงานใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย

ผลจากการศึกษาแสดงใหเห็นวา การรับรูขอมูลขาวสารและการบริการเก็บขนมูลฝอยมี

ความสําคัญที่จะแกไขปญหาลดปริมาณขยะในชุมชน เพื่อใหประชาชนไมเสี่ยงตอมลภาวะเปนพิษ

Page 74: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

67

ที่อาจเปนบอเกิดของโรคตางๆ ได จึงกลาวไดวา การรับรูขาวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของประชาชน

มีความสัมพันธกับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

สมมติฐานที่ 5 ผลการวิเคราะห คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรเจตคติในการบริการเก็บ

ขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร กับตัวแปรการมีสวนรวมของประชาชน จาก

ตารางที่ 11 พบวา คาเฉลี่ยของเจตคติในการบริการเก็บขนมูลฝอยของเขตบางคอแหลมอยูใน

ระดับปานกลาง (⎯X = 2.216) การมีสวนรวมของประชาชนอยูในระดับปานกลาง (⎯X = 2.288)

และมีความสัมพันธในระดับคอนขางต่ํา (γ = 0.258) กับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว

ผลการศึกษาที่สอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว แสดงใหเห็นวา การมีสวนรวมของประชา

ชนในเรื่องเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และการบริการเก็บขนมูลฝอยของสํานักงานเขตมีความสัมพันธกัน

คอนขางนอย ดวยสาเหตุที่การทํากิจกรรมหรือโครงการตาง ๆ ที่จะกระจายไปสูแหลงอาศัยที่แตก

ตางกัน ทําใหประชาชนเขารวมกิจกรรมหรือมีสวนรวมนอย เพราะแหลงอาศัยบางสถานที่ไมเอื้อตอ

การจัดทํา ดังนั้นประชาชนสวนใหญจะมีสวนรวมกับสํานักงานเขตในการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ในทางออม กลาวคือ มีประชาชนบางสวนที่มีการทิ้งขยะแบบคัดแยกขยะ สวนใหญยังคงทิ้งขยะใน

ถังภาชนะที่รองรับขยะตามที่ที่กําหนดไว หรือจากที่ประชาชนวางไวหนาบานกรณีที่เจาหนาที่

บริการเก็บขนขยะตรงจากที่พักอาศัย จึงเห็นไดวาความรวมมือกับสํานักงานเขตในการบริการเก็บ

ขนขยะจึงมีความสัมพันธในระดับคอนขางต่ํา ทั้งนี้การมีสวนรวมของประชาชนมิใชเพียงแคคัด

แยกมูลฝอยเทานั้น แตเปนการที่ประชาชนมีสวนในการปฏิบัติกิจกรรมอื่น ๆ ในการจัดการมูลฝอย

ใหสําเร็จตามวัตถุประสงค ซึ่งก็มีชุมชนบางอุทิศ มีการจัดกิจกรรมรักษาความสะอาดเพื่อพัฒนา

ชุมชน ยุวัฒน วุฒิเมธี (2526 : 25) ไดชี้ใหเห็นวา การมีสวนรวมของประชาชนวา เปนการเปด

โอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการคิดริเร่ิม การพิจารณาตัดสินใจ การรวมปฏิบัติ และ

การรวมรับผิดชอบในเรื่องตาง ๆ อันมีผลกระทบถึงตัวของประชาชนเอง เพื่อแกไขปญหาและนํา

มาซึ่งสภาพความเปนอยูที่ดีข้ึนของประชาชน ในการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของสํานักงาน

เขต เปนการใหบริการเพื่อมุงหวังในการจัดการขยะมูลฝอยใหกับประชาชน ซึ่งเปนภาระหนัก ทั้งนี้

เพราะปริมาณขยะมูลฝอยมีเปนจํานวนมาก ประชากรในกรุงเทพมหานครเพิ่มข้ึน ในขณะที่เจา

หนาที่ สถานที่กําจัดขยะ หรือสถานที่ทิ้งขยะมีนอย อีกทั้งขยะมีหลากหลายประเภท ซึ่งการจัดการ

กับขยะแตละประเภทมีวิธีการที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นแหลงกําเนิดของขยะมูลฝอยตองมีความรู

เกี่ยวกับวิธีการกําจัดที่ถูกวิธี มีการคัดแยกขยะแยกไว เมื่อเจาหนาที่สํานักงานเขตมาใหบริการ จะ

เปนการอํานวยความสะดวกใหบริการเก็บขนขยะได เร็วขึ้น ซึ่งการมีสวนรวมของประชาชนในการ

Page 75: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

68

คัดแยกขยะ เปนสิ่งสําคัญที่กรุงเทพมหานคร ไดทําการรณรงคใหประชาชน เขาใจและยังอํานวย

ความสะดวกโดยจัดภาชนะรองรับขยะที่แยกประเภทไวใหอยางเดนชัด เพื่อใหเกิดความตระหนัก

และสรางนิสัยใหทิ้งขยะเปนที่เปนทางตามที่กําหนดซึ่งงายตอการเก็บขน การมีสวนรวมของประชา

ชนในการจัดการขยะมูลฝอย จึงควรเปนสิ่งที่ควรนํามารณรงคใหประชาชนมีจิตสํานึกในการมีสวน

รวมในการกําจัดขยะมูลฝอย เพื่อประโยชนของสวนรวม กลุมประชากรไมวาจะจําแนกตาม

เพศ อายุ ระดับการศึกษา การนับถือศาสนา รายได อาชีพ และลักษณะที่อยูอาศัย/สถานที่ทํางาน

ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของไพรัตน เตชะรินทร (2527 : 6-7) ที่อธิบายถึงการมีสวนรวมของชุมชน

ในการพัฒนาวา เปนกระบวนการที่รัฐบาลทําการสงเสริม ชักนํา สนับสนุน และสรางโอกาสให

ประชาชนทั้งในรูปสวนบุคคล กลุมคน ชมรม สมาคม มูลนิธิและองคการอาสาสมัครรูปแบบตางๆ

ใหเขามามีสวนรวมดําเนินงานในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องรวมกัน ทั้งนี้เพื่อใหบรรลุตามวัตถุ

ประสงคและนโยบายของการพัฒนาตามที่กําหนดไว เปนวิธีการพัฒนาเพื่อแกไขและลดปญหา

ของชุมชน หรือเพื่อสรางสรรคส่ิงใหมที่เปนประโยชนตอชุมชน หรือสนองความตองการของชุมชน

เปนการทํากิจกรรมเพื่อขจัดและแกไขปญหาและสนองความตองการของชุมชนซ่ึง ประชาชนตองมี

เจตคติที่ดีตอการมีสวนรวมในการทํากิจกรรม

ดังนั้นจากผลจากการศึกษาแสดงใหเห็นวา สรุปไดการมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอย

ของประชาชนจะนําไปสูการแกไขปญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนและเห็นดวยอยางยิง่วาการมี

สวนรวมในการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่จัดขึ้นในชุมชนจะทําใหเกิดความรวมมือกันมากขึ้น จึงมีความ

สัมพันธกับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม ซึ่งเปนไปตามสมมติฐาน

ที่ตั้งไว

Page 76: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

69

ผลจากการศึกษาครั้งนี้แสดงใหเห็นวา ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และการ

มีสวนรวมของประชาชนในการจัดเก็บขยะมูลฝอยเปนสิ่งสําคัญ ที่มีผลตอการจัดการขยะมูลฝอย

เพราะความรูเกี่ยวกับขยะมูลฝอยทําใหประชาชนเขาใจการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ในชุม

ชนของตน สามารถจัดการไดอยางมีระเบียบเรียบรอย ถูกกับสุขลักษณะ ซึ่งสงผลตอสภาพแวด

ลอมของชุมชนนั้นๆ และทําใหสํานักงานเขตใหบริการไดรวดเร็ว และบรรลุวัตถุประสงค

จากผลการศึกษา สํานักงานเขตควรมีการปรับปรุงการใหขอมูลขาวสารในดานบริการและการ

ประชาสัมพันธที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ทางเขตจัดขึ้น ซึ่งจะเปนผลดีตอการบริการของสํานักงานเขต

และยังชวยใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดการดานความสะอาดและสิ่งแวดลอมในครัวเรือน และ

ในชุมชน ซึ่งเปนการแกไขปญหาการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งเปนปญหาที่หนักที่พบในทุกพื้นที่ของ

กรุงเทพมหานครได

ขอเสนอแนะจากความคิดเห็น

ขอเสนอแนะที่ไดจากประชาชน โดยแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทาง

ตาง ๆ ในการบริการเก็บขนมูลฝอยของสํานักงานเขตสรุปไดดังนี้

1. ควรมีการเก็บขนขยะใหถี่ข้ึน บางครั้งเจาหนาที่ของเขตเวนระยะเวลา

ในการเขามารับและเก็บขนทําใหเกิดการตกคางสงกลิ่นเหม็นรบกวน โดยเฉพาะชุมชนพระยาไกร

ระยะ 3 และจุดรับขยะที่ชักลากอยูไกล ทําใหยากลําบากตอการชักลากและเก็บขน

2. ควรจัดใหมีรถบริการเก็บขนมูลฝอยขนาดเล็กที่เขาไปในชุมชน เพื่อ

สามารถเขาถึงแหลงกําเนิดขยะไดมากยิ่งขึ้น ชุมชนสวนใหญจะมีถนนและทางเดินเทาขนาดเล็กทํา

ใหรถใหญเขาไมได จึงตองการใหมีการใชรถที่มีขนาดเล็กเพื่อใหเขาถึง และสะดวกตอการเก็บ

ขนมูลฝอยในชุมชน

3. สํานักงานเขตควรจัดถังขยะใหกับชุมชนตางๆ มากขึ้น เพื่อสะดวก

ตอการทิ้งและมีเพียงพอกับความตองการ ประชาชนยังมีความจําเปนที่ตองนํามูลฝอยไปทิ้งในถัง

ขยะ เพราะในชวงเวลาของการเก็บขนไมสามารถนําไปถึงได

4. ตองการใหหนวยงานที่รับผิดชอบเขามาเปนผูนําในการจัดกิจกรรมการ

รักษาความสะอาด เพราะผูนําชุมชนไมใหความสนใจดานนี้ และบางครั้งการจัดก็ทําไดไมดีทําให

ไมไดรับความรวมมือจากประชาชน และควรแนะนําแบบอยางหรือพาไปศึกษาจากชุมชนอื่น ๆ ที่

จัดกิจกรรมหรือโครงการจนประสบความสําเร็จ เพื่อจะไดมาจัดทําใหเกิดในชุมชนบาง

Page 77: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

70

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป

1. ควรศึกษาปจจัยอ่ืนที่มีผลกระทบตอเจตคติในการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอย เพื่อ

นําผลที่ไดมาเปนแนวทางเพิ่มเติมในการบริหารจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของสํานักงานเขต

2. ควรศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอการบริการดานความสะอาดอื่นๆ ของสํานักงาน

เขต เพื่อนําผลที่ที่ไดมาปรับปรุงการบริหารจัดการดานการบริการประชาชน

3. ควรศึกษารายละเอียดของปจจัยที่สงผลตอการเก็บขนมูลฝอยโดยเฉพาะการมีสวนรวม

ของประชาชน โดยจัดทํากิจกรรมหรือโครงการหลาย ๆ รูปแบบเพื่อเปนแนวทางใหกับชุมชนหรือ

หนวยงานเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Page 78: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

บรรณานุกรม

กรุงเทพมหานคร. (2543). ทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สํานักรักษา

ความสะอาด.

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ. (2546). การจัดการสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ.

กองวิชาการและแผนงาน. (2543). จุลสารการคัดแยกขยะ. กรุงเทพฯ: สํานักรักษา

ความสะอาด. (อัดสําเนา)

กองวิชาการและแผนงาน . (2537). ขอมูลการรับซ้ือสินคาจากมูลฝอย. กรุงเทพฯ:

สํานักรักษาความสะอาด.

กองวิชาการและแผนงาน. (2543) . คูมือการลดปริมาณมูลฝอยในชุมชน. กรุงเทพฯ :

สํานักรักษาความสะอาด.

จินตนา เปยสวน (2538). ความตระหนักและการปฏิบัติตัวของแมบาน เกี่ยวกับการ จัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ในแฟลตขาราชการกรุงเทพมหานคร.

วิทยานิพนธสาขาสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยมหิดล.

เจิมศักดิ์ ปนทอง. (2527). การระดมประชาชนเพื่อพัฒนาชนบทในงานบริหารงาน

พัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.

ชลาพรรณ ลิขิตวศินกุล.(2534). ปจจัยที่มีผลตอความตระหนักในการอนุรักษ

สิ่งแวดลอมของมัคคุเทศกอาชีพ วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม

คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร.

ชัยยุทธ โยธามาตย. (2539). การมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะมูลฝอย: ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลฃตําบลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี.

พัฒนบริหารศาสตร มหาบัณฑิต วิทยานิพนธสถาบันพัฒนบริหาร ศาสตร.

ชัยพร วิชชาวุธ .(2523). การวิจัยเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.

ชุดา จิตพิทักษ. (2525). พฤติกรรมศาสตรเบื้องตน. . กรุงเทพมหานคร : สารมวลชน.

ทวีทอง หงสวิวัฒน บรรณาธิการ. (2527). กรุงเทพฯ : โรงพิมพศักดิ์โสภาการพิมพ.

นรินทร พัฒนาพงศา. (2542). การสื่อสารรณรงคเชิงยุทธศาสตร เพื่อเปลี่ยน

พฤติกรรมมนุษย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเขียว.

นฤเทพ สิทธิชาญคุณะ. (2542). การมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะมูลฝอย

กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและ

การวางแผนสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.

บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยเบื้องตน.กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน.

Page 79: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

72

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2526). ทัศนคติ : การวัดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัย.

กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด.

ปาริชาติ วลัยเสถียรและคณะ. (2542). กระบวนการและเทคนิคการทํางานของนัก

พัฒนา. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ปริศนา โกลละสุต. (2534). การมีสวนรวมในกิจกรรมของชุมชน : ศึกษาเปรียบเทียบผูเคยยายถิ่นและผูไมเคยยายถิ่น วิทยานิพนธพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม), สถาบันพัฒนบัณฑิตบริหารศาสตร.

ปรีดา แยมเจริญวงศ. (2531). การจัดการขยะขยะมูลฝอย. ภาควิชาวิทยาศาสตร

สุขาภิบาลและสิ่งแวดลอม คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน :

โรงพิมพมหาวิทยาลัยขอนแกน.

ปรัชญา เวสารัชช. (2528). รายงานการวิจัย การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรม เพื่อพัฒนาชนบท,กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยคดีศึกษา. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ปุสตี อาคมานนท มอนซอน และคณะ.(2535). การทองเที่ยวเดินปา : ผลกระทบ

ตอสภาวะแวดลอม กรุงเทพฯ : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย.

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่7. (2543). การพัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ความรวมมือ

ระหวางรัฐและเอกชน, (อัดสําเนา)

พวงทอง ตั้งธิติกุล.(2542) ความพึงพอใจของผูรับบริการบัตรประกันสุขภาพ.

วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล.

ไพรัตน เตชะรินทร. (2529). นโยบายและการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา.

พรทิพย สมปตตะวนิช. (2540). การตลาดเพื่อสังคม. กรุงเทพมหานคร:

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

พระราชบัญญัติสาธารณสุข. (2497). พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484.

(แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2497)

พงษอนันต สรรพานิช. (2526). ผลกระทบของการทองเที่ยวที่มีตอประชาชนชาวภูเก็ต.

กรุงเทพมหานคร: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

มงคล ชาวเรือ, (2527). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. (พระนครศรีอยุธยา:

วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา .

Page 80: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

73

มลฑล ใบบัว. (2537). หลักและทฤษฎีการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร.

ยุพิน ระพิพันธุ.(2544). ความรู ทัศนคติและการจัดการที่สงผลตอการมีสวนรวมของกรรมการชุมชนในการจําแนกประเภทมูลฝอยที่ใชในชีวิตประจําวันกอนทิ้ง ในเขตเทศบาลเมือง พนัสนิคม อําเภอพนัสนิคมจังหวัดชลบุรี วิทยานิพนธ

คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ยุวัฒน วุฒิเมธี. (2539) . เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาชนบท หนวยที่8 -15.

มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธิราช, สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ .

กรุงเทพฯ : ศูนยการพิมพพลชัย.

ลลิตา โภชนพันธ. (2539). พฤติกรรมการทองเที่ยวในเชิงนิเวศนสัญจรของ

นักทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ. วิทยานิพนธปริญญาศึกษา,

สาขาสิ่งแวดลอมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

วิชาการ,กรม. (2542). การสังเคราะหรูปแบบการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยดานการ

ชวยเหลือผูอ่ืนเสียสละ มุงมั่นพัฒนา กรุงเทพมหานคร: กองวิจัยทางการ

การศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

วิชาญ มณีโชติ. (2535). พฤติกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปที่ 3 ในจังหวัด สงขลา. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอมศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

วินัย วีระวัฒนานนท. (2540). วิกฤตสิ่งแวดลอม ทางตันแหงการพัฒนา. กรุงเทพฯ:

บ.สองสยาม.

วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2526). พฤติกรรมกับสภาพแวดลอม. กรุงเทพมหานคร :

โรงพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วิรัช ชมชื่น.(2536). พฤติกรรมการกําจัดขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลเมือง

นครปฐม. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอมศึกษา :

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

วรรณา ล้ิมพานิชย. (2538) การมีสวนรวมของประชาชนชราในการกําจัดขยะมูลฝอย

เมืองพัทยา. คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตรวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ศรินทร ตันติพุกนนท. (2542). โครงการกอสรางโรงงานกําจัดมูลฝอยโดยการเผา.

วารสารสิ่งแวดลอม ปที่3 ฉบับที่ 13 : 2542.

สงวน สุทธิเลิศอรุณ. (2529). ทฤษฎีและปฎิบัติการทางจิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ:

อักษรบัณฑิต.Rajabhat

สมจิตต สุพรรณทัศน. (2534). พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง ในเอกสารการสอน

Page 81: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

74

ชุดวิชาสุขศึกษา หนวยที่ 1-7. (หนา 98-106,132-136). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย

สุโขทัยธรรมาธิราช.

สมทัศ สมชีวีตา. (2543). นโยบายและการดําเนินงานของรัฐในการควบคุมมลภาวะ

และสิ่งแวดลอมในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7. การพัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม

ความรวมมือระหวางรัฐและเอกชน. (อัดสําเนา).

สัญญา สัญญาวิวัฒน. (2534). ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ.

Bandura Albert. (1977). Social Leaning Theory. New Jersey : Prentice-Hall Inc.

Englewood Gliffs.

Bloom, Benjamin S., et al. (1956). Taxonomy of Education Objectives :

Connitive and Affective Domains. New Yorks David Mc Kay

Company, Inc.

Cohen, J.M. and Uphoff, N.T. (1980). Participation's Place in Rural Development:

Seeking Clarity Through Specificity. World Development., (1980,January).

New York: Cornell University.

Conbach, Lee Joseph. (1972). The Dependability of Behavioral Measurement :

Theory of Generaligility for Scares and Profiles. By Lee J. Cronbach and

others. New York : Willey.

Fishbey , Martin and AJyen ,Icek. (1975). Belief, Attitude,Intention and Behavior.

Massachusettes : Addison-Wesley Publishing company.

Mullins, Luaric J. (1985). Management and Organizationl Behavior.

London: Pitman Company.

Jonathan L. Freedman and David O. Sears. (1978). Social Psychology.

New Jersy: Prentic Hall Inc.

Page 82: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

ภาคผนวก

Page 83: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

76

แบบสอบถาม

คําชี้แจง การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายที่จะศึกษาเจตคติตอการบริการเก็บขนมูลฝอยของ

เขตบางคอแหลม เพื่อนํามาปรับปรุงการใหบริการ

ขอแนะนําเกี่ยวกับแบบสอบถาม

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล 7 ขอ

สวนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

จํานวน 40 ขอ แบงเปน 4 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1 คําถามใชวัดความรูเกี่ยวกับมูลฝอย จํานวน 10 ขอ

ตอนที่ 2 คําถามใชวัดการรับรูขาวสารจํานวน 10 ขอ

ตอนที่ 3 คําถามใชวัดการมีสวนรวมในการจัดการมูลฝอยของประชาชน

จํานวน 10 ขอ

ตอนที่ 4 คําถามใชวัดเจตคติ ตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

จํานวน 10 ขอ

สวนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะ

Page 84: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

77

หนา 1/7

แบบสอบถาม เรื่อง เจตคติตอการบริการเก็บขนขนยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ชุดที่

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล

คําชี้แจง โปรดเติมคําในชองวางหรือใสเครื่องหมาย √ ในชองที่ทานเลือก

1 เพศ

1. ชาย 2. หญิง

2.อายุ

1. 20-30ป 2. 31-40ป 3. 41-50ป 4. 50ปข้ึนไป

3. ระดับการศึกษา

1. ประถมศึกษา 2.มัธยมศึกษา/ปวช 3.อนุปริญญา/ปวส.

4.ปริญญาตรี 5.สูงกวาปริญญาตรี

4.นับถือศาสนา

1.ศาสนาพุทธ 2. ศาสนาคริสต

3.ศาสนาอิสลาม

5.รายได

1. 4,000-5,500 บาท 2. 5,501-7,500 บาท

3. 7,501-15,000 บาท 4 15,001-25,000 บาท

5. 25,000 ข้ึนไป

Page 85: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

78

หนา 2/7

6.อาชีพ

1. เอกชน

2. ขาราชการ

3. พนักงานรัฐวิสาหกิจ

4. แมคา

5. แมบาน

6. นักบวช

7. พนักงานบริษัท

8. พนักงานโรงแรม

9. ภารโรง

10. อาจารย ครู

11. รับจาง

12. บริกร

13. อ่ืนๆ

7. ที่อยูอาศัย/สถานที่ทํางาน

1. บานพักอาศัย

2.ตลาดสด

3.โรงเรียน

4.สถานที่รสชการ

5.โรงพยาบาลและสถานพยาบาล

6.ศาสนสถาน

7.สถานบริการที่พักชัวคราว

8.คอนโดมิเนียม

Page 86: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

79

หนาที่ 3/7

สวนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับความการคิดเห็น

คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย √ ในชองระดับความคิดเห็นที่ตรงกับความเปนจริง

หรือสอดคลองกับความรูสึกของทานมากที่สุด

ตอนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับมูลฝอย

ระดับความคิดเห็น

ขอความ ใช ไมใช

1.ทานคิดวามูลฝอยคือ วัตถุส่ิงของที่ไมตองการใชแลวซึ่ง

สวนใหญเปนของแข็งจะเนาเปอยหรือไมก็ได

2.ทานคิดวาเศษกอสราง คอนกรีตที่แตกเปนชิ้นเล็กๆ ไม

จัดวาเปนขยะมูลฝอย

3.ทานคิดวาเศษหญา ฟางขาว ที่มาจากการกสิกรรมไมจัด

วาเปนขยะมูลฝอย

4.ทานคิดวาขยะมูลฝอยเกิดจากการเตรียมการประกอบ

หรือจากการบริการดานอาหาร

5.ทานคิดวาการหมักปุยเปนการกําจัดขยะแบบหนึ่ง

6.ทานคิดวาการฝงกลบขยะมูลฝอยเปนการกําจัดอยางไม

ถูกหลักสุขาภิบาล

7.ทานคิดวาการกําจัดขยะดวยการลดปริมาณและการคัด

แยก เปนการกําจัดขยะมูลฝอยที่สมบูรณที่สุด

8.ทานคิดวาไมควรนําของที่ใชแลวกลับมาใชใหม

9.ทานคิดวาขยะมูลฝอยที่มาจากชุมชนไมควรใหชุมชนมี

สวนรวมในการกําจัดขยะมูลฝอยเพราะเปนหนาที่ของ

สํานักงานเขตที่ตองรับผิดชอบ

10.ทานคิดวาขยะมูลฝอยสงผลใหเกิดมลภาวะตอส่ิงแวด

ลอม เปนแหลงเพาะเชื้อโรค เปนการเสี่ยงตอสุขภาพและ

เปนการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ชุมชนต องเสียคาใชจาย

สําหรับการกําจัดขยะมูลฝอย

Page 87: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

80

หนาที่ 4/7

ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับการรับรูขาวสาร

ระดับความคิดเห็น

ขอความ เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย

1.ทานคิดวาการประชาสัมพันธของเขตในการใหบริการ

ขนขยะมูลฝอยทั่วถึง

2.ทานคิดวาการประชาสัมพันธของเขตในการใหบริการ

เก็บขนขยะใชส่ือไมเหมาะสม

3.ทานคิดวาทานไมคอยไดรับขาวสารดานการบริการ

4.ทานคิดวาเจาหนาที่ที่มาใหบริการใหสามารถ

ประชาสัมพันธเกี่ยวกับการใหบริการดีอยูแลว

5.ทานคิดวาไมจําเปนตองมีการประชาสัมพันธเร่ืองเวลา

การเก็บขนขยะ

6.ทานคิดวาทานไมเคยทราบเกี่ยวกับเวลาเก็บขนขยะจาก

เจาหนาที่เพราะไมไดอยูบาน

7.ทานคิดวาเขตไมจําเปนตองมีชองทางการสื่อสารกับ

ประชาชน

8.ทานคิดวาเขตควรประชาสัมพันธการบริการ และ

ชวงเวลาการใหบริการดวยการทําปายประชาสัมพันธ

9.ทานคิดวาเขตควรแจกแผนพับ หรือใบปลิวเพื่อใหความ

เขาใจแกประชาชนในการบริการเก็บขนขยะ

10.ทานคิดวาการจัดทําวีดีโอแนะนําแนวทางการจัดการ

ขยะของเขตเปนประโยชน

Page 88: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

81

หนาที่ 5/7

ตอนที่ 3 คําถามใชวัดการมีสวนรวมของประชาชน

ระดับความคิดเห็น

ขอความ เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย

1.ทานคิดวาประชาชนควรมีสวนรวมในการกําจัด

ขยะมูลฝอย

2.ทานคิดวาเขตควรเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมใน

การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งจะทําใหการบริการเก็บ

ขนขยะมูลฝอยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3.ทานคิดวาเขตควรคิดรูปแบบใหมๆ ในการบริการเก็บ

ขนขยะมูลฝอย

4.ทานคิดวาทานพรอมที่จะใหความรวมมืออนุรักษ

ส่ิงแวดลอมกับเขต เพื่อใหชุมชนของทานนาอยู

5.ทานคิดวาทานไมมีเวลาในการทํากิจกรรมรวมกับเขตใน

การกําจัดขยะ

6.ทานคิดวาประชาชนไมใหความรวมมือกับเขตในการ

อนุรักษส่ิงแวดลอม

7.ทานคิดวาเขตควรมีโครงการเพื่อใหประชาชนเขารวมทํา

กิจกรรม

8.ทานคิดวาการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมทําใหมีความรู

ความเขาใจในการทํางานของเจาหนาที่

9.ทานคิดวาการมีสวนทํากิจกรรมตางๆ ทําใหเกิดความ

รวมมือกันมากขึ้น

10.ทานคิดวาเปนหนาที่ของเขตในการใหบริการ โดยที่ไม

จําเปนตองเขาไปมีสวนรวมในการรักษาความสะอาดชุม

ชน

Page 89: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

82

หนาที่ 6/7

ตอนที่ 4 คําถามใชวัดเจตคติตอการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ระดับความคิดเห็น

ขอความ เห็นดวย

ไมแนใจ

ไมเห็นดวย

1.ทานพึงพอใจตอการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ของเขต

2.ทานพึงพอใจตอการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเจา

หนาที่ที่เขาไปบริการถึงหนาบาน

3.ทานพึงพอใจตอโครงการของเขตในการใหประชาชนไปมี

สวนรวมในการทํากิจกรรม

4.ทานคิดวาการมีความรูเกี่ยวกับขยะทําใหเกิดทัศนคติที่ดี

กับเจาหนาที่ที่มาใหบริการ

5.ทานรูสึกวาความรูเกี่ยวขยะมูลฝอยทําใหทานสามารถ

จัดการกับขยะมูลฝอยไดถูกวิธี

6. ทานพึงพอใจในการทํางานตอเจาหนาที่ที่เสียสละและ

รับผิดชอบตอการจัดการขยะมูลฝอย

7.ทานคิดวาเจาหนาที่ไมมาเก็บขนขยะตามเวลาที่กําหนด

8.ทานพึงพอใจตอการบริหารดานการบริการเก็บขน

ขยะมูลฝอยของเขต

9.ทานคิดวา รถขนขยะไมเหมาะสมและมีไมเพียงพอตอ

การใหบริการเก็บขนขยะ

10.ทานคิดวาเขตควรมีการจัดการมูลฝอยที่ดีกวานี้และ

ควรถูกกับลักษณะสุขาภิบาล

Page 90: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

83

หนาที่ 7/7 สวนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะ

ผูวิจัยขอขอบคุณที่สละเวลาตอบแบบสอบถาม ซึ่งผลที่ไดจากการศึกษาครั้งนี้จะนําไปใช

ในการปรับปรุงการใหบริการใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

กมลพัฒน แยมประไพ ผูวิจัย

Page 91: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

84

รายนามผูเชี่ยวชาญ ชื่อ-นามสกุล วุฒิการศึกษา ตําแหนง

1.นายศิวรัตน สุวรรณกาศ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ผูอํานวยการเขตตลิ่งชัน สํานักงานเขตตลิ่งชัน

2.นายสุรชัย ประภัศนสุตานนท

ศึกษาบัณฑิต (รัฐศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ผูชวยผูอํานวยการเขตยานนาวา สํานักงานเขตยานนาวา

3. นายสพโชค ทาบสุวรรณ

ปริญญาโท การจัดการสาธารณะ (คณะรัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

หัวหนาฝายรักษาความสะอาดและ สาธารณะ สํานักงานเขตทวีวัฒนา

Page 92: เจตคติต่อการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยของเขตบางคอแหลม

88

ประวัติผูวิจัย ชื่อ นางกมลพัฒน แยมประไพ

วัน เดือน ปเกิด 6 สิงหาคม 2499

สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร

ประวัติการศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป

สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

ตําแหนงและสถานที่ทํางาน เจาหนาที่งานรักษาความสะอาด 6

สํานักงานเขตบางคอแหลม