12
32 ขาว อี สัมปทานสำรวจและผลิตปโตรเลียมในอีสาน สัมปทานสำรวจและผลิตปโตรเลียม ในรอบที๒๑ นี้มี จำนวน ๓๐ แปลง จะเปดใหสัมปทานในไตรมาส ๕๕ โดย แหลงใหญอยูในภาคอีสานกวา ๒๐ แปลง ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหลงแกสธรรมชาติ ที่ทำการผลิตแลวทีแหลงน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัด ขอนแกน หลุมเจาะ โดยผลิตเฉลี่ย ๗๐ ลานลูกบาศกฟุตตอ วัน นอกจากนั้นยังพบแหลงแกสธรรมชาติทีแหลงดงมูล อำเภอ หนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ หลุมเจาะ มีอัตราการไหลของ แกสธรรมชาติ ๑๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน แหลงภูฮอม กิ่ง อำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี หลุมเจาะ มีอัตราการไหล ของแกสธรรมชาติ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน สำหรับสัมปทานสำรวจใหม ๒๐ แปลงนีหากมีการพบ แหลงกาซธรรมชาติ และสามารถผลิตปโตรเลียมไดในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้น จะชวยแกปญหากาซธรรมชาติสำหรับ ยานยนต ( เอ็นจีวี ) ในภาคขนสงไมเพียงพอตอความตองการ

ข่าวอีสานข่าวไทยข่าวโลก

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ข่าวอีสาน,ข่าวไทย,ข่าวโลก

Citation preview

32

ขาว

ข า ว อี ส า น

สัมปทานสำรวจและผลิตปโตรเลียมในอีสาน

สัมปทานสำรวจและผลิตปโตรเลียม ในรอบท่ี ๒๑ นี้มีจำนวน ๓๐ แปลง จะเปดใหสัมปทานในไตรมาส ๑ ป ๕๕ โดยแหลงใหญอยูในภาคอีสานกวา ๒๐ แปลง

ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหลงแกสธรรมชาติที่ทำการผลิตแลวที่ “แหลงน้ำพอง” อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแกน ๔ หลุมเจาะ โดยผลิตเฉลี่ย ๗๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน นอกจากนั้นยังพบแหลงแกสธรรมชาติท่ี แหลงดงมูล อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ ๑ หลุมเจาะ มีอัตราการไหลของแกสธรรมชาติ ๑๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน แหลงภูฮอม กิ่งอำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ๑ หลุมเจาะ มีอัตราการไหลของแกสธรรมชาติ ๔ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

สำหรับสัมปทานสำรวจใหม ๒๐ แปลงน้ี หากมีการพบแหลงกาซธรรมชาต ิและสามารถผลิตปโตรเลียมไดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้น จะชวยแกปญหากาซธรรมชาติสำหรับยานยนต (เอ็นจีวี) ในภาคขนสงไมเพียงพอตอความตองการ

33

และลดการนำเขาน้ำมัน หากสำรวจพบมากขึ้น มีความเปนไปไดในการขยายทอกาซธรรมชาติจากนครราชสีมาไปยังขอนแกน เพื่อชวยลดตนทุนในการขนสง

จากการสำรวจลาสุด เบื้องตนมีความเปนไปไดวา ในแหลงรัตนะ จังหวัดขอนแกน ซ่ึงเปนแปลงสำรวจของบริษัท ปตท. สำรวจและผลิต จำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. มีแนวโนมที่ดีที่จะพบกาซฯ ในการชวยทดแทนแหลงน้ำพอง จังหวัดขอนแกน ที่ปริมาณกาซธรรมชาติกำลังจะหมดลง และกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติอยูระหวางการเรงใหแหลงภูฮอม จังหวัดอุดรธานี สำรวจปริมาณสำรองใหชัดเจนวามีเทาไร เพื่อดูปริมาณสำรองในระยะยาว

ชาวบานอำเภอน้ำพองสองตำบลเดือดรอน โรงงานปลอยน้ำเนาเสีย บอน้ำแหลงน้ำประปามีสีดำ

ชาวบานบานคำจ่ัน หมูที่ ๑๕ ต.บัวเงิน อ.น้ำพอง เดือดรอนหนัก พึ่งทางราชการไมเกิดผล จำเปนตองทำเร่ืองขอพระราชทานความชวยเหลือบรรเทาความเดือดรอน กรณีโรงงานปุยชีวภาพปลอยน้ำเนาสงกลิ่นเหม็น

ความเดือดรอนนี้มีตนเหตุจากโรงงานผลิตปุย ของบริษัทขอนแกนแอลกอฮอล จำกัด ทำใหบอน้ำสาธารณะกลางหมูบานบานคำจ่ันเนาเสีย บอน้ำที่เปนแหลงผลิตน้ำประปาสำหรับหาหมูบานขณะนี้มีสีดำ และในหมูบานมีปญหาเรื่องกลิ่นเหม็น ทางราชการเขามาแกไขปญหาอยูระยะหนึ่ง แตแลวเรื่องก็เงียบไป

34

ตัวแทนชาวบานบานคำจ่ัน จึงไดทำหนังสือขอพระราช-ทานความชวยเหลือถึงสำนักราชเลขาธิการ ซ่ึงทางสำนักฯไดตอบรับเร่ืองแลว

นอกจากนี้ ทางตัวแทนชาวบาน บานคำจั่นยังจะยื่นเรื่องรองเรียนถึงนายกรัฐมนตรีอีกดวย

(ขาว “สยามรัฐ” วันพฤหัสบดีที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๔)

๑๑ / ๑๑ / ๑๑ เปดสะพานขามโขง ที่นครพนม

สะพานขามแมน้ำโขงแหงท่ีสาม จะเปดใหบริการไดในวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน นี้ (๑๑ / ๑๑ / ๑๑) คาดวาการเปดใชสะพานขามแมน้ำโขงแหงนี้อยางเปนทางการ จะสงผลตอเศรษฐกิจท้ังดานการคา การลงทุน การทองเท่ียวเปนอยางมาก การเดินทางจากจังหวัดนครพนม ขามไปยังแขวงคำมวน ไปถึงเมืองฮาตินห ทาเรือวุงอาง มีระยะทางเพียง ๓๐๐ กม.เศษเทาน้ัน สะพานแหงนี้จะเปนเสนทางระบายสินคาจากประเทศไทย ไปลงเรือบรรทุกสินคาที่ทาเรือวุงอาง และใชเสนทางหมายเลข ๑ ของเวียดนามผานฮานอย ไปยังเมืองหนานหนิงของจีนไดภายในระยะเวลา ๒ วัน เทานั้น

การเปดใชสะพานขามแมน้ำโขงแหงนี้ จะนำความเปลี่ยนแปลงในหลายดานมาสูจังหวัดนครพนมและภาคอีสานอยางมหาศาล โดยจะเปนเสนทางลำเลียงสินคาออกจากประเทศไทยสูชายทะเลจีนใต ตอนกลางของประเทศเวียดนามท่ีมีระยะส้ันที่สุด ซึ่ง จังหวัดนครพนมเอง มีแผนท่ีจะพัฒนาเพ่ิมศูนยบริการตางๆ โดยในป ๒๕๕๕ เตรียมจัดสรรงบประมาณ

35

จำนวน ๗๐ ลานบาท สำหรับกอสรางศูนยกระจายสินคา บนพื้นที่เกือบ ๑๐๐ ไร เพื่อเปนศูนยรวมและกระจายสินคา และบริการขนถายสินคา และจะใชงบประมาณอีก ๑๒ ลานบาท สำหรับการกอสรางศูนยแสดงสินคาของจังหวัดและกลุมจังหวัดใหกับเกษตรกร และผูคาของนครพนมดวย

ข า ว ไ ท ย

อุทกภัย เสียหายหนักสุดในรอบรอยป ทุกที่มีแตน้ำตา !

๑. จังหวัดเชียงใหม ในตัวเมืองน้ำลดแลว แตยังคงมีน้ำลนตลิ่งเขาทวมพื้นที่ในอําเภอดอยเตา อําเภอฮอด อําเภอจอมทอง อําเภอแมแจม อําเภอดอยหลอ อำเภอแมวาง อำเภอสันปาตอง

๒. จังหวัดลําปาง ยังมีน้ำทวมขัง ๙ อําเภอ ๓. จังหวัดอุตรดิตถ ยังคงมีน้ำทวมขังในเขตอําเภอพิชัย

ไดแก ตําบลคอรุม ตําบลทามะเฟอง ตําบลพญาแมน น้ำทวมรวม ๑๓,๐๐๐ ไร

๔. จังหวัดสุโขทัย มีน้ำลนอางเก็บน้ำหลายแหง น้ำทวมในเขตอําเภอทุงเสล่ียม อําเภอสวรรคโลก อำเภอศรีสำโรง และอำเภอเมือง

๕. จังหวัดพิษณุโลก น้ำทวมขังท้ังหมด ๖ อําเภอ รวม ๗๙๕,๔๕๘ ไร

36

๖. จังหวัดพิจิตร น้ำทวมในพื้นที่ลุมทั้งหมด ๑๒ อําเภอ

๘๓ ตําบล รวมพื้นที่ประมาณ ๔๙๘,๙๑๐ ไร

๗. จังหวัดเพชรบูรณ ๕ อําเภอ

๘. จังหวัดนครสวรรค น้ำทวม ๑๐ อําเภอ เปนพ้ืนท่ีการ

เกษตร รวม ๖๖๑,๙๓๕ ไร

๙. จังหวัดอุทัยธานี ทวมพื้นที่ราบลุมต่ำ รวม ๓๒,๒๙๖ ไร

๑๐. จังหวัดชัยนาท จํานวน ๘ อําเภอ เปนพื้นที่การเกษตร

รวม ๙๑,๗๗๕ ไร

๑๑. จังหวัดสิงหบุรี พื้นท่ีน้ำลนตล่ิงจากคลองชัยนาท-ปา

สัก (ทุ ง เชียงราก ) จํานวน ๖ อําเภอ พื้นที่ เกษตรเสียหาย

ประมาณ ๑๑๘,๔๕๖ ไร

๑๒. จังหวัดอางทอง น้ำทวมรวม ๗ อําเภอ รวมพ้ืนที่การ

เกษตร ๙๑,๒๐๒ ไร

๑๓. จังหวัดสุพรรณบุรี ทวมพ้ืนที่ ๔ อำเภอ

๑๔. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทวม ๑๖ อําเภอ เปน

พื้นที่การเกษตร รวม ๙๓,๔๔๘ ไร

๑๕. จังหวัดนครปฐม จํานวน ๖ อําเภอ รวมพ้ืนที่ประมาณ

๒๘,๑๕๗ ไร

๑๖. จังหวัดลพบุรี น้ำทวม ๑๑ อำเภอ

๑๗. จังหวัดสระบุรี ทวม ๑๐ อําเภอ

๑๘. จังหวัดปทุมธานี ๒ อําเภอ ๒๔ ตําบล

๑๙. จังหวัดนนทบุรี ทวม ๖ อำเภอ

37

๒๐. จังหวัดเลย น้ำปาไหลหลากเขาทวมพ้ืนที่ ๔ อําเภอ

๒๑. จังหวัดนครราชสีมา ทวมพ้ืนที่การเกษตรในตําบล

ธารละหลอด ตําบลสัมฤทธ์ิ ตำบลกระเบ้ืองใหญ (พื้นท่ีกอนถึง

อำเภอพิมาย) และพื้นที่บานขามใต ตำบลดงใหญ อำเภอพิมาย

๒๒. จังหวัดนครพนม รวม ๑๒ อำเภอ พื้นท่ีการเกษตร

รวม ๓๙๒,๒๗๕ ไร

๒๓. จังหวัดหนองคาย มีน้ำทวมขังในเขตพ้ืนท่ีรอบนอก

ทั้งพื้นที่การเกษตรและพื้นที่ชุมชน

๒๔. จังหวัดสกลนคร น้ำทวมบริเวณรอบหนองหารและ

ลุมน้ำกํ่า ในเขตอําเภอเมือง อําเภอโคกศรีสุพรรณ และอําเภอ

โพนนาแกว

๒๕. จังหวัดกาฬสินธุ ยังคงมีน้ำทวมประมาณ ๔๐,๓๘๖

ไร ใน ๖ อาํเภอ

๒๖. จังหวัดรอยเอ็ด พี้นที่ประสบภัยรวม ๑๕ อำเภอ

รวม ๒๙๕,๕๒๒ ไร

๒๗. จังหวัดอำนาจเจริญ อําเภอหัวตะพาน อําเภอเสนาง-

คนิคม อําเภอเมือง พื้นที่น้ำทวมท้ังหมด ๒๘,๙๐๐ ไร ที่อําเภอ

ลืออํานาจ อําเภอพนา และบริเวณแกมลิงหนองเปด พื้นท่ีน้ำ

ทวมทั้งหมด ๒๙,๖๙๐ ไร

๒๘ . จังหวัดยโสธร น้ำทวมขังในพื้นท่ีลุมต่ำ รวม ๙

อําเภอ รวม ๒๕๔,๔๕๕ ไร

๒๙. จังหวัดอุบลราชธานี น้ำทวมรวม ๑๒ อําเภอ ๗๕

38

ตําบล (จากท้ังหมด ๒๕ อําเภอ) พื้นที่เกษตรไดรับความเสียหาย

๑๐๕,๓๓๑ ไร

๓๐. จังหวัดชัยภูมิ น้ำทวม ๑๔ อําเภอ รวม ๒๒๓,๒๙๑

ไร

๓๑. จังหวัดศรีสะเกษ น้ำทวม ๑๓ อําเภอ พ้ืนที่การเกษตร

เสียหายประมาณ ๕๒,๕๕๐ ไร

๓๒. จังหวัดสุรินทร น้ำทวม ๖ อําเภอ พ้ืนท่ีการเกษตร

รวม ๓๐,๑๕๐ ไร

๓๓. จังหวัดนครนายก พื้นที่น้ำทวม ๔ อําเภอ

๓๔. จังหวัดปราจีนบุรี น้ำทวม ๗ อําเภอ ๓๕. จังหวัดฉะเชิงเทรา น้ำทวมขังใน ๕ อําเภอ พ้ืนที่เกษตร

เสียหายรวม ๓๖,๙๖๖ ไร

ข า ว โ ล ก

เมื่อฮานอยไดเปนศูนยกลางแรงงานมีฝมือของอาเซียน แรงงานอีสานจักทำฉันใด ?

รัฐบาลเวียดนามจัดทำแผนแมบทการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของกรุงฮานอย (Socio Economic Master Plan for Hanoi) ในชวงป ๒๕๕๔-๒๕๖๓ และกำหนดเปาหมายตอไปจนถึงป ๒๕๗๓ ซึ่งมีเปาหมายหลักเพื่อใหเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมเมืองหลวงอยางยั่งยืนโดยไมสงผลกระทบตอ

39

สิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการรักษาคุณคาทางวัฒนธรรมของเมืองหลวงสืบไป ขณะเดียวกันยังมีเปาหมายเพื่อแกปญหาการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของประชากรในเมืองหลวงอีกดวย การจัดทำแผนแมบทการพัฒนากรุงฮานอยผานการเตรียมการและการทำ ประชาพิจารณมานานถึง ๓ ป

เปาหมายการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกรุงฮานอย

ป เปาหมาย (% ตอป) ๒๕๕๔-๒๕๕๘ ๑๒-๑๓ ๒๕๕๙-๒๕๖๓ ๑๑-๑๒ ๒๕๖๔-๒๕๗๓ ๙.๕-๑๐

หมายเหตุ : ป ๒๕๔๙-๒๕๕๓ เศรษฐกิจกรุงฮานอยขยายตัวเฉลี่ยรอยละ ๑๐.๗๒ ตอป ขณะท่ีในชวง ๖ เดือนแรกของป ๒๕๕๔ ขยายตัวรอยละ ๙.๓

เปาหมาย GDP per Capita ของกรุงฮานอย

ป เปาหมาย (ดอลลารสหรัฐตอคน) ๒๕๕๘ ๔,๑๐๐-๔,๓๐๐ ๒๕๖๓ ๗,๑๐๐-๗,๕๐๐

หมายเหตุ : GDP per Capita ของกรุงฮานอยป ๒๕๕๓ อยูที่ ๑,๙๐๐ ดอลลารสหรัฐ

40

เปาหมายเพ่ิมการจางงานในกรุงฮานอย

ป เปาหมาย (อัตราตอป) ๒๕๕๔-๒๕๕๘ ๑๓๕,๐๐๐-๑๔๐,๐๐๐ ๒๕๕๙-๒๕๖๓ ๑๕๕,๐๐๐-๑๖๐,๐๐๐

เปาหมายจำนวนประชากรและแรงงานมีฝมือในกรุงฮานอย

ป เปาหมาย จำนวนประชากร* ๒๕๕๘ ๗.๒-๗.๓ ลานคน ๒๕๖๓ ๗.๙-๘ ลานคน ๒๕๗๓ ๙.๒ ลานคน จำนวนแรงงานมีฝมือ ๒๕๕๘ ๕๕% ของแรงงานทั้งหมดในกรุงฮานอย

๒๕๖๓** ๗๐-๗๕% ของแรงงานทั้งหมดในกรุงฮานอย

หมายเหตุ : * จำนวนประชากรของกรุงฮานอยป ๒๕๕๓ อยูที่ ๖.๕ ลานคน **หากสำเร็จจะสงผลใหกรุงฮานอยกลายเปนศูนยกลางแรงงานมีฝมือท้ังของเวียดนามและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

ในการบรรลุเปาหมายขางตน รัฐบาลเวียดนามตองใชเงินลงทุนสำหรับโครงการลงทุนตาง ๆ ในกรุงฮานอยเปนมูลคาสูงถึง

41

๑๙๐ พันลานดอลลารสหรัฐในระยะเวลา ๑๐ ป แบงเปนเงินลงทุนสำหรับโครงการลงทุนในชวงป ๒๕๕๔-๒๕๕๘ มูลคา ๖๙-๗๐ พันลานดอลลารสหรัฐ และในชวงระหวางป ๒๕๕๙-๒๕๖๓ มูลคา ๑๑๐-๑๒๐ พันลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งเงินลงทุนดังกลาวจะมาจากหลายชองทาง อาทิ งบประมาณของรัฐบาลเวียดนาม เงินลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ และเงินชวยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) เปนตน

ภายใตแผนแมบทการพัฒนากรุงฮานอย รัฐบาลเวียดนามมีแผนขยายพ้ืนที่กรุงฮานอยเพ่ิมขึ้นเปน ๓,๓๔๔ ตารางกิโลเมตรภายในป ๒๕๗๓ จากปจจุบันที่มีพื้นที่ราว ๒ ,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ขณะเดียวกันจะพัฒนากรุงฮานอยใหมีลักษณะเปน กลุมเมือง (Urban Cluster) มากขึ้น

พื้นที่ใจกลางเมือง พื้นที่ใจกลางเมืองของกรุงฮานอยยังคงเปนเขต Ba Dinh ซึ่งเปนเขตเมืองเกา และเปนศูนยกลางทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของเวียดนาม อีกทั้งยังเปนท่ีตั้ งของสถานท่ีราชการสำคัญ ศูนยบัญชาการทหาร สำนักงานใหญของพรรคคอมมิวนิสตเวียดนาม และรัฐสภา

การขยายพ้ืนที่ใจกลางเมืองกรุงฮานอยจะเร่ิมจากใจกลางเมืองออกไปทางทิศตะวันตก สวนทางใตจะขยายออกไปถึง มอ-เตอรเวยสายที่ ๔ ขณะที่ทางเหนือจะขยายออกไปถึงเขต Me Linh และเขต Dong Anh และทางตะวันออกจะขยายออกไปถึงเขต Gia Lam และเขต Long Bien นอกจากนี้ รัฐบาลเวียดนามจะขยายเขตเมืองใหมขนานตามริมฝงแมน้ำแดง (Red River)

42

พื้นที่เมืองบริวาร เมืองบริวารตั้งอยูรายลอมพื้นท่ีใจกลางเมืองของกรุงฮานอย ภายใตแผนแมบทการพัฒนากรุงฮานอยไดแบงเมืองบริวารในกรุงฮานอยออกเปน ๕ เมือง แตละเมืองจะมีจุดเดนตางๆ ดังนี้

เมือง จุดเดน

Hoa Lac - วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการฝกอบรม Son Tay - วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และการทองเที่ยว Xuan Mai - ธุรกิจบริการและอุตสาหกรรมสนับสนุน Phu Xuyen - อุตสาหกรรมและเปนศูนยกลางการคมนาคม Sac Son - ธุรกิจบริการโดยเฉพาะการเปนท่ีตั้ งของ สนามบินนานาชาติ Noi Bai และเปนจุดผาน ของเสนทางเศรษฐกิจ Kunming-Hanoi- Quang Ninh

43

โรงเรียนวัฒนธรรมและการศึกษาซีโน-ไท สถาบันการเรียนการสอนภาษาจีนคุณภาพสูงในจังหวัดขอนแกน

สอนภาษาจีน โดยคณาจารยจากสาธารณรัฐประชาชนจีน

มีทั้งหองเรียนรวม และติวเขมตัวตอตัว บริการหองสมุด หนังสือภาษาไทย ภาษาจีน มากมาย มีกิจกรรมดานวัฒนธรรม และพัฒนาสังคม เปนประจำ

โรงเรียนตั้งอยูบนชั้นสาม ของตลาดบางลำภู ใจกลางเมืองขอนแกน

โทรศัพท ๐๔๓-๓๒๑๐๐๔, ๐๘๑-๘๗๑-๔๙๐๑,

๐๘๘-๓๕๕-๗๐๓๗