14
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก Breeding for Pest Resistance Breeding for Pest Resistance

การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

  • Upload
    elin

  • View
    83

  • Download
    3

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance. ความต้านทานแมลง. * พืชชนิดหนึ่ง ๆ ไม่ได้ถูกแมลงทุกชนิดเข้าทำลาย. * แมลงชนิดหนึ่ง ๆ ไม่ได้เข้าทำลายพืชทุกชนิด. สำหรับพืชอาศัยที่แมลงเข้าทำลายได้ อาจมีบาง genotypes ที่ต้านทาน - PowerPoint PPT Presentation

Citation preview

Page 1: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

การปรบัปรุงพนัธุพ์ชืเพื่อต้านทานโรคและแมลงการปรบัปรุงพนัธุพ์ชืเพื่อต้านทานโรคและแมลงBreeding for Pest ResistanceBreeding for Pest Resistance

Page 2: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

ความต้านทานแมลง

* พชืชนิดหน่ึง ๆ ไมไ่ด้ถกูแมลงทกุชนิดเขา้ทำาลาย* แมลงชนิดหน่ึง ๆ ไมไ่ด้เขา้ทำาลายพชืทกุชนิด

สำาหรบัพชือาศัยท่ีแมลงเขา้ทำาลายได้ อาจมบีาง genotypes ท่ีต้านทานต่อแมลงชนิดนัน้ ซึง่เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรอืการปรบัปรุงพนัธุพ์ชื

Page 3: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

ความต้านทานแมลง

การคัดเลือกพชือาศัยของแมลง1. ตำาแหน่งของแหล่งท่ีอยูข่องพชือาศัย แมลงท่ีอพยพจากแหล่งอ่ืน2. ตำาแหน่งของพชือาศัย สี ผิวสมัผัส รูปรา่ง (ระยะไกลและใกล้)3. การยอมรบัเป็นพชือาศัย รสชาติ การกระตุ้นจากสารเคมี ความแขง็ สารเคลือบผิวใบ ขนใบ4. ความเพยีงพอของการเป็นพชือาศัย ธาตอุาหาร การไมเ่ป็นพษิ

Page 4: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

วธิกีารท่ีพชืต้านทานแมลง

11. ลักษณะของพชืท่ีทำาให้แมลงไมช่อบใช้เป็นแหล่งอาหาร อาศัย หรอืวางไข่ เชน่ ส ีการสะท้อนแสง ขนใบ กลิ่น รส รูปรา่งของใบและต้น สารเคมี

1. ความไมเ่หมาะหรอืไมช่อบท่ีจะเป็นพชือาศัย (Nonpreference; antixenosis)

Okra leaf and frego bract

(Fitt et al., online)* เพล้ียอ่อนชอบถัว่ พนัธุท่ี์มสีเีขยีวอมนำ้าเงินมากกวา่พนัธุท่ี์มสีเีขยีวอมเหลือง* เพล้ียอ่อนชอบกระหลำ่าปลี พนัธุท่ี์สะท้อนแสงความเขม้ตำ่ามากท่ีสดุ

Page 5: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

* ถัว่เหลืองท่ีปราศจากขนใบ จะถกูทำาลายโดยเพล้ียกระโดดได้มากกวา่

* ความต้านทานต่อต๊ักแตนในขา้วโพดและขา้วฟา่ง มคีวามสมัพนัธกั์บรส * พนัธุท่ี์มใีบแผ่กวา้ง เหมาะแก่การเขา้พกัอาศัยและวางไข ่มากกวา่พนัธุท่ี์ม ี ใบต้ัง

วธิกีารท่ีพชืต้านทานแมลง

Page 6: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

1.2 สารเคมี 1. เป็นพษิต่อแมลง 2 . เพิม่ความแขง็ของต้นพชื 3 . สารเคมท่ีีดึงดดูแมลง (attractants) หรอื

ท่ีไล่แมลง (repellents)

1. ความไมเ่หมาะหรอืไมช่อบท่ีจะเป็นพชือาศัย (Nonpreference; antixenosis)

Insect Response Positive NegativeOrientation Attracts/ Arrests RepelsFeeding Excites Suppresses

วธิกีารท่ีพชืต้านทานแมลง

Page 7: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

2. ผลรา้ยต่าง ๆ ท่ีเกิดขึน้แก่วงจรชวีติของแมลง (Antibiosis)

วธิกีารท่ีพชืต้านทานแมลง

เนื้อเยื่อพชืท่ีแมลงใชเ้ป็นอาหารมผีลเสยีต่อการ พฒันาและการสบืพนัธุข์องแมลง เชน่- ยบัยัง้การเจรญิเติบโต -

เพิม่อัตราการตาย- ยดืระยะเวลาการพฒันาเป็นตัวเต็มวยั- ลดชว่งอายุของตัวเต็มวยั- ไมม่ธีาตอุาหารท่ีแมลงต้องการ- มคีวามผิดปกติทางสณัฐานวทิยา- มพีฤติกรรมผิดปกติ

Page 8: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

2. Antibiosis อาจเกิดจากสณัฐานของพชื หรอืสารเคมบีางอยา่งในพชื * พนัธุฝ้์ายท่ีม ีgossypol มากต้านทานต่อแมลงบางชนิดได้ดีกวา่

* ขา้วโพดท่ีต้านทานต่อหนอนเจาะม ีcralylosyl

flavone maysin ท่ีไหม* ขา้วโพดท่ีต้านทานต่อหนอนเจาะลำาต้นม ี

DIMBOA

วธิกีารท่ีพชืต้านทานแมลง

Page 9: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

3. ความทนทาน (Tolerance) การท่ีพชืสามารถเจรญิเติบโต ให้ผลผลิตได้ ถึงแมว้า่จะมแีมลงเขา้ทำาลายในระดับท่ีทำาความเสยีหายแก่พชืท่ีไมท่นทาน ความสามารถในการสรา้งราก ใบ หรอื ต้นใหมข่องพชืมอิีทธพิลต่อความทนทานต่อความเสยีหาย เชน่ ขา้วฟา่งทนทานต่อ greenbug

วธิกีารท่ีพชืต้านทานแมลง

Page 10: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

Mechanisms of resistanceAntibiosis Antixenosis Tolerance

มผีลต่อชวีวทิยาของแมลง อัตราการเจรญิเติบโต ความสมบูรณ์พนัธุ์

ระยะเวลาในการพฒันา

มผีลต่อพฤติกรรมของแมลง อาหาร การวางไข่

การตอบสนองของพชืต่อการเขา้ทำาลายของแมลง

การซอ่มแซม การชดเชย การทนต่อบาดแผล

Page 11: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

* การต้านทานแมลงถกูควบคมุโดยยนี 1 คู่ (monogenic) น้อยคู่ (oligogenic) หรอืมากคู่ (polygenic)

* แมลงบางชนิดมหีลายสายพนัธุ ์(race; biotype) ซึง่อาจมคีวามจำาเพาะ ในการเขา้ทำาลาย

พนัธุศาสตรข์องการต้านทานแมลง

Page 12: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

1. รายละเอียดเก่ียวกับแมลง ต้องทราบ ชพีจกัร วธิกีารทำาลาย การป้องกันกำาจดั

วธิกีารเลี้ยงแมลงเพื่อใชใ้นการคัดเลือกควรให้มรีะดับการระบาดเกิดขึน้เหมอืนธรรมชาติ

การปรบัปรุงพนัธุเ์พื่อให้ต้านทานแมลง

Page 13: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

2. การตรวจสอบพชื การตรวจสอบเพื่อแยกพชืต้านทานหรอืไมต้่านทานมวีธิกีารแตกต่างกันขึน้อยูกั่บชนิดของพชืและ

แมลง อาจทำาในแปลงปลกูหรอืในเรอืน เพาะชำา การทำาให้แมลงระบาดอาจทำาโดย

ปลกูพนัธุท่ี์ไมต้่านทานแทรกลงไปในแปลงหรอืรอบๆแปลง

การปรบัปรุงพนัธุเ์พื่อให้ต้านทานแมลง

(Fitt et al., online)

Page 14: การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง Breeding for Pest Resistance

3. แหล่งของความต้านทาน จากแหล่งรวบรวมพนัธุ์ นักปรบัปรุงพนัธุ์ พชืพนัธุป์่า พนัธุจ์ากถิ่นกำาเนิดของแมลง พชืชนิดอ่ืนท่ีผสมขา้มได้ หรอืจากการปลกูตรวจสอบหลายพนัธุ์

วธิกีารปรบัปรุงอาจใชก้ารผสม กลับ วธิบีนัทึกประวติั วธิเีก็บ รวม หรอืวธิคัีดเลือกซำ้า

การปรบัปรุงพนัธุเ์พื่อให้ต้านทานแมลง