122
ปญหาพิเศษ ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย : กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร POTENTIAL OF COMMUNITY FOR HOMESTAY A CASE STUDY : LAO VILLAGE, LAO PHON KHOR SUBDISTRICT, KHOK SI SUPHAN DISTRICT, SAKON NAKHON PROVINCE นางสาวประภาพรรณ สิทธิ นายปรัชญา เที่ยงงามดี นางสาวภิรมยญา คําออ

ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

Embed Size (px)

DESCRIPTION

งานศึกษา ปัญหาพิเศษ ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร

Citation preview

Page 1: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ปญหาพิเศษ

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย : กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

POTENTIAL OF COMMUNITY FOR HOMESTAY A CASE STUDY : LAO VILLAGE, LAO PHON KHOR SUBDISTRICT,

KHOK SI SUPHAN DISTRICT, SAKON NAKHON PROVINCE

นางสาวประภาพรรณ สิทธ ิ นายปรัชญา เที่ยงงามด ี นางสาวภิรมยญา คําออ

Page 2: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

สาขาการจัดการโรงแรมและทองเท่ียว คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

พ.ศ. 2554 ปญหาพิเศษ

เรื่อง

ศกัยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Potential of Community for Homestay A Case Study : Lao Village, Lao Phon Khor Subdistrict,

Khok Si Suphan District, Sakon Nakhon Province

นางสาวประภาพรรณ สิทธ ิ นายปรัชญา เท่ียงงามดี นางสาวภิรมยญา คําออ

Page 3: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

สาขาการจัดการโรงแรมและทองเท่ียว

คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร พ.ศ. 2554

Page 4: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ใบรับรองปญหาพิเศษ คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

บริหารธุรกิจบัณฑิต ปริญญา

สาขาวิชา คณะ

เรื่อง ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Potential of Community for Homestay A Case Study : Lao Village, Lao Phon Khor Subdistrict, Khok Si Suphan District, Sakon Nakhon Province.

นามผูศึกษา นางสาวประภาพรรณ สิทธ ิ นายปรัชญา เที่ยงงามดี นางสาวภิรมยญา คําออ ไดพิจารณาเห็นชอบโดย ประธานกรรมการ ( อาจารยชลธิชา พจนสุนทร, ศศ.ม. ) กรรมการ ( อาจารยโปรยชัย กลาขยัน, Pg. Cert, MA ) กรรมการ ( อาจารยพชรภรณ พิศุทธิสุวรรณ, MRDM ) กรรมการ ( อาจารยพิมพอมร นิยมคา, M. B. )

หัวหนาสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและทองเท่ียว วันท่ี เดือน

การจัดการโรงแรมและทองเท่ียว ศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ

Page 5: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ประภาพรรณ สิทธิ, ปรัชญา เท่ียงงามดี, ภิรมยญา คําออ 2554 : ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการโรงแรมและทองเท่ียว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร อาจารยท่ีปรึกษา: อาจารยชลธิชา พจนสุนทร, ศศ.ม, จํานวน 83 หนา

วัตถุประสงคในการทําปญหาพิเศษครั้งนี้ เพ่ือใหสมาชิกในหมูบานเหลา ตําบลเหลา โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีศักยภาพในการใหบริการอยางเปนมาตรฐาน กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา คือ สมาชิกในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยใชแบบสอบถามจํานวน 250 ชุดซึ่งเปนลักษณะแบบสํารวจรายการและมาตราสวน ประมาณคา 5 ระดับ โดยทําการแจกแบบสอบถาม 1 ชุดตอ 1 คน จากนั้นนําขอมูลท่ีไดมาตรวจสอบความถูกตองและทําการวิเคราะหขอมูลตามวัตถุประสงคของการทําปญหาพิเศษ สถิติท่ีใชคือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุระหวาง 51-60 ป สถานภาพ สมรส สวนใหญอาชีพเกษตรกร รายไดเฉลี่ยตอเดือนนอยกวา 3,000 บาท ระดับการศึกษา อยูในระดับต่ํากวามัธยมศึกษาตอนตน จากความคิดเห็นของกลุมตัวอยางความคิดเห็นตอทรัพยากร การทองเท่ียวและความพรอมของโฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสมพบวามีรูปแบบกิจกรรมทองเท่ียวเชิงศาสนา มีความพรอมท่ีจะเปดโฮมสเตย สวนใหญมีสิ่งอํานวยความสะดวก คือ พัดลม มีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย มีการเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยรถยนต มีมัคคุเทศกประจําทองถิ่น มีการอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน มีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น มีผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของท่ีระลึกและมีการประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชน

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครนั้น โดยภาพรวมของศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย ซึ่งระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก ท้ัง10 ดานไดแก ดานท่ีพัก ดานอาหารและโภชนาการ ดานความปลอดภัย ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน ดานรายการนําเท่ียว ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตยและดานประชาสัมพันธ

.................../.............../................. ......................................... .......................................

Page 6: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่ออาจารยท่ีปรึกษา วัน/เดือน/ป

กิตติกรรมประกาศ

ปญหาพิเศษฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความกรุณาอยางสูงย่ิงจากอาจารยชลธิชา พจนสุนทร อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ ท่ีกรุณาใหคําแนะนํา ใหคําปรึกษา ตลอดจนใหความชวยเหลือ แกไขขอบกพรองตางๆ เพ่ือใหปญหาพิเศษฉบับนี้มีความสมบูรณ ผูศึกษาขอกราบพระคุณเปนอยางสูง ไว ณ โอกาสนี้

ผูศึกษาขอขอบพระคุณทานอาจารยสาขาการจัดการโรงแรมและทองเท่ียวทุกทาน ท่ีให

คําแนะนํา อันเปนประโยชนในชวงของการทําเคาโครงการศึกษาปญหาพิเศษ ใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น ท้ังใหความอนุเคราะหเปนผูเชี่ยวชาญ ตรวจเครื่องมือท่ีใชในการทําปญหาพิเศษ และคําแนะนํา อันเปนประโยชนในการทําปญหาพิเศษ ใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น

ผูศึกษาขอขอบพระคุณสมาชิกในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ

จังหวัดสกลนคร ทุกทานท่ีไดใหความชวยเหลือและใหขอมูลเพ่ือใชในการประกอบการศึกษา ใหมีความถูกตอง ขอขอบพระคุณผูตอบแบบสอบถามทุกทาน เพ่ือใหปญหาพิเศษครั้งนี้สมบูรณ ไดรับความสําเร็จและขอขอบพระคุณ คุณเกียรติศักดิ์ ขันทีทาวและคณะ เปนอยางสูง ท่ีใหความชวยเหลือในชวงของการศึกษาและทําปญหาพิเศษ อีกท้ังอํานวยความสะดวกในดานตางๆรวมท้ังการใหขอมูลและคําแนะนําเปนอยางดี

ผูศึกษาขอขอบพระคุณคณาจารยทุกทาน ท่ีไดประสิทธิ์ประสาทวิชา รวมถึงผูเขียนตํารา

เอกสารตางๆ ที่ผูศึกษาไดทําการคนควาและนํามาอางอิงในงานปญหาพิเศษในคร้ังนี้ คุณคาอันพึงมีจากวิทยานิพนธฉบับนี้ ขอมอบเปนเครื่องบูชาพระคุณบิดา มารดา ครู

อาจารยและผูมีพระคุณทุกทาน คณะผูจัดทํา กุมภาพันธ 2555

Page 7: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

สารบัญ หนา

สารบัญตาราง (3)

สารบัญภาพ (6)

บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงคของการศึกษา 2 ขอบเขตการศึกษา 2 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 3 นิยามศัพท 4

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโฮมสเตย 5 การจัดการโฮมสเตยเบ้ืองตน 7 ตัวชี้วัดมาตรฐานโฮมสเตยไทย 8 มาตรฐานโฮมสเตย 14 แนวคิดท่ีเกี่ยวกับปจจัยดานการจัดการทองเที่ยว 20 พฤติกรรมการทองเที่ยว 22 ทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจ 26 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแหลงทองเท่ียว 30 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 34 กรอบแนวความคิด 39

บทที่ 3 วิธีดําเนินงานการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง 40 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 41 การเก็บรวบรวมขอมูล 42

Page 8: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

การวิเคราะหขอมูล 42 สถิติท่ีใชในการวิจัย 43

สารบัญ (ตอ) หนา

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม 44

ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเที่ยวและความพรอม ของโฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม 49 ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 59 ขอเสนอแนะของสมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 78 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ ผลการศึกษาที่ได 79

ขอเสนอแนะจากการศึกษา 83 ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัยคร้ังตอไป 84

เอกสารและอางอิง 85 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามที่ใชในการศึกษา 92 ภาคผนวก ข ระดับคาความเชื่อม่ัน 98 ภาคผนวก ค ขอมูลท่ัวไปของหมูบานเหลา 100 ภาคผนวก ง ภาพการดําเนินงาน 105 ภาคผนวก จ ประวัติการศึกษา 108

Page 9: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามเพศ 44 2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ 45 3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพ 46 4 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอาชีพ 46 5 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน 47 6 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา 48 7 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ 49 8 จํานวนและรอยละ ของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียวศาสนา 49 9 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียวประวัติศาสตร 50 10 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ 50 11 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม 51 12 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงชุมชน 51 13 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางพรอมท่ีจะเปดโฮมสเตย 52 14 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกโทรทัศน 52 15 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกตูเย็น 53 16 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกเครื่องทําน้ําอุน 53 17 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกพัดลม 54 18 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีนอนพรอมมุง 54 19 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ 55 20 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย 55 21 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยใชพาหนะ 56

Page 10: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

22 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางมัคคุเทศกประจําทองถิ่น 56 23 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน 57 24 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น 57 25 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของท่ีระลึก 58 26 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชน 58

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที ่ หนา 27 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานท่ีพัก 59 28 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ 61 29 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย 63 30 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน 65 31 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานรายการนําเท่ียว 67 32 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 69 33 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม 71

Page 11: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

34 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 73 35 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 75

Page 12: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที ่ หนา 36 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานประชาสัมพันธ 77

Page 13: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1 กรอบแนวความคิด 39

Page 14: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

บทที่ 1

บทนํา

ความสําคัญของปญหา วิถีชุมชนของคนในทองถิ่นตางๆ ของประเทศไทยนั้นมีเสนหและเอกลักษณเฉพาะตัว ดวยความเรียบงายของชีวิตประจําวัน กับการประกอบอาชีพด้ังเดิมท่ีผูกพันเกื้อหนุนกับธรรมชาติรอบตัว จนผูคนตางถิ่นตางแดนตางวัฒนธรรมอยากจะเขามาสัมผัสวิถีชีวิตความเปนอยูดูสักครั้ง กิจกรรมการทองเท่ียวในรูปแบบท่ีเรียกวา "โฮมสเตย" นั้น สามารถสนองความตองการของนักทองเท่ียวไดเปนอยางดี ซึ่งกิจกรรมดังกลาวนับเปนรูปแบบหนึ่งของการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ท่ีพยายามไมใหการทองเท่ียวสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น ปจจุบันการทองเท่ียวแบบโฮมสเตย มีใหเลือกหลากหลายรูปแบบ ท้ังแบบเขาไปกินอยูในบานของชาวบานในชุมชน เสมือนเปนสมาชิกคนหนึ่งในครัวเรือน ใชชีวิตแบบเดียวกับชาวบานแทบทุกอยาง รวมทั้งบางแหงก็มีการประยุกตเพ่ิมความสะดวกสบายในการพักอาศัยขึ้นอีกระดับ แตก็ยังคงเอกลักษณของชุมชนไวอยางครบถวน แหลงทองเที่ยวโฮมสเตยท่ีนาสนใจมีอยูหลายแหง กระจายไปใน ทุกภาค เชน บานบางแมหมาย อําเภอบางปลามา จังหวัดสุพรรณบุรี หมูบานสลักเพชร อําเภอเกาะชาง จังหวัดตราด ชุมชนโฮมสเตยลีเล็ด อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี โฮมสเตยเกาะยาวนอย อําเภอเกาะยาว จังหวัดกระบ่ี เปนตน

จังหวัดสกลนครก็เปนอีกจังหวัดหนึ่งท่ีอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งมีความเหมาะสมของสภาพแวดลอมรวมท้ังทรัพยากรธรรมชาติมากมายและเสนทางคมนาคม ท้ังภายในและภายนอก เอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตทั้งยังมีความปลอดภัย ผูคนมีวิถีชีวิตท่ีเรียบงาย จนผูคนตางวัฒนธรรมอยากจะเขามาสัมผัสวิถีชีวิตความเปนอยูแบบโฮมสเตย โดยจังหวัดสกลนครนั้นไดมีกลุมคนท่ีอยูรวมกันเปนชุมชนเล็กๆ อยูท่ีอําเภอโคกศรีสุพรรณ ตําบลเหลาโพนคอ ท่ีอยูอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เปนชุมชนเล็กๆท่ีรวมตัวกันกอ ต้ังขึ้นเปนตําบลโดยชาวบานไดมีการเปดโฮมสเตยในหมูบานเหลา สําหรับตอนรับนักทองเท่ียวท่ีเดินทางมาจากตางจังหวัดตองการท่ีจะมาพักแรมดวย ถือวามีแหลงทองเท่ียวท่ีสามารถดึงดูดใจนักทองเท่ียวใหเขาไปสัมผัส ซึ่งแหลงทองเท่ียวดังกลาวมีท้ังแหลงทองเท่ียว

Page 15: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ท่ีเปนทรัพยากรธรรมชาติและแหลงทองเท่ียวที่เปนศิลปวัฒนธรรม ที่มีคุณคาทางโบราณคดี และศิลปะ รวมถึงวิถีชีวิตความเปนอยู ซึ่งมีบทบาทสําคัญย่ิงตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ดังนั้นเมื่อมีผูเดินทางมาเท่ียวและพักอาศัยโฮมสเตยหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครบางเพียงเล็กนอย สวนใหญจะเปนผูนําชุมชน อาสาสมัคร และชาวบาน ซึ่งสภาพแวดลอมสวนใหญแลวก็ยังไมไดรับการพัฒนาอยางเห็นไดชัด ยังไมไดมาตรฐานเทาท่ีควร อีกท้ังประชาชนยังขาดทักษะและประสบการณในการใหบริการนักทองเท่ียว ไมสามารถทําใหนักทองเท่ียวเกิดความพึงพอใจและประทับใจได โดยเฉพาะเรื่องของการใหบริการดานการจัดการบานพักโฮมสเตย ท่ีชุมชนเปดใหบริการแกนักทองเท่ียว ทางผูวิจัยจึงเล็งเห็นปญหานี้ท่ีจะนํามาซึ่งการวัดศักยภาพของคนในชุมชนตอการเปนโฮมสเตย มีการเชื่อมโยงและการสรางมูลคาเพ่ิมของทรัพยากรทองเท่ียวท่ีโดดเดนของโฮมสเตย หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร รวมถึงการมีสวนรวมของประชาชน องคกรทองถิ่น ในทองถิ่นท่ีเปนพ้ืนท่ีเปาหมาย ซึ่งเทากับเปนการเสริมสรางความเขมแข็งดานเศรษฐกิจใหกับชุมชน และในระดับประเทศตอไป ผูวิจัยจึงไดทําการวิจัยในหัวขอ ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

วัตถุประสงคของการศึกษา

1.เพ่ือศึกษาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา

โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ขอบเขตการศึกษา

1. ขอบเขตเนื้อหา

ศึกษามาตรฐานของโฮมสเตย เพ่ือศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีท้ังหมด 10 ดานดังนี้

1.1 ดานที่พัก 1.2 ดานอาหารและโภชนาการ 1.3 ดานความปลอดภัย 1.4 ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน 1.5 ดานรายการนําเท่ียว

Page 16: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

1.6 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1.7 ดานวัฒนธรรม 1.8 ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 1.9 ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 1.10 ดานประชาสัมพันธ

2.ขอบเขตประชากร

กลุมตัวอยางท่ีผูศึกษาใชในการศึกษาคร้ังนี้คือ ชาวบานหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

3.ขอบเขตดานพ้ืนท่ี

เขตหมูบานเหลา หมูที่ 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

4.ขอบเขตดานเวลา

ระยะเวลาท่ีผูศึกษาใชในการศึกษาคร้ังนี้ระหวางเดือนพฤศจิกายน 2554 – เดือนกุมภาพันธ 2555

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ไดทราบศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา

โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครได

นิยามศัพท

ศักยภาพ หมายถึง สิ่งท่ีเปนอยูในปจจุบัน ศักยภาพของชุมชน หมายถึง การท่ีชุมชนในหมูบานเหลา หมูท่ี 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มี “คน ความรู ทรัพยากร” ไมได “โง จน เจ็บ” แตขาดโอกาส ในการเรียนรูและพัฒนาศักยภาพของตนเอง ไมมีความรูในการจัดการทรัพยากรใหเกิดประโยชน แกชุมชนอยางย่ังยืน

Page 17: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

โฮมสเตย หมายถึง บานพักท่ีอยูในหมูบานเหลา หมูท่ี 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ท่ีมีประชาชนเปนเจาของบาน และประชาชน หรือสมาชิกในครัวเรือนอาศัยอยูประจํา และบานนั้นเปนสมาชิกของกลุม ชมรม หรือ สหกรณท่ีรวมจัดกันเปนโฮมสเตยในชุมชน โดยนักทองเท่ียวสามารถเขาพักรวมกับเจาของบานได ซึ่งสมาชิกในบานมีความยินดีและเต็มใจท่ีจะรับนักทองเท่ียว พรอมทั้งถายทอดประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นแกนักทองเท่ียวและนําพานักทองเท่ียว เท่ียวชมแหลงทองเท่ียวและทํากิจกรรมตางๆเชน เลนน้ําตก ขี่จักรยาน นั่งเรือ เปนตน นักทองเท่ียว หมายถึง กลุมคนท่ีเดินทางมาพักอาศัยในโฮมสเตยท่ีอยูในหมูบานเหลา หมูท่ี 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Page 18: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร คณะผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควา ขอมูล ทฤษฎีและรวบรวมแนวคิดตางๆท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใชประโยชนและเปนแนวทางในการศึกษา ซึ่งแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของมีดังตอไปนี้

1. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโฮมสเตย 2. การจัดการโฮมสเตยเบื้องตน 3. ตัวชี้วัดมาตรฐานโฮมสเตยไทย 4. มาตรฐานโฮมสเตย 5. แนวคิดที่เกี่ยวกับปจจัยดานการจัดการทองเท่ียว 6. พฤติกรรมการทองเท่ียว 7. ทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจ 8. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแหลงทองเท่ียว 9. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

1. แนวคิดเก่ียวกับการจัดการโฮมสเตย ความหมายของโฮมสเตย การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (2544) ไดนิยามวา “โฮมสเตยเปนที่พักท่ีสัมผัสวัฒนธรรม

ชนบทซึ่งหมายถึงการจัดสรรพ้ืนที่บานพักเพ่ือบริการนักทองเท่ียวโดยท่ียังคงเปนเอกลักษณและวัฒนธรรมประจําถิ่นภายใตศักยภาพและการยอมรับของชุมชนเพ่ือใหนักทองเท่ียวไดเรียนรูวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชนซึ่งก็เปนจุดขายวิถีธรรมชาติของไทย”

ชูวิทย ศิริเวช (2539) ไดนิยามวา “โฮมสเตยเปนการทองเท่ียวที่มีแนวความคิดของ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) โดยเปนการทองเท่ียวที่เนนคุณภาพมากกวาปริมาณ”

Page 19: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ชนะภัย เตชะวงศ (2542, หนา 30-11) ไดนิยามวา “เปนบริการท่ีพักหนวยเล็กท่ีสุดแตใหบริการ มากกวาการพักท่ีโรงแรมตรงท่ีเจาของกิจกรรม และนักทองเท่ียวตางเปดใจเรียนรูวิถีชีวิตแลกเปลี่ยนความคิด และวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน นักทองเท่ียวไดรับประสบการณแปลกใหมท่ีเปนมิตรภาพ โดยเจาของบานมีรายไดเพ่ิมขึ้นจากงานประจําวัน”

มธุรส ปราบไพรี (2544) ไดนิยามวา “โฮมสเตยเปนการทองเที่ยวที่นักทองเท่ียวท่ีนักทองเท่ียวสามารถท่ีจะสัมผัสกับวัฒนธรรมชนบทอยางแทจริง ดวยการเขาไปพักอาศัยกับเจาของบานจะมีการใหบริการดานอาหาร การนําเท่ียวทางวัฒนธรรม การเกษตร การศึกษาวิถีชีวิตชุมชน ซึ่งเปนกิจกรรมท่ีเปนทางเลือกใหกับนักทองเท่ียวท่ีมีความสนใจการทองเท่ียวเพ่ือศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผูคนในชนบท”

เกรียง ฐิติจําเริญพร (2545, หนา 5) ไดนิยามวา “โฮมสเตยที่จัดขึ้นอยูในชุมชนหรืออาจจะต้ังอยูหลังเดียวโดดๆ นอกชุมชนก็ได แตมักจะต้ังอยูแหลงทองเท่ียวหรือใกลๆกับแหลงทองเท่ียว ซึ่งอาจจะเปนแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติก็ได โฮมสเตยเกิดจากความรวมมือของคนในชุมชน และเปนคนในชุมชนท่ีสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม”

โฮมสเตย ถือเปนกิจกรรมทองเท่ียวท่ีนักทองเท่ียวพักรวมกับเจาของบานซึ่งใชบาน เปนศูนยกลางโดยเชื่อมโยงกับแหลงทองเท่ียว วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี และวิถีชีวิตของชุมชนเขาดวยกัน ท้ังนักทองเที่ยวและเจาของบานมีวัตถุประสงครวมกัน ท่ีจะแลกเปลี่ยนเรียนรูวัฒนธรรม และวิถีชีวิต ดวยความเต็มใจ พรอมทั้งจัดที่พักและอาหาร การนําเท่ียวในแหลงทองเท่ียวใกลเคียง โดยไดรับคําตอบแทนตามความเหมาะสม การจัดกิจกรรมท่ีพักสัมผัสวิถีชีวิตชนบท หรือ โฮมสเตย จึงเปนกิจกรรมทางการทองเท่ียวท่ีสามารถนํามาพัฒนาชุมชน โดยประชาชนในชุมชนมี สวนรวม และไดรับผลประโยชนจากการทองเท่ียวทําใหประชาชนในชุมชนรวมคิด รวมทํางานรวมกัน สรางความเขมแข็งของคนในชุมชนเปนหลัก โดยมีผลตอบแทนเปนเรื่องรอง หรือเปน เพียงรายไดเสริม

โฮมสเตยหรือท่ีพักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท หมายถึง ท่ีพักสัมผัส หมายถึงบานพักที่อยูในชุมชนชนบทท่ีมีประชาชนเปนเจาของบาน และประชาชน หรือสมาชิกในครัวเรือนอาศัยอยูประจํา และเปนสมาชิกขอกลุม ชมรม หรือ สหกรณท่ีรวมจัดกันเปนโฮมสเตยในชุมชน โดยนักทองเท่ียวสามารถเขาพักรวมกับเจาของบานได ซึ่งสมาชิกในบานมีความยินดีและเต็มใจท่ีจะรับนักทองเท่ียว พรอมท้ังถายทอดประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นแกนักทองเท่ียวและพานักทองเท่ียวเท่ียวชมแหลงทองเท่ียวและทํากิจกรรมตางๆเชน เลนน้ําตก ขี่จักรยาน นั่งเรือ เดินปาศึกษาธรรมชาติ

Page 20: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

2. การจัดการโฮมสเตยเบื้องตน หลักการของโฮมสเตย เปนเรื่องท่ีสําคัญท่ีทุกฝายท้ังรัฐบาลและชุมชน จําเปนท่ีจะตอง

เขาใจไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือใหการสงเสริมและพัฒนาเกี่ยวกับโฮมสเตยเปนไปในทิศทางเดียวกัน และไมกอใหเกิดปญหาตามมาภายหลัง ประการแรก ตองไมถือเปนนโยบายวาจะตองมีโฮมสเตยเกิดขึ้นในทุก ๆ หมูบาน แตตองคํานึงถึงความพรอม ความรูและความเขาใจของชุมชนเปนสําคัญ และชุมชนตองมีสวนรวมในการบริหารจัดการ โดยเนนจุดขายอยูท่ีวิถีชีวิตด้ังเดิมของชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่นท่ีนําสนใจ และสรางความเขาใจแตเร่ิมแรกวา การทองเท่ียวนั้นจะเปนเพียงรายไดเสริมมิใชรายไดหลักของชุมชน โดยชุมชนจะตองมีความเขมแข็งมีความรูเทาทันในสิ่งท่ีจะนําไปสูความเปลี่ยนแปลง และเขาใจวัตถุประสงคของสิ่งท่ีตนกําลังดําเนินการ เนื่องจาก โฮมสเตย หรือที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท มีจุดศูนยกลาอยูท่ีบานพักในชุมชน ดังนั้น การจัดการเกี่ยวกับท่ีพัก จึงเปนสิ่งท่ีสําคัญ ท่ีชุมชนหรือเจาของบานตองมีหลักและแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการบานพักและสภาพแวดลอมท่ีเปนสิ่งดึงดูดใจของนักทองเท่ียว ซึ่งอาจเรียกวาบัญญัติ10 ประการ ดังนี้

1.กกเตียงนอนท่ีสะอาด สะดวก ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะในราคาท่ีสมเหตุสมผล 2.กกหองอาบน้ําและสุขาท่ีสะอาด 3.กกอาหารพ้ืนบานงายๆท่ีไดรับการปรุงอยางดี 4.กกทิวทัศนและธรรมชาติท่ีสวยงามของชนบท 5.กกประวัติศาสตรและวัฒนธรรมทองถิ่น 6.กกกิจกรรมการทองเที่ยวในพ้ืนท่ี เชน เดินปา ตกปลา ขี่มา ปนเขา ขี่จักรยาน 7.กกรานคาสินคาทั่วไปและรานจําหนายสินคาท่ีระลึก 8.กกความบันเทิงและการแสดงพ้ืนบาน เชน การเลนดนตรี การเตนรํา 9.กกความปลอดภัยของนักทองเท่ียว 10.กความเปนมิตรและรอยยิ้มของชาวทองถิ่น

Page 21: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

3. ตัวชี้วัดมาตรฐานคุณภาพโฮมสเตยไทย ตัวช้ีวัดดานท่ีพัก 1. โครงสรางบานพักตองมีความม่ันคง หมายถึง ลักษณะสําคัญ คือ ตัวบานจะตองมีความ

ม่ันคงและแข็งแรง ไมอยูในสภาพชํารุดและเสี่ยงอันตรายจากการใชสอย วัสดุท่ีใชในการกอสรางตองมีความแข็งแรง ไมควรใชไมไผ ฝาขัดแตะหรือใบไมเปนวัสดุ เวนแตเปนเอกลักษณเฉพาะของทองถิ่นนั้นๆ ซึ่งจะตองอยูในสภาพท่ีแข็งแรง

2. บานพักมีอากาศถายเทไดสะดวกและไมมีกลิ่นอับ โดยหองตางๆของบานถูกออกแบบใหลมผานไดทุกจุด เชน หองนอน หองรับแขก หองครัวและหองน้ํา วัสดุท่ีใชมุงหลังคาตองกันน้ําฝนได ควรเปนกระเบ้ืองหรือสังกะสี หากเปนวัสดุอื่นจะตองไมมีรอยรั่วซึมลงตัวบานเมื่อฝนตก หรือหากตรวจพบวามีรูร่ัว ควรซอมแซมใหคงอยูในสภาพเดิม

3. มีท่ีนอนท่ีสบายตามสภาพชุมชนและเครื่องนอนท่ีสะอาด คือ ท่ีนอนท่ีจัดเตรียมไวสําหรับนักทองเท่ียวอาจเปนฟูกหรือเตียง โดยทําจากวัตถุดิบท่ีดี และอุปกรณตางๆท่ีใชในการนอน เชน ผาหม ผาปูท่ีนอน หมอน ปลอกหมอนตองสะอาด นอกจากนี้ควรมีพัดลม โตะเครื่องแปง และมานหนาตางทุกบาน

4. มีหองอาบน้ําและสุขาท่ีสะอาด ประตูหองน้ํามีตัวล็อคเปดปดอยูในสภาพดีปลอดภัย ไมมีรูและรอยรั่ว หรือชองท่ีมองเห็นไดจากภายนอก มีสวิตชไฟฟาหรือท่ีจุดไฟใหความสวาง มีสบู ยาสีฟน แปรงสีฟนและผาเช็ดตัวสํารองไวในหองน้ําในกรณีท่ีนักทองเที่ยวไมไดนําติดตัวมา และควรมีที่แขวนหรือราวในหองน้ําดวย

5. มีการเปลี่ยนผาปูท่ีนอนและอุปกรณสํา หรับการนอนทุกครั้ง เม่ือมีนักทองเท่ียวใหมเขามาพัก ถาผาหมเปนผานวมควรซักปลอกผานวมดวย

6. มีการกําจัดแมลงท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพอยูเสมอ เชน แมลงสาป หนู ยุง มด เปนตน การกําจัดไมควรใชสารเคมีที่อาจมีผลกระทบตอสุขภาพของเจาของบานและแขกท่ีมาพัก แตควร จะหาวัสดุและอุปกรณท่ีเปนสิ่งท่ีมีอยูในทองถิ่นและเปนภูมิปญญา เชน สมุนไพร เครื่องดักสัตว เปนตน

7. มีการดูแลสภาพแวดลอมบริเวณบาน เชน สวนหยอม สวนครัว ตนไม รองน้ําควรมีการปลูกตนไม เชนไมดอก ไมประดับ ไมผลเพ่ิมหากมีที่พอ มีท่ีนั่งเลนบริเวณลานบานนอกจากนี้ควรทําความสะอาดสิ่งท่ีอยูบริเวณบานอยูเสมอ ไมควรมีท่ีน้ําขังท่ีเปนแหลงเพาะยุงหากมีตุมน้ําฝนควรมีฝาปดกก

Page 22: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตัวชี้วัดดานอาหารและโภชนาการ 1. มีอาหารท่ีปรุงมาอยางดี หมายถึง ชนิดของอาหาร เครื่องปรุง รสชาติของอาหารที่ทําและ

ขั้นตอนการปรุงอาหารตองพิถีพิถัน สะอาดและถูกหลักโภชนาการ ชนิดของอาหารควรเปนอาหารพ้ืนบานซึ่งเปนเอกลักษณของแตละทองถิ่น เชน แกงเหลืองของภาคใต แกงออมของ ภาคอีสาน แกงฮังเลของภาคเหนือ เปนตน เครื่องปรุงควรเปนสิ่งท่ีหาไดในพ้ืนท่ีเปนหลักและใชพืชผักสวนครัวหรือของในชุมชน โดยเนนความสด สะอาด และควรเปนพืชผักปลอดสารพิษ รสชาติของอาหารควรเปนรสชาติที่ไมจัดเกินไป หรือหากเปนนักทองเที่ยวชาวไทยอาจสอบถามเกี่ยวกับความชอบกอนปรุง ทั้งนี้ในการปรุงทุกขั้นตอนตองเนนความสะอาด

2. ภาชนะท่ีใชสะอาดและปลอดภัย ภาชนะที่เกี่ยวกับการปรุงอาหารทุกชนิดและจาน ถวย ชาม ตองสะอาด และตองมีชอนกลางสําหรับตักอาหารทุกครั้งภาชนะตางๆท่ีใชปรุงอาหารและใชรับประทานอาหารจะตองทําความสะอาดและลางดวยน้ําสะอาด โดยใชน้ํายาลางจานโดยเฉพาะ หามใชผงซักฟอกลางโดยเด็ดขาด และหลังจากลางควรควํ่าไวใหแหงกอนเก็บสําหรับแกวด่ืมน้ําจะตองใส สะอาด ไมมีกลิ่นเหม็นคาวและควรแยกลางตางหาก

3. ครัวอยูในสภาพที่สะอาดไมมีกลิ่น หองครัวอาจอยูในตัวบาน หรือ แยกจากตัวบานก็ได แตควรหม่ันทําความสะอาดอยูเสมอ โดยเฉพาะหลังจากการปรุงอาหารทุกครั้ง

4. อุปกรณท่ีใชในครัวสะอาดถูกสุขลักษณะ ตูกับขาวในหองครัวและอุปกรณเครื่องปรุง เชน พริกกระเทียม กะป น้ําปลา ปลารา เกลือ ฯลฯตองเก็บใหมิดชิดมีฝาปดและกันแมลงไดดวยสวนอุปกรณตางๆในครัวควรมีลักษณะดังนี้ 1. เตา อาจเปนเตาแก็ส หรือเตาถานก็ไดซึ่งตองอยูในสภาพท่ีสะอาดและปลอดภัย หมั่นตรวจดูอุปกรณของเตาท่ีอาจชํารุดเพ่ือมิใหเกิดอันตรายในขณะปรุงอาหาร 2. ตูกับขาว ควรมีฝาปดเปดไดสะดวกและสะอาด กันแมลงได และมีรูระบายอากาศถายเทได 3. อุปกรณและเคร่ืองปรุงตางๆ ในครัว เชน พริก กระเทียม หอม กะปน้ําปลา ปลารา ควรเก็บไวในภาชนะท่ีสะอาดและมีฝาปด 4. หากมีตูเย็นจะตองดูแลความสะอาดอยูเสมอและใชเก็บอาหารและเครื่องด่ืมอยางเหมาะสม โดยอาหารท่ีมีกลิ่นใหใชถุงพลาสติก หรือกลองปดมิดชิด สวนอุณหภูมิควรอยูท่ี 5 องศาเซลเซียส หรือ นอยกวานั้น เม่ือสังเกตดูวามีน้ําแข็งเกาะมาก ควรกดปุมละลายน้ําแข็งนั้นทันที

5. มีน้ําด่ืมและน้ําใชท่ีสะอาด น้ําด่ืม หมายถึง น้ําท่ีจะนํามาใชด่ืมตลอดเวลาท่ีบานตองเปนน้ําท่ีสะอาด หากเปนน้ําประปา ถาไมแนใจควรตมในภาชนะที่สะอาดกอนบรรจุขวดหรือภาชนะอื่นๆ และหากเปนน้ําฝนท่ีรองไวในตุม ตองแนใจวาหลังคาบานสะอาดจริง สังกะสีไมเปนสนิม ไมมีฝุนละอองเกาะและเก็บไวในตุมที่สะอาดมีฝาปดมิดชิดน้ําใช หมายถึง น้ําท่ีใชอาบและซักลาง

Page 23: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

หากมิใชน้ําประปาจะตองผานการทําน้ําใหสะอาด เชน ใชสารสม หรือ กรองโดยดูแลภาชนะ ทุกชนิดที่บรรจุตองสะอาด ไมมีลูกน้ําหรือสัตวน้ําตลอดจนตะไครน้ําเกาะติดภาชนะนั้น

6. มีรานอาหารในชุมชน มีการบริการอาหารของเจาของบานสําหรับนักทองเท่ียวอาจมีเพียงอาหารเชา หรือ บางม้ือเทานั้น ดังนั้นจึงควรมีรานอาหารในชุมชนคอยใหบริการนักทองเท่ียว เชน รานอาหารตามสั่งหรือรานขาวแกง และรานอาหาร ดังกลาวควรเปนเครือขายในชุมชนท่ีรวมมือกันตอนรับนักทองเท่ียว โดยเฉพาะอยางย่ิงตองรวมมือในเรื่องของความสะอาดของอาหาร รานและอุปกรณตางๆ ท่ีสําคัญราคาปกติไมแพงจนเกินไปนอกจากนี้ควรมีบริการท่ียิ้มแยมแจมใส และนําประทับใจ

ตัวช้ีวัดดานความปลอดภัย 1. มีการจัดเวรยามดูแลความปลอดภัยใหนักทองเท่ียวโดยมีตารางเวรยามท่ีชัดเจน และอาจ

มีหัวหนาซึ่งเปนผูนําในชุมชนเพ่ือรับผิดชอบ มีการอบรมและฝกปฏิบัติใหกับเวรยามเม่ือมีเหตุราย และขอความรวมมือใหทุกคนในชุมชนชวยกันสอดสองดูแลคนแปลกหนาและรีบแจงผูเปนเวรยามทันทีเม่ือมีเหตุราย

2. มีเครื่องมือและวิธีการสื่อสารกับเจาหนาท่ีเมื่อเกิดเหตุรายหรือกรณีที่นักทองเท่ียวเจ็บปวย เคร่ืองมือ หมายถึง อุปกรณหรือสิ่งท่ีใชเปนสื่อเพ่ือติดตอเจาหนาที่ ตํารวจทหาร พยาบาล สาธารณสุข พนักงานดับเพลิงในกรณีท่ีเกิดเหตุราย เชน นักทองเท่ียวเจ็บปวยประสบอุบัติเหตุ จ้ี ปลน และอื่นๆ เครื่องมือดังกลาว ไดแก โทรศัพท โทรสาร วิทยุ เปนตน ซึ่งควรจะมีอยางใด อยางหนึ่ง หรือหลายอยางก็ได โดยสามารถใชอุปกรณสื่อสารตางๆ ดังกลาวไดอยางถูกตอง และควรมีการฝกอบรมโดยใชสถานการณจําลองเพื่อความคลองตัวในการปฏิบัติงานเม่ือเกิดเหตุการณจริง

3. มีการเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน หมายถึง เม่ือเกิดเหตุการณท่ีนักทองเที่ยวเจ็บปวย ถูกแมลงสัตวกัดตอยและอุบัติเหตุตางๆควรมีการปฐมพยาบาลเบ้ืองตนได กอนนําสงสถานพยาบาล เชน การหามเลือด การปมหัวใจ การประคบ การทําแผล นอกจากนี้ควรมียาสามัญประจําบานและท่ีเก็บยา ดังกลาวอยางเหมาะสมและหางาย อาจมีตูยาเฉพาะติดต้ังไวในจุดท่ีมองเห็นในบานพักกก

4. การตักเตือนนักทองเที่ยวเกี่ยวกับการเก็บรักษาทรัพยสินและเตรียมความพรอมเกี่ยวกับยา ในกรณีท่ีนักทองเท่ียวมีโรคประจําตัว วิธีการเตือนนักทองเท่ียวเกี่ยวกับรักษาทรัพยสิน ควรแจงใหระวังทรัพยสินมีคาตางๆ เชน กระเปาสตางค แหวน สรอยและเครื่องประดับอื่นๆ ควรสอบถามเกี่ยวกับโรคประจําตัวนักทองเท่ียวและควรเตือนใหเตรียมยาไวลวงหนา ท้ังนี้ควรระบุเรื่องดังกลาวไวในเอกสารการลงทะเบียนดวย เพ่ือมิใหนักทองเท่ียวหลงลืม

Page 24: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

5. มีการดูแลและซอมแซมล็อคตางๆในที่พัก เพ่ือความปลอดภัยอยูเสมอเจาของบานตองหม่ันดูแลล็อคตางๆในบาน เชน ประตูหนาตาง ตู ใหอยูในสภาพท่ี แข็งแรง และใชงานไดอยูตลอดเวลา และหากชํารุดใหรีบดําเนินการซอมแซมทันที

ตัวช้ีวัดดานการจัดการ 1. มีการรวมกลุมของชาวบาน จัดการในรูปแบบของชมรม หรือสหกรณ การจัดการ

โฮมสเตย ควรจะเปนการรวมกลุมของชุมชนในรูปแบบของกลุม ชมรม หรือ สหกรณ เพ่ือใหชุมชนมีสวนรวมมากที่สุด และจะตองมีความพรอมดวยในทุกๆดาน สําหรับการดําเนินการโดยองคกร หรือ บุคคลอื่นจากนอกพ้ืนที่ อาจเขามาสนับสนุนใหชุมชนรวมกลุมกันทําได แตไมควรดําเนินการในเชิงธุรกิจซึ่งจะกอใหเกิดปญหาตามมาภายหลัง

2. มีคณะกรรมการบริหารโครงการ เม่ือชุมชนรวมกลุมทําโฮมสเตยไดแลว ควรจัดใหมีคณะกรรมการบริหารโครงการโดยยึดหลักการมีสวนรวมของประชาชน และหลักประชาธิปไตยเปนสําคัญ กรรมการดังกลาวจะมีบทบาทและหนาท่ีชัดเจนในการดําเนินการโฮมสเตยของชุมชน

3. มีการกําหนดขอปฏิบัติ สําหรับนักทองเท่ียวเพื่อมิใหเกิดปญหาที่ขัดตอขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม จารีตประเพณี ความเชื่อของชุมชน กรรมการบริหารโฮมสเตยของชุมชนตองรวมกันกําหนดขอปฏิบัติตางๆใหนักทองเท่ียวทราบลวงหนา โดยกําหนดสิ่งท่ีนักทองเท่ียวทําไดและทําไมได เชน การแตงกายไมสุภาพ การแสดงออกของชายและหญิงในลักษณะชูสาว การใชสาร เสพติด เปนตน เพื่อใหนักทองเท่ียวยอมรับ และเขาใจกอนเดินทาง ท้ังนี้เพ่ือไมใหเกิดปญหาที่ขัดตอวัฒนธรรมของชุมชน

4. มีระบบการจองลวงหนา และลงทะเบียนเพ่ือทราบขอมูลเกี่ยวกับนักทองเท่ียว ระบบจองลวงหนา หมายถึง เม่ือนักทองเท่ียวตองการมาเท่ียวจะตอง สามารถจองลวงหนาไดโดยควรจัดเตรียมดังนี้ 1. ใชโทรศัพท หรือ เครือขายอินเทอรเน็ต หรือไปรษณียจองโดยตรงกับกรรมการของโฮมสเตย 2. จองผานบริษัทนําเท่ียว การจองลวงหนาดังกลาว ตองมีการตอบรับและตองแจงใหนักทองเท่ียวทราบขอปฏิบัติลวงหนาดวย

5. มีรายละเอียดเกี่ยวกับคําธรรมเนียมและบริการตางๆแจงใหนักทองเท่ียวทราบอยางชัดเจน คาธรรมเนียม และคําบริการตางๆ ควรระบุไวในขอมูลการประชาสัมพันธ เชน คาท่ีพัก ตอคนตอคืน คาอาหารตอคนตอม้ือ คานําเท่ียวตอคน หรือตอกลุม ฯลฯ

6. มีขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมทองเท่ียวอยางละเอียดเพ่ือใหนักทองเที่ยวเลือกเนื่องจากกิจกรรมท่ีจัดใหนักทองเท่ียวในแตละชุมชนมีลักษณะหลากหลาย และแตกตางกันตามสภาพของแตละชุมชน ดังนั้นจึงควรระบุกิจกรรมท่ีชุมชนสามารถจัดไวใหครบถวน และใหนักทองเท่ียวเปนผูเลือกตามความตองการ

Page 25: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

7. ชุมชนไมหวังท่ีจะสรางรายไดจากการทําโฮมสเตยเพียงอยางเดียวและตองไมสงผลกระทบตออาชีพดั้งเดิมของคนในชุมชน สมาชิกในชุมชนท่ีจัดโฮมสเตยจะตองตระหนักเสมอวาโฮมสเตยเปนเพียงอาชีพเสริมมิใชอาชีพหลักท้ังนี้สมาชิกของชุมชนหนวยงานภายนอกท่ีสนับสนุน และบริษัททัวรจะตองมีความเขาใจตรงกัน

ตัวช้ีวัดดานกิจกรรมทองเท่ียว 1. มีกิจกรรมทองเท่ียว เชน การเดินปา ตกปลา ขี่มา ปนเขา ขี่จักรยาน ฯลฯ ซึ่งเปน

ภูมิปญญาทองถิ่นของคนในชุมชน เนื่องจากกิจกรรมทองเท่ียวในแตละชุมชน มีความหลากหลายขึ้นอยูกับสภาพพ้ืนท่ีและภูมิประเทศ ซึ่งกิจกรรมตางๆ ชุมชนจะรวมกันจัดขึ้น และกําหนดไวอยางชัดเจน มีผูนําเท่ียว มีความปลอดภัย และเตรียมอุปกรณไวใหพรอม เชน การตกปลา จะตองเตรียมพรอมวา ใครเปนผูนําเท่ียว อุปกรณตกปลาคืออะไรและสถานท่ีตกปลาอยูท่ีไหน เปนตน

2. มีกิจกรรมฝกหัดศิลปหัตถกรรมพ้ืนบาน เชน การทอผา จักสาน ฯลฯโดยท่ัวไปชาวบานจะมีความรูความสามารถในดานศิลปหัตถกรรมพ้ืนบานอยูแลว จึงควรจัดใหมีกิจกรรมนี้ใหนักทองเท่ียวเลือกดวย เชน ฝกหัดการทอผา การจักสานเปนตน

3. มีกิจกรรมตอนรับตามประเพณีของทองถิ่น เชน การบายศรีสูขวัญ ฯลฯ เม่ือนักทองเท่ียวเดินทางมาถึงชุมชน ควรจัด กิจกรรมตอนรับโดยอาศัยวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ท่ีเคยปฏิบัติกันมาเปนเวลาชานานอยูแลว เชน การบายศรี สูขวัญ หรือการตอนรับดวยความย้ิมแยม แจมใสและอบอุน เปนตน โดยกิจกรรม ดังกลาวไมควรมีการปรุงแตงจนขัดแยงกับประเพณีดั้งเดิมของชุมชน 4. มีกิจกรรมบันเทิง เชน การแสดงดนตรี การเตนรํา การแสดงพ้ืนบาน ฯลฯกิจกรรมดานบันเทิง หรือ นันทนาการในยามวาง หรือ เวลาเย็น หรือตามเวลาท่ีเหมาะสม ควรจัดใหนักทองเท่ียวเลือกดวย เชน ดนตรีพ้ืนเมือง การเตน/รํา และการแสดงพ้ืนบาน โดยการแสดงตางๆ ควรเปนของชุมชน

5. มีกิจกรรมการทองเท่ียวที่ไมทําลายสภาพแวดลอม กิจกรรมทุกชนิดทุกประเภทท่ีจัดใหกับนักทองเท่ียวจะตองยึดหลักการเดียวกัน คือ ไมทําลายสิ่งแวดลอม เชน ไมท้ิงขยะ ไมขีดเขียนบนแผนหิน ไมสงเสียงดัง เปนตน

6. มีกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันระหวางนักทองเท่ียวกับเจาของบาน เชน กิจกรรมเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของชุมชน และการถายทอดตํานานหรือประวัติศาสตรของทองถิ่น ในระหวางนักทองเท่ียวอยูในชุมชนจะตองตระหนักเสมอวาเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ดานนักทองเท่ียวควรตองเรียนรูวิถีชีวิตของชุมชน ในขณะเดียวกันชุมชนก็ไดเรียนรูวัฒนธรรมบางอยางของนักทองเท่ียวดวยโดยเฉพาะอยางยิ่งนักทองเที่ยวท่ีเดินทางมาจากตางประเทศ

Page 26: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตัวช้ีวัดดานสภาพแวดลอม 1. มีแหลงทองเท่ียวประเภทใดประเภทหนึ่งหรือ หลายประเภท เชน แหลงโบราณสถาน

โบราณคดี แหลงทองเท่ียวทางการเกษตรเปนตน ในบริเวณใกลท่ีพัก ควรมีแหลงทองเท่ียวซึ่งเปนสิ่งดึงดูดใจใหแกนักทองเท่ียวอยางนอย 1 ประเภท ไดแก 1. แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ ไดแก ภูเขา ทะเล น้ําตก น้ําพุ ฯลฯ 2. แหลงโบราณสถานโบราณวัตถุ และประวัติศาสตรเชน วัด เจดีย วัตถุโบราณ ฯลฯ 3. แหลงทองเท่ียวท่ีชุมชนมีอยูแลว และเปนอาชีพของคนในชุมชนเชน สวนผลไม แปลงผัก บอปลา รวมถึงการทํานา ปลูกขาว ฯลฯ

2. มีการดูแลรักษาสภาพแวดลอมท้ังท่ีเปนแหลงทองเท่ียว และชุมชนอยูเสมอชุมชนจะตองมีสวนรวมในการดูแลรักษาสภาพแวดลอมในแหลงทองเที่ยวโดยรวมมือกับหนวยราชการ ท่ีมีหนาท่ีดูแลรักษาโดยตรง

3. มีสถานพยาบาล ไปรษณีย และธนาคารอยูไมไกลเกินไป โฮมสเตยควรอยูไมไกล จากสถานพยาบาล เพ่ือความสะดวกในการเคลื่อนยายนักทองเท่ียวเม่ือเจ็บปวย หรือหากไมมีสถานพยาบาล ควรรูสถานพยาบาลท่ีอยูใกลท่ีสุด สวนไปรษณีย และธนาคารก็เชนกัน หากไมอยูใกลชุมชนควรจะรูสถานท่ีท่ีอยูใกลมากท่ีสุด เพ่ือแนะนํานักทองเที่ยวได

ตัวช้ีวัดดานมูลคาเพิ่ม 1. มีรานขายของท่ีระลึกและสินคาหัตถกรรม อุตสาหกรรมพ้ืนบานภายในชุมชนควรจัดให

มีรานคา หรือมุมเล็กๆ ของชุมชนเปนจุดจําหนายสินคาของท่ีระลึก หากไมมี ชุมชนควรจัดการใหมีรานคาของชุมชนเกิดขึ้น

2. มีผลิตภัณฑโดยชาวบานและใช วัตถุดิบในทองถิ่นผลิต ชุมชนควรใชโอกาสนี้ในการใชภูมิปญญาท่ีชุมชนสั่งสมมาหรือสิ่งที่ชุมชนริเร่ิมขึ้นใหม ทําของท่ีระลึกเพ่ือจําหนายใหกับนักทองเท่ียว ซึ่งของที่ระลึกดังกลาว อาจเปนสิ่งของเคร่ืองใช เครื่องประดับ เสื้อผา ตลอดจนของตกแตง หรืออาหาร ขนม โดยควรใชวัสดุหรือวัตถุดิบท่ีมีในชุมชนนั้นเปนหลัก

3. มีโอกาสไดเผยแพรวัฒนธรรมของชุมชน ชุมชนไดใชโอกาสท่ีนักทองเท่ียวเขามาในชุมชนไดเผยแพรวัฒนธรรมของชุมชนทุกๆดาน ใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสและชื่นชม ซึ่งถือวาเปนการทํานุบํารุงวัฒนธรรมของตนอีกดวย

4. มีโอกาสพัฒนาศักยภาพของ บุคลากรในชุมชนในดานการใหบริการท่ีประทับใจ การท่ีชุมชนมีโอกาสตอนรับนักทองเท่ียวในแตละครั้ง คนในชุมชนไดมีโอกาสแสดงความสามารถของตนเอง ตามท่ีตนถนัด เชน การตอนรับ มัคคุเทศก การปรุงอาหาร การทอผาจักสาน เปนตน

Page 27: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตัวช้ีวัดดานการสงเสริมการตลาด 1. มีคูมือหรือเอกสารท่ีเผยแพรการทองเท่ียวเปนของตนเอง และเปนขอมูลจริงโดยคูมือ

หรือเอกสารดังกลาวมีรายละเอียดตางๆครบถวน เชน รายการกิจกรรม แหลงทองเท่ียวแผนท่ี การเดินทางโฮมสเตยแตละแหงควรมีคู มือหรือแผนพับหรือเอกสารท่ีรวบรวมขอมูลใหนักทองเท่ียวรับทราบ โดยคูมือดังกลาวควรระบุรายละเอียดทุกประเภทใหนักทองเท่ียวทราบโดยชัดเจนดวย อยางนอยควรมีกิจกรรมการทองเท่ียว รายละเอียดคาใชจายและการติดตอเพื่อเปนประโยชนแกนักทองเท่ียว เปนตน

2. มีการเผยแพรขอมูลประชาสัมพันธ เนื่องจากในปจจุบัน การติดตอสื่อสารผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ต ทําไดคอนขางงาย โดยคนในทองถิ่นสามารถทําไดเอง ดังนั้นโฮมสเตยจึงควรสรางโฮมเพจของตนเอง ซึ่งเปนทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (หากมีปญหาในการดําเนินการ ควรขอความชวยเหลือจากฝายสนับสนุน)

3. มีรายชื่ออยูในคูมือการทองเท่ียวโฮมสเตยของกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ปจจุบันสํานักงานพัฒนาการทองเท่ียว กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาได จัดทําคูมือและทําเนียบ การทองเที่ยวแบบโฮมสเตย ของประเทศไทย ดังนั้นโฮมสเตยตางๆจึงควรติดตอเพ่ือใหอยูในระบบดังกลาวและในขณะเดียวกันอาจมีการเชื่อมโยงขอมูลทางอินเตอรเน็ตของกระทรวง ซึ่งมีโฮมเพจดานนี้โดยเฉพาะ www.homestaythailand.org 4. มาตรฐานโฮมสเตย

เปนมาตรฐานท่ีสํานักงานพัฒนาการทองเท่ียว กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา จัดทําขึ้นเพ่ือเปนแนวทางในการประเมินศักยภาพโฮมสเตยในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2547 และใชเปนคูมือของผูประกอบการในการพัฒนาโฮมสเตยใหไดคุณภาพมาตรฐาน และไดประกาศใชอยางเปนทางการแลว มาตรฐานท่ี 1 ดานที่พัก ลักษณะบานพักที่เปนสัดสวน - เปนบานของเจาของท่ีแบงปนท่ีนอน หรือหองนอน อยางเปนสัดสวน หรืออาจปรับปรุง ตอเติมท่ีพัก ท่ีติดกับบานเดิมเพ่ือใชเปนท่ีนอนหรือหองนอนเปนสัดสวน ท่ีพักท่ีนอนสะอาด และสบาย - มีท่ีนอนสําหรับนักทองเท่ียวอาจเปนเตียง ฟูก หรือเสื่อ และมีมุง หรือมุงลวดเพ่ือปองกันยุงและแมลง

Page 28: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

- มีเครื่องนอน อุปกรณท่ีใชนอน ผาปู หมอน ปลอกหมอน ผาหม และไดรับการทําความสะอาดทุกคร้ังท่ีมีการเปลี่ยนนักทองเท่ียวและเปลี่ยนเคร่ืองนอนตามความเหมาะสมในกรณีท่ีนักทองเท่ียวพักหลายวัน

- มีราวตากผาหรือท่ีเก็บเสื้อผา หองอาบน้ําและหองสวมท่ีสะอาดมิดชิด - มีความปลอดภัย มีท่ีล็อคประตูอยูในสภาพใชงานไดดี มีความมิดชิด - มีขนาดของหองน้ําที่เหมาะสม มีอากาศถายเทไดสะดวก - มีการแยกขันสําหรับตักอาบน้ํา- น้ําที่ใชมีความสะอาด อาจเปนประปาหมูบาน ประปา

ภูเขา หรือน้ําดิบท่ีปลอยไวระยะหนึ่งและแกวงสารสม - มีถังขยะในหองน้ํา

มุมพักผอนภายในบานหรือในชุมชน - มีมุมพักผอน ท่ีสงบ สบายภายในบานหรือบริเวณโดยรอบที่สามารถนั่ง นอนและ

มีบรรยากาศผอนคลาย เชน ลานบาน ใตตนไม ศาลาหนาบาน - มีการดูแลบริเวณรอบบาน เชน สวนครัว ตนไม ไมดอกไมประดับ รองน้ํา

มาตรฐานท่ี 2 ดานอาหารและโภชนาการ ชนิดของอาหารและวัตถุดิบท่ีใชประกอบอาหาร - มีปริมาณ และประเภทอาหารที่เหมาะสม - ผลิตโดยใชวัตถุดิบในทองถิ่น ไมซื้ออาหารหรือกับขาวถุง - มีการปรุงอาหารอยางถูกสุขอนามัย น้ําดื่มท่ีสะอาด - มีท่ีเก็บน้ํา / ภาชนะเก็บน้ําท่ีสะอาดไมมีตะกอน มีฝาปดมิดชิด - มีน้ําด่ืมที่สะอาด ผานกระบวนการทําความสะอาด 2.3 ภาชนะทีบรรจุอาหารท่ีสะอาด - มีภาชนะท่ีเกี่ยวของกับอาหาร เชน ถวย ชาม จาน ชอน ชอนกลาง ทัพพี โถขาวท่ีสะอาด

ไมมีคราบ และกลิ่นคาว กลิ่นอับ หองครัวและอุปกรณท่ีใชในครัวมีความสะอาด - ครัวอาจอยูในบาน หรือแยกจากตัวบานก็ได และมีการดูแลความสะอาดอยูเสมอ - มีอุปกรณการเก็บ เคร่ืองปรุง วัตถุดิบ ท่ีสะอาดสามารถปองกันเชื้อโรคและสิ่งสกปรก

เชน มีที่เก็บมิดชิด ท่ีแขวน หรือมีฝาชีครอบ หรือคลุมผาสะอาด - มีการจัดการขยะท่ีถูกสุขอนามัย

Page 29: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

มาตรฐานท่ี 3 ดานความปลอดภัย การเตรียมความพรอมเก่ียวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตน - มีแนวทางปฏิบัติเพื่อการชวยเหลือเบ้ืองตน เม่ือนักทองเท่ียวเกิดเจ็บปวย หรือไดรับ

อุบัติเหตุ - มียาสามัญประจําบาน ท่ีอยูในสภาพใชไดทันที (ยังไมหมดอายุ) - เจาของบานควรซักถามถึงโรคประจําตัวหรือบุคคลท่ีติดตอไดทันทีในกรณีเกิดเหตุ

ฉุกเฉินกับนักทองเท่ียว การจัดระบบดูแลความปลอดภัย - มีการแจงใหผูใหญบานหรือกํานันรับทราบ ขณะมีนักทองเที่ยวในบาน เพ่ือขอความ

รวมมือในการดูแลรักษาความสงบความปลอดภัย - มีการจัดเวรยามดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เชน รถยนต - เม่ือมีเหตุรายตองมีเครื่องมือสื่อสารติดตอกับหนวยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรงได มาตรฐานท่ี 4 ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน การตอนรับและการสรางความคุนเคย - มีการแนะนํานักทองเท่ียวกับสมาชิกในครัวเรือนทุกคนท่ีอยูในขณะนั้น เพ่ือรูจักและ

เรียนรูวิถีชีวิตของเจาของบานผานกิจกรรมตาง ๆ ภายในบาน เชน เก็บผักสวนครัวรวมกัน ทํากับขาวรวมกัน รับประทานอาหารรวมกัน เปนตน

การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิตของชุมชน - เจาของบานมีการแลกเปลี่ยนใหขอมูล อาจเปนเอกสารภาพถาย หรือการพูดคุยในเร่ือง

เกี่ยวกับวิถีชีวิต สังคม และวัฒนธรรมในชุมชนอยางเหมาะสม - เจาของบานเปดโอกาสใหนักทองเที่ยวเรียนรูวิถีชีวิตของตนเอง เชน ไปดูไรนา ออกทะเล

เก็บใบชา ทอผา จักสาน เปนตน ซึ่งจะเปนโอกาสของการแลกเปลี่ยนเรียนรูวิถีชีวิต มาตรฐานท่ี 5 ดานรายการนําเท่ียว มีรายการนําเท่ียวท่ีชัดเจนสําหรับนักทองเท่ียวซึ่งตองผานการยอมรับจากชุมชน - มีการวางแผนโปรแกรมการทองเท่ียวรวมกันของชุมชนและกลุมโฮมสเตย เพ่ือการกระจายรายไดใหเกิดขึ้นในแตละหมูบานหรือแตละกลุมกิจกรรม - มีโปรแกรมการทองเที่ยวท่ีเผยแพรสูสาธารณะและนักทองเท่ียวที่ชัดเจน สอดคลองกับสภาพความเปนจริงของชุมชน

Page 30: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ขอมูลกิจกรรมทองเท่ียว - มีขอมูลรายละเอียดกิจกรรมในโปรแกรมการทองเท่ียวท่ีหลากหลายแตกตางกันตามภูมิศาสตร สังคม วัฒนธรรม เพ่ือใหนักทองเที่ยวตัดสินใจเลือกได เจาของบานเปนมัคคุเทศกทองถิ่นหรือประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่นนําเที่ยว - กลุมหรือเจาของบานเปนผูนําเ ท่ียวเพ่ือใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรสิ่งแวดลอมวัฒนธรรม ศิลปะ สถาปตยกรรม การแสดง ความเชื่อ คานิยมภายในชุมชนแกนักทองเท่ียว

- มีการจัดทําสื่อ เชน สิ่งพิมพ รูปถาย ภาพวาด เพื่อการเรียนรูของนักทองเท่ียว มาตรฐานท่ี 6 ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ชุมชนมีแหลงทองเท่ียวภายในชุมชนหรือแหลงทองเท่ียวใกลเคียง - มีแหลงดึงดูดความสนใจของนักทองเท่ียวซึ่งอาจเปนแหลงธรรมชาติ เชน แมน้ํา ภูเขาหรือแหลงทองเที่ยวท่ีมนุษยสรางขึ้น เชน วัดเจดีย เปนตน หรือใชแหลงทองเที่ยวใกลเคียงเปนสวนหนึ่งของโปรแกรมการทองเท่ียว การดูแลรักษาแหลงทองเท่ียว - ชุมชนมีกฎ กติกา การใชทรัพยากรการทองเท่ียวท่ีชัดเจน เพ่ือใหการใชประโยชนเปนไปอยางย่ังยืน เชน ปริมาณนักทองเท่ียวท่ีชุมชนรองรับได การไมเก็บพันธุพืชออกจากปา เปนตน - มีกิจกรรมท่ีสัมพันธกับงานการฟนฟูอนุรักษแหลงทองเท่ียวในหลากหลายรูปแบบ เชน การปลูกปา การจัดคายอนุรักษสิ่งแวดลอมสําหรับเยาวชน แผนงานหรือมาตรการลดผลกระทบจากการทองเท่ียวและลดสภาวะโลกรอน

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชนและกลุมโฮมสเตยมีแผนงาน มาตรการ และแนวทางปฏิบัติในการจัดการขยะอยางถูกวิธี เชน การแยกขยะ ไมเผาขยะ

มีกิจกรรมในการลดผลกระทบจากการทองเท่ียวเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมและลดสภาวะโลกรอน

- เนนใชทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เชน หอขาวดวยวัสดุท่ีมาจากธรรมชาติ - มีกิจกรรมท่ีลดการใชทรัพยากรอยางสิ้นเปลือง เชน ใชจักรยานแทนการใชรถ ใชเรือพาย

แทนการใชเครื่องยนต หรือการใชหลอดประหยัดไฟในครัวเรือน มาตรฐานท่ี 7 ดานวัฒนธรรม การดํารงรักษาไวซึ่งวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น

- มีบานเกา หรือบานท่ีแสดงถึงวัฒนธรรมด้ังเดิม เพ่ือสรางความสนใจแกนักทองเที่ยว

Page 31: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

- มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรมทองถิ่น เพ่ือนําสูการเผยแพรท่ีถูกตองแกนักทองเท่ียว

- ชุมชนและโรงเรียนมีแผนงานฟนฟู อนุรักษและถายทอดวัฒนธรรม ศิลปะและการละเลนพ้ืนบาน

- ผูแสดงทางวัฒนธรรมและผูท่ีเกี่ยวของมีสวนรวมในการวางแผนเนื้อหา รูปแบบและ การนําเสนออยางภาคภูมิใจ

การรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรปกติ - มีการดําเนินวิถีชีวิตท่ีเปนปกติ เชน การตักบาตร การทําบุญที่วัด การไหวศาลปูตา เปนตน

ไมควรเปลี่ยนหรือจัดทําใหม เพ่ือตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว มาตรฐานท่ี 8 ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑจากชุมชนเพื่อเปนของท่ีระลึก/ของฝากหรือจําหนายแกนักทองเท่ียว - มีผลผลิตหรือผลิตภัณฑชุมชนหรือชุมชนสามารถนํามาจําหนายแกนักทองเท่ียวไดทั้งเปนของบริโภค สิ่งประดิษฐ เสื้อผา สิ่งทอ ของท่ีระลึก โดยใชวัสดุและวัตถุดิบทองถิ่นเปนหลัก ผลิตภัณฑท่ีสรางคุณคาและมูลคาท่ีเปนเอกลักษณของชุมชน - มีการนําเอาความรู/ภูมิปญญาทองถิ่นมาจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือใหคนในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน พรอมกันนั้นก็สามารถจัดทําเปนกิจกรรมการทองเท่ียวได เชน การสอนทอผา การจักสาน การละเลนตาง ๆ และการแสดงพ้ืนบาน มาตรฐานท่ี 9 ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย

การรวมกลุมของชาวบาน - การบริหารจัดการตองเปนการรวมกลุมโดยการมีสวนรวมของชุมชน สมาชิกกลุม และ

ชุมชน ตองมีความรู ความเขาใจ แนวคิด หลักการ วัตถุประสงค และวิธีการของโฮมสเตย คณะกรรมการกลุมโฮมสเตย - มีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารงาน ไดแก ประธาน รองประธาน เหรัญญิก และ

กรรมการฝายตาง ๆ ตามความเหมาะสมของแตละชุมชน - คณะกรรมการทุกคนตองมีความรูความเขาใจในปรัชญาหลักการ ขั้นตอน วิธีการทํางาน

ของโฮมสเตย ตามบทบาทหนาท่ีที่แตละคนไดรับมอบหมาย กฎ กติกา การทํางานของคณะกรรมการ - มีกฎ กติกา วาระการทํางาน การทํางานรวมกันของคณะกรรมการ เชน การจัดประชุม

อยางตอเนื่อง กอนจะรับนักทองเที่ยว และหลังรับนักทองเท่ียวหรือจัดประชุมประจําเดือน - มีการจัดสรรเงินรายไดเขาสวนกลางของชุมชนเพ่ือสาธารณะประโยชนของชุมชน

Page 32: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

- มีแนวทางในการทํางานของคณะกรรมการตามหลักเกณฑตอไปนี้ 1. มีหลักเกณฑการเปดรับสมาชิกโฮมสเตย 2. มีการกําหนดขีดความสามารถในการรองรับนักทองเที่ยว 3. มีรายละเอียดกิจกรรมการทองเท่ียว การใหบริการ และราคา 4. มีแนวปฏิบัติในการจองบานพัก และการชําระเงินลวงหนา

-มีแนวปฏิบัติของกลุม เชน การตอนรับรวมกัน การใหขอมูล การจัดลําดับกิจกรรม การดูแลความปลอดภัย การติดตาม และประเมินผล เปนตน

มีการจายผลประโยชนอยางเปนธรรม - มีแนวปฏิบัติหมุนเวียนการใหบริการ เชน บาน รถ เรือ มัคคุเทศก เปนตน - มีระบบการคิดราคาท่ีเปนท่ียอมรับของกลุม - มีการจัดสรรรายไดเขากองทุนชุมชน ระบบการจองการลงทะเบียนและการมัดจําลวงหนา - มีระบบการจองลวงหนา - มีการลงทะเบียนนักทอ งเท่ียวเ พ่ือเปนขอมูลในการเตรียมการและใหบริการแก

นักทองเท่ียว - มีการชําระเงินลวงหนา ในอัตราสวนท่ีทางกลุมเปนผูกําหนด รายละเอียดของคาธรรมเนียมและบริการตาง ๆ ที่ชัดเจน และเปนปจจุบัน - มีการระบุคาธรรมเนียมและคาบริการตาง ๆ ท่ีชัดเจนและเปนปจจุบันไวในขอมูล

การประชาสัมพันธ เชน คาที่พัก คาอาหาร คานําเท่ียว ซึ่งอาจจะคิดเปนรายคนหรือคิดในลักษณะเหมาจาย เปนตน มาตรฐานท่ี 10 ดานประชาสัมพันธ เอกสาร สื่อส่ิงพิมพ ประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชน - มีคูมือ แผนพับ แผนท่ีการเดินทาง โปรแกรมการทองเท่ียว กิจกรรมการทองเท่ียว ราคาและสถานท่ีติดตอ

แผนการเผยแพรประชาสัมพันธ - มีเปาหมาย แผนงาน การเผยแพร ประชาสัมพันธกับกลุมเปาหมายท่ีชัดเจน

Page 33: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

5. แนวคิดที่เก่ียวกับปจจัยดานการจัดการทองเท่ียว

ชิดจันทร หังสสูต (2532, หนา 1-2) ไดอธิบายความหมายของ 2 คํานี้ คือ “นันทนาการ(Recreation) คือ งานบันเทิงหรือการพักผอนหยอนใจท่ัวไป จะทําขึ้นโดยเฉพาะในยามวางเปนความสนุกสนานเฉพาะตัวที่สามารถเลือกได จึงเปนกิจกรรมโดยเฉพาะอยางท่ีเปนความพอใจหรือเกิดความสุขใจแกบางคน บางกลุม บางเหลาเทานั้น”

การเดินทาง (Travel) หมายถึง การเดินทางผาน หรือการวางแผนเดินทางจากสถานท่ีหนึ่งไปยังอีกสถานท่ีหนึ่ง โดยใชยานพาหนะไปเปนระยะทางใกลๆ หรือสถานท่ีตางประเทศรวมท้ังการเคร่ืองไหวทุกชนิดโดยไมสนใจในจุดมุงหมายแตอยางใด

จะเห็นวา คนเดินทาง หลายแบบหลายวิธีและดวยเหตุผลตางๆ กัน เพ่ือท่ีจะใหการเดินทางมีความหมายเปน การทองเท่ียว (Tourism) การเดินทางจะตองมีเงื่อนไขอยางนอย 3ประการครบถวนคือ

1. ตองเปนการชั่วคราว 2. ตองเปนไปตามความจงใจของผูเดินทาง 3. ตองมิใชเพ่ือรับสินจางในการนั้นและนําจะเห็นไดวาผูเดินทางจะเปนนักทองเท่ียว

หรือไมขึ้นอยูแกจิตใจหรือทาทีความรูสึก (Attitude) ของผูเดินทางนั้นดวย ซึ่งสอดคลองกับ (ฉลองศรี พิมลสมพงศ, 2542, หนา 4) ใหความหมายของการทองเท่ียว (Tourism)หมายถึง “การเดินทางเพ่ือความเพลิดเพลิน และพักผอนหยอนใจและเปนการเดินทางท่ีมีเง่ือนไข 3 ประการ” คือ

1. เดินทางจากท่ีอยูอาศัยปกติไปยังที่อื่นเปนการชั่วคราว 2. เดินทางดวยความสมัครใจ 3. เดินทางดวยวัตถุประสงคใดๆ ก็ได แตไมใชเพื่อประกอบอาชีพหรือหารายได (วินิจ

วีรยางกูร, 2532, หนา 6-7) ไดใหความหมายของนักทองเท่ียวไว 3 ประเภท ดังนี้ 1. นักทองเท่ียว (Tourists) คือ ผูมาเยือนชั่วคราว ซึ่งมักจะมาพักอาศัยอยูในประเทศท่ีมา

เยือนตั้งแต 24ชั่วโมงขึ้นไป และการมาเยือนมีวัตตุประสงคเพ่ือ - เพ่ือพักผอน เชน การบันเทิง พักผอนในวันหยุด เพ่ือสุขภาพ เพ่ือการศึกษา เพ่ือ

ประกอบการศาสนกิจ และการกีฬา - เพ่ือธุรกิจ - เพ่ือเย่ียมครอบครัว

Page 34: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

- เพ่ือราชการ - เพ่ือเขาประชุม 2. นักทัศนาจร (Excursionist) คือ ผูท่ีเดินทางเยือนเปนการชั่วคราวและพักอยูในประเทศ

ท่ีมาเยือนไมเกิน 24 ชั่วโมง 3. นักทองเท่ียวภายในประเทศ (Domestic Tourists) คือ นักทองเท่ียวที่เดินทางไปไหน

ก็ตามโดยใชเสนทางท่ีมิไดใชอยูเปนปกติประจําวัน และมีระยะทางไมตํ่ากวา 60 กิโลเมตร หรือออกไปนอกเขตจังหวัดที่เปนภูมิลําเนาของตน

วัตถุประสงคของการเดินทางทองเท่ียว (ฉลองศรี พิมลสมพงศ, 2542, หนา 6-7) ผูประกอบธุรกิจทองเที่ยว (Tourism Suppliers)

นิยมแบงวัตถุประสงคในการเดินทางของนักทองเท่ียว ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. การพักผอนเมื่อมีเวลาวาง (Leisure) ไดแก กิจกรรมนันทนาการ (Recreation)วันหยุด

(Holiday) เพ่ือสุขภาพ (Health) การศึกษา (Study) ศาสนา (Religion) และการกีฬา(Sport) 2. การติดตอธุรกิจ (Business) ไดแก การประชุม (Meeting) การปฏิบัติงานท่ีไดรับ

มอบหมาย (Mission) รสนิยมและความตองการสวนตัวของนักทองเท่ียว เชน การเดินทาง การ พักแรม การรับประทานอาหาร การเท่ียวดูชม การซื้อของท่ีระลึก และอื่นๆ ขึ้นอยูกับการมีอํานาจในการซื้อของนักทองเท่ียว มีความพรอมและเต็มใจท่ีจายตามราคาของสินคาในขณะนั้น

(ชิดจันทร หังสสูต, 2532, หนา 8-9) แบงความมุงหวังของการเดินทางทองเท่ียวออกเปน4 อยาง คือ

1. มุงหวังในทางกาย คือ มุงเดินทางเพ่ือการพักผอนทางรางกาย การแสดงกีฬา การสนุกสนานชายหาด การพักผอนใจในไนตคลับ และดานรักษาสุขภาพโดยตรง อาจเปนคําสั่งของแพทย หรือคําแนะนํา และประโยชนของการรักษาตัว เชน การอาบน้ําแรเพ่ือรักษา เปนตน

2. มุงหวังในทางศิลปวัฒนธรรม ผูเดินทางตองการหาความรูเกี่ยวกับประเทศนั้นๆเกี่ยวกับ ดนตรีศิลปะ นิทานพ้ืนบาน การเตนรํา การเขียนภาพ ศาสนา และกิจกรรมวัฒนธรรมประเพณีตางๆ

3. มุงหวังในมิตรภาพ ผูเดินทางประสงคท่ีจะเยี่ยมเพ่ือนหรือญาติ เพ่ือหนีความจําเจ หนีไปจากครอบครัว และเพ่ือนบานท่ียุงเหยิง หรือเพ่ือคบเพื่อนใหมๆ

4. มุงหวังทางฐานะและชื่อเสียงเกียรติยศ ตองการพัฒนาบุคลิกสวนตัว เชน การไปประชุม ไปธุรกิจ ไปศึกษาตอ ไปเพื่อทําอะไรในยามวาง ไปเพื่อศึกษาที่ไดรับปริญญาบัตร และสนใจในดานอาชีพหรือวิชาชีพอื่นๆเปนเรื่องท่ีตองการจะเรียนรู

Page 35: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

6. พฤติกรรมการทองเท่ียว พฤติกรรมของนักทองเท่ียวในการตัดสินในการทองเท่ียว การศึกษาเร่ืองพฤติกรรม

นักทองเท่ียวในการตัดสินใจทองเท่ียว ก็เพ่ือใหอุตสาหกรรมการทองเท่ียวสามารถตอบสนอง ความตองการของนักทองเท่ียวใหไดรับความพอใจ ซึ่งพฤติกรรมของนักทองเท่ียวในการตัดสินใจทองเที่ยว หมายถึงปฏิกิริยาของนักทองเท่ียวที่เกี่ยวของโดยตรงกับการไดรับหรือการใชบริการทางการทองเที่ยว รวมท้ังขบวนการตางๆ ในการตัดสินใจเดินทางทองเท่ียวซึ่งพอจะสรุปถึงพฤติกรรมของนักทองเที่ยวในการตัดสินใจทองเท่ียววามีขั้นตอนสําคัญอยู 9 ขั้นตอนดังตอไปนี้คือ

ข้ันตอนท่ี 1 การสงเสริมตลาดทางการทองเท่ียว (Tourism Promotion)เปนการอํานวยขาวสารขอมูลการทองเท่ียวใหแกนักทองเท่ียวกลุมเปาหมายโดยผานสื่อตางๆ และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ทําใหนักทองเท่ียวไดรับขาวสารทางการทองเที่ยวเหลํานั้น เชนจากหนังสือพิมพ จากนิตยสาร จากองคการสงเสริมการทองเที่ยว จากบริษัทนําเที่ยว จากบริษัทการบิน จากญาติมิตร เปนตน ขอมูลทางการทองเท่ียวอาจเปนขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเท่ียว วัฒนธรรม ประวัติศาสตร ท่ีพัก การคมนาคม ความปลอดภัย ฯ ล ฯ ซึ่งการสงเสริมตลาดทางการทองเท่ียวไปยังนักทองเท่ียวสามารถกระทําไดท้ังภาครัฐและเอกชนซึ่งไดกลาวไปแลว

ข้ันตอนท่ี 2 ความตองการทองเท่ียวของนักทองเท่ียวแตละคน (Need) เม่ือนักทองเท่ียวกลุมเปาหมายไดรับทราบขอมูลทางการทองเท่ียวแลว ก็จะกอใหเกิดความตองการทองเท่ียวขึ้นภายในจิตใจของนักทองเท่ียวแตละคน ท้ังนี้นักทองเท่ียวตองการเสริมสิ่งท่ีขาดไปหรือเพ่ิมรสชาติใหกับชีวิต เชนเกิดความเบ่ือหนาย อยากเปลี่ยนบรรยากาศตองการเดินทางทองเท่ียวใหไดเห็น สิ่งใหมๆ เพ่ือเพิ่มประสบการณ เปนตน โดยปกติแลวนักทองเที่ยวสวนมากตองการไปยังแหลงทองเที่ยวท่ีนําสนใจ คําครองชีพถูก การบริการไดมาตรฐาน มีความสะดวกสบายและปลอดภัย ในการทองเที่ยว

ข้ันตอนที่ 3 ส่ิงจูงใจสําหรับนักทองเท่ียว (Motivation) เปนแรงกระตุนใหอยากทองเท่ียวซึ่งเกิดจากปจจัย 2 ประการ คือ ปจจัยท่ีเปนแรงผลักดัน (Push Factor) เปนสภาพเงื่อนไขมากระตุนผลักดันใหเกิดความตองการหลีกหนีความจําเจซ้ําซากในชีวิตประจําวันเพ่ือไปทองเท่ียวและปจจัยท่ีเปนแรงดึงดูด (Pull Factor) เปนเงื่อนไขท่ีดึงดูดใจใหไปชมแหลงทองเท่ียวหรือกิจกรรมทางการทองเท่ียว ซึ่งอาจแบงสิ่งจูงใจออกไดเปน 4 ประเภทคือ

1. สิ่งจูงใจทางกายภาพ (Psychical Motivation) เปนแรงกระตุนท่ีเกิดจากความตองการพักผอนทางรางกายและจิตใจใหสดชื่น รักษาบํารุงสุขภาพ เชน การรับอากาศบริสุทธิ์ การรวมกิจกรรมตางๆ เปนตน

Page 36: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

2. สิ่งจูงใจดานวัฒนธรรม (Culture Motivation) เปนแรงกระตุนท่ีเกิดจากความตองการอยากรูจักวัฒนธรรมของประเทศที่ไมเคยรูจักมากอน รวมท้ังการดําเนินชีวิต ศิลปะ สถานท่ีประวัติศาสตรเทศกาลตางๆ ฯ ล ฯ

3. สิ่งจูงใจดานสวนตัว (Personal Motivation) เปนแรงกระตุนท่ีเกิดจากความตองการสวนตัว เชน เดินทางไปเยี่ยมญาติมิตร การไปจาริกแสวงบุญ เปนตน

4. สิ่งจูงใจดานสถานภาพและชื่อเสียง (Prestige and Status Motivation) เปนแรงกระตุนท่ีเกิดจากการตองการพัฒนายกระดับตัวเองใหสูงขึ้นและสรางชื่อขึ้น เชน การเขารวมประชุม การเขารวมการแขงขันกีฬา เปนตน

ข้ันตอนท่ี 4 การตัดสินใจของนักทองเท่ียว (Decision Making) นับวาเปนองคประกอบ ท่ีสงผลกระทบตอการทองเท่ียวมากเม่ือผูประสงคจะเดินทางทองเท่ียวไดรับขอมูลทางการทองเท่ียวแลวเกิดความตองการอยากทองเที่ยวขึ้น อีกท้ังเกิดแรงกระตุนจากสิ่งจูงใจ จะทําใหเกิดภาพลักษณทางการทองเที่ยว (Tourist Image) ของแตละทองถิ่นขึ้น เพ่ือประกอบการพิจารณาตัดสินใจวาจะไปทองเท่ียวท่ีไหนดีท่ีสุด โดยคํานึงถึงการประหยัดปลอดภัย สะดวกสบายและความอภิรมยมากท่ีสุดเปนเกณฑ ภาพลักษณการทองเท่ียวของสถานท่ีทองเท่ียวอาจปรากฏท้ังในลักษณะบวกหรือลบก็ได เชน ประเทศยุโรปมีความปลอดภัยสูง แตคาใชจายสูงตามดวยประเทศสังคมนิยมมีเง่ือนไขการเขาประเทศยุงยาก เปนตน จากการสํารวจปจจัยในการตัดสินใจของนักทองเท่ียวมี 8 ประการตามลําดับความสําคัญตอไปนี้

1. จะไปทองเท่ียวที่ไหน 2. จะไปทองเท่ียวเม่ือไหร 3. จะไปทองเท่ียวโดยทางใด 4. จะไปทองเท่ียวกับใคร 5. จะไปทองเท่ียวนานเทาไหร 6. จะไปทองเท่ียวเพ่ือชมอะไร 7. จะไปพักแรมในสถานท่ีประเภทไหน 8. จะไปทองเท่ียวแตละสถานท่ีกี่วัน ข้ันตอนที่ 5 การวางแผนคาใชจายการทองเท่ียว (Planning for Expenditure) โดยปกติเม่ือ

ตัดสินใจจะไปสถานท่ีทองเที่ยวใดก็จะตองศึกษาคาใชจายในการทองเท่ียว ย่ิงถาไปทองเท่ียวตางประเทศจะตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมาก ก็ตองเตรียมเก็บเงินไวจึงตองมีการวางแผนกอน 1-2 ป ในการวางแผนคาใชจายการทองเท่ียว จะตองวางแผนคาใชจายท้ังหมดท่ีจะเกิดขึ้นในการทองเท่ียวสถานท่ีนั้นๆ เชนคําพาหนะเดินทาง คําอาหาร คําท่ีพัก คํารักษาพยาบาลคาใชจายซื้อของ

Page 37: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ท่ีระลึก เปนตน ซึ่งการวางแผนคาใชจายการทองเท่ียวนี้เราอาจขอความชวยเหลือจากธุรกิจนําเท่ียวมาใชเปนแหลงขอมูลในการวางแผนคาใชจายการทองเท่ียว นอกจากนั้นยังตองมีการเตรียมวางแผนเรื่องลางานและฝากคนดูแลบานดวย

ข้ันตอนท่ี 6 การเตรียมการเดินทาง (Travel Preparation) เม่ือตัดสินใจเลือกสถานท่ีทองเท่ียวท่ีแนนอน และมีการวางแผนคาใชจายเสร็จหมดแลว ในขั้นนี้ผูเดินทางทองเท่ียวก็ตองเตรียมตัวในเร่ืองการจองต๋ัวพาหนะท่ีจะเดินทาง การจองรายการทองเท่ียวและท่ีพัก การยืนยัน การเดินทาง เปนตน นอกจากนั้นยังตองเตรียมเสื้อผาและของใชจําเปนในระหวางเดินทาง ตลอดจนการเตรียมการเรื่องสุขภาพและภารกิจสวนตัว

ข้ันตอนท่ี 7 การเดินทางทองเท่ียว (Travel) เปนการเดินทางออกจากบานเพ่ือทองเท่ียวจนกระท่ังทองเท่ียวเสร็จแลวกลับถึงบาน โดยมีการประเมินผลการทองเท่ียวเปนระยะๆตามประสบการณที่ไดรับ เริ่มต้ังแตพาหนะท่ีนําเขาไปสูจุดหมายปลายทางหรือแหลงทองเท่ียวสภาพแวดลอมตางๆ ตลอดจนท่ีพัก อาหารการกิน และอื่นๆ เพ่ือประเมินผลการเดินทางทองเท่ียวครั้งนี้วาเปนที่นําพอใจหรือไม ซึ่งจะสงผลกระทบตอการตัดสินใจ ในการเดินทางในคร้ังตอไป หรืออาจบอกตอใหบุคคลอื่นเดินทางมาทองเท่ียวในสถานท่ีแหงนี้ หรือบอกตอบุคคลอื่นไมใหมาทองเท่ียวสถานท่ีแหงนี้

ข้ันตอนท่ี 8 ประสบการณทองเท่ียว เมื่อนักทองเที่ยวไดมีการประเมินผลการเดินทางทองเท่ียว อาจเปนสถานที่ สภาพแวดลอม ผูคน การบริการ สิ่งอํานวยความสะดวก ก็จะไดผลของประสบการณทองเท่ียว ซึ่งอาจแบงไดเปน 2 ลักษณะคือ

1. มีความพึงพอใจเปนประสบการณทางบวก (Positive) ที่นักทองเท่ียวไดรับหรือสัมผัสสิ่งตางๆ ในขณะที่เดินทางทองเท่ียวไมวาจะเปนสถานท่ี คน สภาพแวดลอม การบริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเท่ียว ปรากฏผลการประเมินวานักทองเท่ียวมีความพึงพอใจ

2. ไมมีความพึงพอใจ เปนประสบการณทางลบ (Negative) ท่ีนักทองเท่ียวไดรับหรือสัมผัสสิ่งตางๆ ในขณะท่ีเดินทางทองเท่ียว ไมวาจะเปนสถานท่ี คน สภาพแวดลอม การบริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเท่ียว ปรากฏผลการประเมินวานักทองเที่ยวไมมีความพึงพอใจ ข้ันตอนท่ี 9 ทัศนคติของการทองเท่ียว เมื่อนักทองเท่ียวไดรับประสบการณจากการทองเท่ียวแลว ก็จะเกิดทัศนคติตอการทองเที่ยวครั้งนี้ ถาหากวานักทองเท่ียวไดรับความพึงพอใจ ก็จะมีทัศนคติท่ีดีตอการทองเท่ียวคร้ังนี้ อาจทําใหเขากลับมาทองเที่ยวอีกครั้ง หรือบอกเลาใหบุคคลอื่นมาทองเท่ียว ถาหากนักทองเท่ียวไดรับความไมพึงพอใจ ก็จะมีทัศนคติไมดีตอ การทองเที่ยวครั้งนี้ อาจทําใหไมอยากเดินทางมาทองเท่ียวอีก หรือบอกเลาใหบุคคลอื่นไมอยาก เดินทางเขามาทองเท่ียวดวย (บุญเลิศ จิตต้ังวัฒนา, 2548, หนา 142-145)

Page 38: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ประเภทของการทองเท่ียว (ชิดจันทร หังสูตร, 2532, หนา 9-13) ไดจัดประเภทตางๆ ของการทองเท่ียวตามหนังสือ

หลักวิชาทางทองเท่ียว โดย มล. ตุย ชุมสาย มีดังตอไปนี้ 1. การทองเท่ียวเพ่ือความสนุก นักทองเที่ยวจะใชเวลาหยุดงานเพ่ือเปลี่ยนบรรยากาศเพ่ือ

สนองความอยากรูอยากเห็นเพ่ือพบเห็นสิ่งและอุบัติการณใหมๆเพ่ือชมทิวทัศนอันสวยงามเพ่ือพบเห็นขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่น เพ่ือสงบอารมณกับความสงบของชนบท เพ่ือสนุกสนานกับความอึกทึกครึกโครมและตึกรามใหญโตของเมืองใหญ และเมืองศูนยกลางการทองเท่ียว 2. การทองเท่ียวเพ่ือพักผอน นักทองเท่ียวจะใชวันหยุดเพ่ือพักผอนโดยไมทําอะไรเพ่ือขจัดความเมื่อยลาทั้งกายและทางจิตท่ีเกิดขึ้นในเวลาทํางานใหหมดสิ้นไป และเรียกพลังกลับคืนมาสําหรับเริ่มตนทํางานในคาบใหม

3. การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม นักทองเท่ียวท่ีปรารถนาจะเรียนรูศิลปวิทยาการท่ีเกี่ยวกับวัฒนธรรมของชาติตางๆ ในสถาบันหรือสถานศึกษาท่ีมีชื่อเสียงหรือในประเทศท่ีมีวัฒนธรรมท่ีนําสนใจของเขา เพื่อชมโบราณสถานท่ีเกี่ยวของกับขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร เพ่ือติดตามความเจริญทางวัตถุเทคโนโลยีปจจุบันและงานฉลอง 4. การทองเท่ียวเพ่ือกีฬา เปนการทองเท่ียวเพ่ือชมการแขงขันกีฬาตางๆของทองถิ่นนั้นๆเชน การแขงเรือ แขงเลนวาวไทย เปนตน

5. การทองเท่ียวเพ่ือธุรกิจ มีขอเท็จจริงอยูวา นักทองเท่ียวเพ่ือธุรกิจมักจะจัดเวลาท่ีวางจากการปฏิบัติธุรกิจไวสําหรับการทองเท่ียว ซึ่งอาจจะเปนเวลาท่ีวางจากการปฏิบัติธุรกิจประจําวันหรือถือโอกาสอยูทองเท่ียวเม่ือสิ้นการปฏิบัติธุรกิจ

ปจจัยท่ีทําใหเกิดการทองเท่ียว การเดินทางของแตละบุคคลมีความแตกตางกันในหลาย ๆ ประการตามท่ี (ฉลองศรี พิมล

สมพงศ, 2531, หนา 88-99) กลาววา ปจจัยท่ีทําใหบุคคลตัดสินใจเดินทางทองเท่ียวประกอบดวย 1. เงินหรือคาใชจาย ซึ่งเปนสิ่งแรกที่ผูเดินทางทองเท่ียวจะตองคิดทันที เพราะการเดินทางทองเท่ียวไมวาจะใกลหรือไกลจําเปนตองมีเงิน หรืองบประมาณเพ่ือใชจายในดานตางๆ เชน คาพาหนะ คาที่พัก คาอาหาร คาบริการสําหรับสิ่งอํานวยความสะดวก และการใชจายซื้อของเปนตน 2. เวลาเปนสิ่งท่ีมีความหมายสําคัญสําหรับผูเดินทางทองเท่ียว เพราะแตละบุคคลยอมอยูในสถานภาพทางการประกอบอาชีพท่ีแตกตางกัน บางคนอาจใชเวลาสุดสัปดาหเพื่อการทองเท่ียว

Page 39: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

แตบางคนอาจตองรอถึงปดภาคเรียน หรือบางคนอาจใชเวลาหลังชวงชีวิตทํางานเพื่อการทองเท่ียว เปนตน 3. ความต้ังใจท่ีจะไป ปจจัยนี้เกิดจากเหตุผลและความรูสึกนึกคิดสวนตัวอยางแทจริงการ มีเงินและมีเวลา คงไมสามารถกระตุนใหเกิดการทองเที่ยวไดถาไมตั้งใจท่ีจะไป นักทองเท่ียวแตละคนมีความต้ังใจในการทองเท่ียวแตละครั้งไมเหมือนกัน ท้ังนี้ความตั้งใจในการเดินทางทองเท่ียวอาจถูกกระตุนไดจากสิ่งตางๆ เชน ความตองการท่ีจะเดินทางทองเท่ียว การเก็บรวบรวมขอมูล การทองเที่ยว ปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ เสถียรภาพทางการเมือง ฤดูกาล สิ่งอํานวยความสะดวกความปลอดภัย และภาพพจนทางการทองเท่ียว เปนตน สิ่งเหลํานี้ทําใหความตั้งใจท่ีจะเดินทางทองเท่ียวของนักทองเท่ียวเปลี่ยนแปลงไดอยูตลอดเวลา

7. ทฤษฎีเก่ียวกบัปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจ (มนัสสา จินตจันทรวงศ, 2549) กลาววา ปจจัยท่ีใชในการตัดสินใจซื้อโปรแกรมการ

ทองเท่ียวเชิงนิเวศ คือ 1. ปจจัยภายนอก ไดแก ราคา ชื่อเสียงบริษัท การสื่อสารการตลาด คําแนะนําจากคนรูจัก

มัคคุเทศก กระแสนิยม ฤดูกาล ความแปลกใหม โปรแกรมการทองเท่ียวและวิทยากร 2. ปจจัยภายใน ไดแก การจูงใจ การรับรู บุคลิกภาพ และทัศนคติสุดาดวง เรืองรุจิระ (2543, หนา 84) กลาววา “ปจจัยท่ีมีอิทธิพลในการกําหนดพฤติกรรมการซื้อท่ีแตกตางกันของผูบริโภคแตละคน มีท้ังปจจัยท่ีเกิดจากตัวผูบริโภคเอง และปจจัยท่ีมาจากความสัมพันธระหวางบุคคล”

เสรี วงษมณฑา (2542, หนา 38) กลาววา ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของผูบริโภคมี 2 ประการ คือ 1. ปจจัยภายใน หรือเรียกวา ตัวกําหนดพ้ืนฐาน ประกอบดวย - แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง ปญหาท่ีถึงจุดวิกฤติท่ีทําใหผูบริโภคเกิดความไมสบายใจ แรงจูงใจจึงเปนความตองการท่ีเกิดขึ้นรุนแรง บังคับใหบุคคลคนหาวิธีตอบสนองความพึงพอใจ - บุคลิกภาพ (Personality) คือ ลักษณะนิสัยโดยรวมของบุคคลท่ีพัฒนาขึ้นมาในระยะยาว ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดรูปแบบในการโตตอบหรือตอบสนอง (Reaction) ท่ีไมเหมือนกัน - การเรียนรู (Learning) เปนการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของบุคคลท่ีเกิดจากประสบการณ ดังนั้นการเรียนรูจึงเปนประสบการณท่ีบุคคลสะสมไว - การรับรู (Perception) เปนกระบวนการซึ่งบุคคลเลือกจัดองคกรและตีความขอมูล เพ่ือกําหนดภาพท่ีมีความหมาย การรับรูเปนสิ่งสําคัญมากในแงการตลาดจนมีคํากลาววา“สงคราม

Page 40: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

การตลาดความจริงไมใชสงครามสินคาแตเปนสงครามการสรางการรับรู” ซึ่งหมายถึงการแขงขันทางการตลาดไมไดแขงขันกันเพียงทําใหสินคาดีเทานั้น แตจะแขงขันกันในดานการสรางภาพพจนดวย - ทัศนคติ (Attitude) คือ การประเมินความพอใจหรือไมพอใจความรูสึกและทําทีความรูสึกท่ีคนเรามีตอความคิดหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทัศนคติเปนสิ่งท่ีจะนํามาซึ่งการปฏิบัติของผูบริโภค - ความจําเปน (Needs) ความตองการ (Wants) และความปรารถนา (Desire) ความจําเปนท่ีใชสําหรับสิ่งที่จําเปนตอการครองชีพ ความตองการใชสําหรับความตองการทางจิตวิทยา ท่ีสูงกวาความจําเปน สวนความปรารถนาเปนความตองการดานจิตวิทยาที่สูงที่สุด 2. ปจจัยภายนอก ที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจของผูบริโภค มีดังนี ้ - สภาพเศรษฐกิจ (Economic) เปนสิ่งท่ีกําหนดอํานาจซื้อของผูบริโภค - ครอบครัว (Family) ทําใหเกิดการตอบสนองตอความตองการ การตอบสนองความตองการของรางกายจะไดรับอิทธิพลจากสมาชิกในครอบครัว - สังคม (Social Group) ลักษณะดานสังคมประกอบดวยรูปแบบการดํารงชีวิต(Lifestyles) คานิยม (Social Values) และความเชื่อถือ (Belief) - วัฒนธรรม (Culture) เปนกลุมของคานิยมพื้นฐาน การรับรู ความตองการ และพฤติกรรม ซึ่งเรียนรูจากการเปนสมาชิกของสังคมในครอบครัว วัฒนธรรมจึงเปนรูปแบบที่คนสวนใหญในสังคมใหการยอมรับ - การติดตอธุรกิจ (Business Contacts) หมายถึง โอกาสท่ีผูบริโภคจะไดพบเห็นสินคานั้นๆ สินคาใดท่ีผูบริโภคไดรูจัก พบเห็นบอยๆ จะทําใหผูบริโภคเกิดความรูสึกไววางใจและมีความยินดีท่ีจะใชสินคานั้น

การทองเท่ียวแบบตางๆ จากปจจัยท่ีทําใหเกิดการทองเท่ียว ทําใหนักทองเท่ียวมีแบบตางๆ ของการทองเท่ียว ซึ่งมี

ลักษณะของการทองเที่ยวท่ีแตกตางกันไปดังนี้ 1. การทองเที่ยวสวนบุคคล ไดแก การทองเที่ยวท่ีนักทองเท่ียวจัดขึ้นสําหรับตัวเองและครอบครัว หรือสําหรับตัวเองกับกลุมเพ่ือน โดยใชรถสวนตัว หรือเชารถบัสไปกันเอง โดย จะกําหนดเอาวาจะไปไหนบาง ไปเมื่อใดหยุดทองเท่ียวที่ไหนบาง หรือจะเปลี่ยนแปลงอยางไรก็ทําตามปรารถนา บริการตางๆ ระหวางทาง ปลายทางจัดหาเอง

Page 41: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

2. การทองเท่ียวแบบทัวรหรือนําเท่ียว ไดแก การทองเที่ยวของคนหนึ่งคน หรือกี่คนก็ตามซึ่งมิไดนัดกันไปเสียเงินจํานวนหนึ่งแกผูจัดบริษัทนําเท่ียว ผูจัดนําเท่ียวจะจัดการเร่ืองยานพาหนะ ท่ีพัก และบริการอื่นๆ โดยกําหนดรายการแนนอน นักทองเที่ยวไมตองจัดอะไร การทองเท่ียวแบบนี้นักทองเที่ยวมักเสียเงินนอยกวาแตก็ขาดเสรีไปบาง ในเรื่องสถานที่อยากจะไปเที่ยวและตองทําการตางๆ ตามกําหนดเวลา 3. การทองเท่ียวตามคาบเวลาการทองเท่ียว แบงเปน 3 อยาง คือ

3.1 การทองเท่ียวคาบเวลายาว ถาเปนการทองเท่ียวเพื่อวัฒนธรรมหรือ การศึกษาจะหมายถึงการพักอยู ณ ท่ีหนึ่งที่ใดเปนคาบเวลายาวนับเปนสัปดาหหรือเปนเดือน ถาเปนการทอง เ ท่ียวเ พ่ือ ความส นุกคาบเ วลาอาจยาวนานเหมือนกันแ ตสถานท่ีอาจเ ปลี่ยนไป 3.2 การทองเท่ียวคาบเวลาสั้น เปนการทองเท่ียวท่ีจะกินเวลา 2-3 วัน ถึง 10-12วัน เปนระยะเวลาทองเท่ียวของผูที่ทํางานไมมีโอกาสจะไปพักผอนไดนานๆ 3.3 การทองเที่ยวแบบทัศนาจร ซึ่ง IUOTO ไดกําหนดวา เปนการทองเท่ียวท่ีใชเวลา ไมเกิน 24 ชั่วโมง และไมมีการพักคางคืน การทัศนาจรมีความสําคัญพิเศษสําหรับผูที่มีถิ่นท่ีอยูใกล ๆ พรมแดนจะมีทัศนาจรขามพรมแดนเพ่ือซื้อสินคาสําหรับใชสวนตัว 3.4 การทองเที่ยวจัดจําพวกตามพาหนะท่ีใชทองเที่ยว หมายถึง การทองเท่ียวแบบใชอากาศยาน เรือ รถไฟ เรือเพลินทาง (Cruise) รถนั่งสวนบุคคล และรถยนตโดยสารสาธารณะ ในประเทศยุโรป การเดินทางทองเท่ียวขามประเทศท่ีใกลๆ กับประเทศของนักทองเท่ียวก็กระทํากันไมนอย 3.5 การทองเท่ียวแบบบวกกับแบบลบ (Receptive and Passion Tourism) ถานักทองเที่ยวตางประเทศเขามาทองเท่ียวในประเทศหนึ่งและนําเงินตราตางประเทศมาใชในประเทศนั้นถือวาการทองเท่ียวของเขาเปนการทองเท่ียวแบบลบสําหรับประเทศนั้นประเภทของทรัพยากรทางการทองเท่ียว

(ตุย ชุมสาย, 2527, หนา 81-83) ไดใหความหมาย สินมรดก (Heritage) เชิงการทองเท่ียว ไดแก “สิ่งแปลกๆ นําดูนําชม นําสัมผัส ของประเทศใดประเทศหนึ่งหรือถิ่นใดถิ่นหนึ่งที่ชักจูงใหนักทองเท่ียวอยากมาดูมาชม” โดยแบงออกไดดังนี้ 1. สินมรดกตามธรรมชาติ เปนสิ่งท่ีมีอยูแลวตามธรรมชาติ ไดแก ภูมิประเทศตามชนบท ท่ีมีโครงสรางแปลกๆของสิ่งธรรมชาติ ภเูขาและเชิงเขา ลมฟาอากาศ พงไพร (ชนิดและโครงสรางของปา) น้ํา (นานน้ําสงบ น้ําพุ ทะเลสาบ น้ําตก หาดทรายทะเล) พันธุไมและพันธุสัตว(สวนรุกขชาติ สวนสัตว ตนไมแปลกๆ) ซึ่งสินมรดกตามธรรมชาติเหลํานี้ เปรียบเสมือนมีบอทองเปนหนาท่ี

Page 42: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ของรัฐบาลท่ีจะตองพัฒนาขึ้นใหเปนแหลงทองเที่ยว และอนุรักษไวใหเปนแหลงทองเท่ียวตลอดไป 2. สินมรดกที่คนสรางขึ้นไว โดยมิไดต้ังใจท่ีจะใหเปนสินอุปทานเชิงการทองเที่ยว หากท่ีใดมีสินมรดกทั้ง ท่ี เปนอ ยู โดยธรรมชาติและที่คนสร างไวที่นั้นก็เปนแ หลงอุปทานเชิง การทองเที่ยวอยางดีเยี่ยม โดยแบงออกไดดังนี้

- อนุสาวรียเชิงประวัติศาสตร ปราสาท ปอมปราการ เจดียอนุสรณสงคราม วัด ฯลฯ - โบราณสถานและสถานท่ีบงชี้วัฒนธรรม แหลงขุดคนโบราณวัตถุ พิพิธภัณฑหอสมุด อนุสรณ ของท่ีระลึก - ศิลปะพึงนิยม แบบบานในชนบท แหลงประดิษฐสิ่งศิลปะพ้ืนเมือง (เชน การทําน้ําตาล) - สถานท่ีเชิงเทคนิค และเชิงอุตสาหกรรม เขื่อนใหญๆ โรงงานผลิตสินคาเฉพาะถิ่น

ไรสม ฟารม ฯ ล ฯ - สถานท่ีท่ีสรางหรือแตงเสริมขึ้นสําหรับเลนกีฬา 3. โครงสรางของการทองเท่ียว กระทําการตางๆท่ีคนทําขึ้นเพ่ือมาเสริมสินมรดกทาง

ธรรมชาติและสินมรดก ที่คนสรางขึ้นเพ่ือใหเกิดคุณคําทางการทองเที่ยว และชักจูงใหคนเกิดความตองการมาเท่ียว ซึ่งการจัดโครงสรางของการทองเท่ียวเปนหนาท่ีของประชากร และวิสาหกิจการทองเท่ียวท้ังของเอกชนและของรัฐบาล ท่ีจะทํากิจกรรมตางๆ โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ - ตอนรับนักทองเที่ยวดวยน้ําใจและอัธยาศัยไมตรี - ตอนรับนักทองเที่ยวโดยจัดใหมีท่ีพัก อาหาร และบริการอื่นที่นักทองเท่ียวปรารถนา - ตอนรับนักทองเท่ียวใหเกิดความสนุกเพลิดเพลินในกิจกรรมทองเท่ียวของเขา โดยใชสินคาเชิงการทองเท่ียวประเภทตางๆ ใหเกิดผลทางการผอนคลายอารมณ ทางวัฒนธรรม ทางการศึกษา ทางความสงบสุข ฯ ล ฯ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (2540, หนา 18) ไดใหความหมาย “ทรัพยากรการทองเท่ียว หมายถึง สถานท่ีทองเท่ียวท่ีมีลักษณะเดน ดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยวได โดยแบงประเภททรัพยากรการทองเท่ียวตามลักษณะ” และความตองการของนักทองเท่ียวได 3 ประเภท คือ 1. ประเภทธรรมชาติ ไดแกสภาพภูมิศาสตร เปนแหลงทองเท่ียวท่ีสวยงามเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ภูเขา น้ําตก ทะเล เปนตน 2. ประเภทประวัติศาสตร โบราณวัตถุสถาน และศาสนา เปนแหลงทองเท่ียวท่ีมีความสําคัญในประวัติศาสตร และบอกใหทราบถึงวัฒนธรรมท่ีเกาแกของชาติ ไดแก วัดโบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร พิพิธภัณฑ ศาสนสถาน กําแพงเมือง อนุสาวรีย เปนตน

Page 43: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

3. ประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมเปนทรัพยากรการทองเท่ียวอีกรูปแบบหนึ่งในลักษณะของวัฒนธรรมความเปนอยู วิถีชีวิต เชน หมูบานชาวเขา ตลาดน้ําอัมพวาสภาพชีวิตในชนบท สอดคลองกับ (ฉลองศรี พิมลสมพงษ, 2531, หนา 63) ไดแบงทรัพยากรการทองเท่ียวออกเปน 3 ประเภท คือ 3.1 น้ํา หมายถึง แหลงธรรมชาติทุกชนิดท่ีเปนน้ํา และใกลน้ํา เชน ทะเล คลองแมน้ํา น้ําตก แหลม อาว หิมะ เปนตน ทรัพยากรประเภทนี้มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตเปนอยางย่ิงนอกจากประโยชนโดยตรงแลว ยังกอใหเกิดกิจกรรมการทองเท่ียวอีกหลายอยาง เชน - แหลงทองเท่ียวเพ่ือชมธรรมชาติและพักผอนหยอนใจ เชน เขื่อนกันน้ํา ทําเทียบเรือขนาดใหญ แนวหินปะการัง ถ้ําหินงอกหินยอย น้ําพุรอน เปนตน

- แหลงทองเท่ียวเพื่อการศึกษา เชน พิพิธภัณฑสัตวน้ํา นาเกลือ กังหันลม - แหลงทองเท่ียวเพื่อรักษาสุขภาพ เชน แหลงน้ําแรธรรมชาติ

3.2 พ้ืนดิน หมายถึง แหลงธรรมชาติทุกชนิดท่ีเปนดิน เชน ปาไม ไร นา สวนปาสวนสาธารณะ ภูเขา อุทยานแหงชาติ พ้ืนที่สีเขียว และพ้ืนดินทุกประเภทที่ไดรับการเพาะปลูกปรับปรุงตกแตงเพ่ือผลทางเศรษฐกิจ ตลอดจนฝูงสัตว นก พืชพันธุไม ดอกไม เปนตน กิจกรรมทองเท่ียวท่ีจัดขึ้นประเภทนี้ ใหทั้งความเพลิดเพลิน และเพ่ือการศึกษา 3.3 อารยธรรม ศิลปกรรม วัฒนธรรม ประเพณี ประวัติศาสตร วิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนจะเปนท่ีสนใจของนักทองเที่ยวท่ีเขาไปเยือนถิ่นตางๆ ประเทศท่ีพัฒนาแลวอารยธรรมเทคโนโลยี และความสมัยใหมเปนท่ีสนใจของนักทองเท่ียวท่ีมาจากประเทศท่ีกําลังพัฒนา สวนนักทองเท่ียวจากประเทศท่ีพัฒนาแลว มักจะนิยมเดินทางไปดูอะไรเกาๆ ในประเทศท่ีกําลังพัฒนาหรือพัฒนาเชนกัน

สรุปไดวา ทรัพยากรทางการทองเท่ียว หรือสินมรดกทางการทองเท่ียว มีท้ังเกิดขึ้นเองทางธรรมชาติ และมนุษยสรางขึ้น รวมท้ังการสรางความพรอมทางการบริการทองเที่ยวเพ่ือเสริมทรัพยากรทางการทองเท่ียวใหเกิดสิ่งดึงดูดใจหรือจูงใจใหนักทองเที่ยวมาเยือน 8. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาแหลงทองเท่ียว

ความหมายของการพัฒนาแหลงทองเท่ียวนั้น ไดมีนักวิชาการทางดานการทองเท่ียวไดให

ทัศนะไวหลากหลายดังนี้ มนัส สุวรรณ (2538:128) กลาวไววา การพัฒนาแหลงทองเท่ียว เพ่ือใหประสบผลสําเร็จ

มีสิ่งสําคัญท่ีตองนํามาประเมินประกอบการตัดสินใจในการพัฒนาไดแก ความปรารถนาของ

Page 44: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ผูทองเท่ียว ความสามารถในการใชบริการของผูทองเท่ียว ความสะดวกในการเดินทางและการเขาถึง และความสามารถท่ีจะรับไดของพ้ืนท่ี ประกอบดวยความสามารถที่จะรับไดเชิงกายภาพความสามารถที่จะรับไดเชิงสังคม และความสามารถท่ีจะรับไดเชิงนิเวศวิทยา นิคม จารุมณี (2536:68) กลาวถึงการพัฒนาแหลงทองเท่ียววา การท่ีจะสรางหรือพัฒนาแหลงทองเที่ยวท่ีเปนพ้ืนท่ีท่ีไมนาสนใจใหเปนแหลงทองเท่ียวท่ีสําคัญสามารถดึงดูดนักทองเท่ียวไดนั้น จะตองคํานึงถึงจุดสําคัญในดานสภาพแวดลอมทางธรรมชาติท้ังในแงกายภาพหรือภูมิภาค ตําแหนงท่ีต้ัง หรือชื่อเสียงของสถานท่ีที่กระจายไปสูโลกภายนอก

สรุปไดวา การพัฒนาการทองเท่ียวเพ่ือใหประสบผลสําเร็จตองประกอบดวยความสามารถในการใชบริการของผูทองเท่ียว ความสะดวกในการเดินทางและการเขาถึง และความสามารถท่ีจะรับไดของพ้ืนท่ี ชื่อเสียงของสถานท่ีท่ีกระจายไปสูโลกภายนอก การวางแผนพัฒนาการทองเท่ียวตามหลักทางวิชาการนั้น ไมใชเพียงการพัฒนาทรัพยากรทองเท่ียวท่ีเสื่อมโทรมใหดีขึ้นเทานั้น แตยังเปนการพัฒนาทรัพยากรทองเท่ียวท่ีมีสภาพดีอยูแลวใหดีขึ้นกวาเดิมดวย จึงตองมีขั้นตอนการพัฒนาทรัพยากรทองเท่ียว ดังนี้(บุญเลิศ จิตต้ังวัฒนา, 2548:28)

(1) ขั้นการจัดแบงเขตพ้ืนที่ในทรัพยากรทองเท่ียว (2) ขั้นการกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเท่ียวในแตละเขตของทรัพยากร

ทองเท่ียว (3) ขั้นการจัดกิจกรรมทองเท่ียวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมเสริมในทรัพยากรทองเที่ยว (4) ขั้นการประเมินขีดความสามารถรองรับนักทองเท่ียวแตละเขตพ้ืนท่ีของทรัพยากร

ทองเท่ียว (5) ขั้นการใหการศึกษาถึงผลกระทบของการพัฒนาการทองเท่ียวตอสิ่งแวดลอมแก

เจาหนาท่ีรัฐ เจาหนาที่ทรัพยากรทองเท่ียวและผูประกอบธุรกิจทองเท่ียวในทรัพยากรทองเท่ียว (6) ขั้นการจัดใหมีขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรทองเท่ียวที่นักทองเท่ียวตองการรู (7) ขั้นการจัดหางบประมาณในการพัฒนาทรัพยากรทองเท่ียวใหเพียงพอ กระบวนการวางแผนพัฒนาการทองเท่ียวสวนใหญจะมีกระบวนการไมแตกตางจากทฤษฎี

การวางแผนท่ัวไปนั้น ในท่ีนี้จะแบงกระบวนการวางแผนพัฒนาการทองเท่ียวออกเปน 5 ขั้นตอน ไดแก

(1) การรวบรวมขอมูลที่ เกี่ยวของและการสํารวจภาคสนาม สามารถแบงออกเปน 4 ประเด็นใหญ ๆ คือ ประเด็นท่ีหนึ่ง สภาพกายภาพและขอมูลทั่วไปของพ้ืนท่ี ไดแก ท่ีต้ัง และเขตการปกครอง สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะการใชท่ีดิน ขอมูลดาน

Page 45: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ประชากร การจางงาน ประการท่ีสอง ทรัพยากรทองเท่ียวประกอบดวย ดานธรรมชาติ ดานประวัติศาสตร และดานวัฒนธรรม ประการท่ีสาม ตลาดการทองเท่ียวควรประกอบดวย ผูมาเยือนท่ีมาของผูมาเยือน พาหนะท่ีใชเดินทาง แหลงทองเท่ียวและกิจกรรมที่นักทองเท่ียวชอบ โครงสรางผูเ ย่ียมเยือน การกระจายตัวของผูเย่ียมเยือนในแตละชวงเวลา แตละสถานท่ี ประการท่ีสี่ ความพรอมทางการทองเที่ยวควรประกอบดวย ระบบโครงขายการคมนาคมในพ้ืนท่ี และพ้ืนท่ีท่ีเกี่ยวของ ระบบขนสงระบบสาธารณะ โครงสรางพ้ืนฐาน เชน ระบบไฟฟา ประปา โทรศัพท ระบบกําจัดขยะ และความพรอมของเมืองดานตางๆ เชน รานคา รานอาหาร โรงพยาบาล เปนตน ซึ่งขอมูลทั้ง 4 ประเด็นท่ีกลาวมาขางตนอาจมีวิธีการรวบรวมท่ีแตกตางกันออกไปได นอกจากนี้ยังมีวิธีรวบรวมขอมูลโดยการสํารวจ การสังเกตการณ และการออกแบบสอบถาม เชนการสํารวจแหลงทองเท่ียวการใชแบบสอบถามดานตลาดการทองเท่ียว การสัมภาษณ หรือการสังเกตการณพฤติกรรมนักทองเท่ียว เปนตน

(2) การวิเคราะหขอมูล เปนขั้นตอนการนําเอาขอมูลตางๆ ท่ีรวบรวมไดจากขั้นตอนแรกมาจัดทําเปนคําบรรยาย แผนภูมิ แผนท่ี ตาราง เปนการศึกษาเพ่ือใหทราบถึงสภาพพ้ืนท่ีในแงมุมตางๆ และเนื่องจากการวางแผนพัฒนาการทองเท่ียวเกี่ยวของกับการวางแผนดานกายภาพ ดังนั้น การวิเคราะหโดยใชแผนท่ี จึงเปนวิธีการหนึ่งท่ีจําเปน เนื่องจากขอมูลดิบท่ีถายทอดลงแผนท่ีนั้น นอกจากจะบงบอกถึงความสัมพันธกันในแงของขนาดและจํานวนแลว ยังบอกถึงความสัมพันธในแงของทิศทาง ที่ต้ัง การกระจายตัวอีกดวย ซึ่งเทคนิคการวิเคราะหอื่น ๆ ไมสามารถทําไดสําหรับขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลนี้จะนําไปสูคําตอบหรือภาพรวมของพ้ืนท่ีในแตละหมวดวาเปนอยางไร ไดแก หมวดสภาพกายภาพและขอมูลท่ัวไปของพ้ืนท่ี หมวดทรัพยากรทองเท่ียวซึ่งพิจารณาในแงคุณคา และความพรอมในการรองรับกิจกรรมการทองเท่ียวของแหลงทองเที่ยวนั้น ๆหมวดตลาดการทองเที่ยว และหมวดความพรอมทางการทองเท่ียว เปนตน

(3) การกําหนดประเด็นปญหา เปนขั้นตอนตอเนื่องจากการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล ซึ่งจะทําใหผูวางแผนมองเห็นภาพรวมในดานตาง ๆ อันจะนําไปสูการกําหนดประเด็นปญหาดานการทองเท่ียวที่มีอยู หรืออาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต เชน ปญหาความไมพรอมของพ้ืนท่ีในการรองรับกิจกรรมการทองเท่ียว ปญหาดานการคมนาคมขนสง ปญหาดานสิ่งแวดลอมท่ีเกิดจากการขาดระบบกําจัดขยะหรือน้ําเสีย โดยในการกําหนดประเด็นปญหาอาจมีเกณฑการพิจารณาอยางกวางๆ 5 ประการ คือ ขนาดของปญหา ความรายแรงของปญหา ความเรงดวนของปญหาขนาดของกลุมพ้ืนท่ี หรือกลุมคนท่ีมีปญหา รวมถึงการยอมรับประเด็นนั้นๆ วาเปนปญหา ท้ังนี้ในการวางแผนในเรื่องใดๆ ก็ตามยอมมีปญหามากมายสิ่งสําคัญประการหนึ่งคือ การมองหาความเชื่อมโยงของปญหาแตละประเด็นวามีความสัมพันธกันอยางไร ปญหาท่ี 1 กอใหเกิดปญหาที่ 2 หรือสงผลถึง

Page 46: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ปญหาท่ี 3 อยางไร เปนตน ซึ่งวิธีการดังกลาวจะชวยใหผูวางแผน สามารถจัดลําดับความสําคัญของปญหาตาง ๆ ได เมื่อทราบถึงประเด็นปญหาแลว สิ่งที่ควรวิเคราะหตอไปคือการพิจารณา ความไดเปรียบเสียเปรียบทางการทองเท่ียวในพ้ืนท่ีเปนการนําเอา จุดเดน จุดดอยของตนไปเปรียบเทียบกับผูอื่น โดยพิจารณาในภาพรวมวาจะมีความสามารถในการแขงขันกับแหลงทองเท่ียวในท่ีอื่นๆ อยางไร ซึ่งจะเปนประโยชนตอการวางแผนแนวทางกลยุทธในการสงเสริมดานการตลาดตอไป

(4) การกําหนดนโยบาย วัตถุประสงค เปาหมาย ในที่นี้นโยบาย คือแนวทางในการพัฒนาอยางกวางๆเปนกรอบการดําเนินการท่ีจะ ไมระบุในรายละเอียด การกําหนดนโยบายคือการตอบคําถามวา "จะทําอะไรในการพัฒนา การทองเท่ียว" เชน กําหนดนโยบายวา "มุงเนนการรักษาสภาพแวดลอมของแหลงทองเท่ียวและ รักษาเอกลักษณชุมชน" สวนวัตถุประสงค คือความมุงหมายท่ีตองการหรือผลท่ีตองการใหเกิดขึ้น อันเนื่องมาจากนโยบายท่ีกําหนดไวการกําหนดวัตถุประสงคคือการตอบคําถามวาตั้งนโยบายนั้นไว "เพ่ืออะไร" เชน กําหนดนโยบายพัฒนาการทองเท่ียววา"มุงเนนการรักษาสภาพแวดลอมของแหลงทองเท่ียว และรักษาเอกลักษณชุมชน" โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ"ดึงดูดใจใหเกิดการเดินทางมาทองเท่ียวในพ้ืนท่ี" และเปาหมาย เปนการถอดวัตถุประสงคซึ่งมีลักษณะคอนขางเปนนามธรรมใหออกมาเปนรูปธรรมท่ีวัดได ซึ่งสามารถกําหนดไดในหลายลักษณะ ไดแกการกําหนดเปาหมาย ในเชิงปริมาณเปนการตอบคําถามวา "เทาไหร" การกําหนดเปาหมายท่ีเปนพ้ืนที่หรือบริเวณ เปนการตอบคําถามวา "ทําท่ีไหน" การกําหนดเปาหมายที่เปนกลุมคนเปนการตอบคําถามวา "ทําใหใคร" การกําหนดเปาหมายเปนเวลา เปนการตอบคําถามวา "ทําเม่ือไหร"

(5) การกําหนดแผนงาน หรือโครงการพัฒนาการทองเท่ียวเปนขั้นตอนสุดทายของ การวางแผนเปนขั้นตอนท่ีจะตองกําหนดกิจกรรมตางๆ เพ่ือใหเกิดการดําเนินการพัฒนาตามกรอบ นโยบาย วัตถุประสงค และเปาหมายที่ไดวางไว โดยใชขอมูลตางๆ ท่ีไดรวบรวมไวใหเปนประโยชนซึ่งจะเปนการพิจารณาในรายละเอียดของโครงการพัฒนาแหลงทองเที่ยวตางๆ กลาวโดย สรุปประการแรกคือ ควรมีการกําหนดโครงการระยะสั้น ระยะยาว โครงการระยะสั้นเปนโครงการในแหลงทองเท่ียวท่ีมีศักยภาพสูง การลงทุนตํ่า และไดผลเร็ว หรือเปนโครงการท่ีมีความจําเปนเรงดวนสําหรับโครงการะยะยาวจะเปนโครงการท่ีมีการลงทุนสูงใหผลระยะยาว ประการท่ีสอง ควรมีการกําหนดแผนงานหรือโครงการพัฒนาการทองเท่ียว ควรพิจารณา ใหครอบคลุมท้ังดานตัวแหลงทองเท่ียวการพัฒนาบริการทางการทองเท่ียวซึ่งมีประเด็นสําคัญคือ การพัฒนาบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการทองเที่ยว ระบบการสื่อความหมายในแหลงและการพัฒนากิจกรรมการทองเท่ียวรวมถึงแผนงานหรือโครงการดานการพัฒนาการตลาด ประการท่ีสามควรมีการกําหนดแผนงาน

Page 47: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

หรือโครงการเพ่ือพัฒนาสาธารณูปโภค สาธารณูปการตางๆ ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอม ด้ังเดิมของพื้นท่ีไดมาตรฐานและมีความเพียงพอตอความตองการในปจจุบันและอนาคต และประการสุดทาย ควรมีการกําหนดแผนงานหรือโครงการตางๆ ตองเปนการเพ่ิมพูนคุณภาพของแหลงทองเที่ยวในดานอนุรักษและปรับปรุงใหดีขึ้น รวมท้ังไดรับการยอมรับเห็นของจากประชาชนทุก ๆ ระดับ

9. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

จากการศึกษางานวิจัยท่ีเกี่ยวของพบวา การพัฒนาแหลงทองเที่ยวนั้นประชาชนในชุมชน

ยินดี ใหใชทรัพยากรทางการทองเท่ียว ดวยเหตุผลคือตองการใหชุมชนมีเศรษฐกิจดีขึ้นนักทองเท่ียวชาวตางประเทศตองการไดมีโอกาสมาสัมผัสกับธรรมชาติ ความอุดมสมบูรณของพืชหายาก ไดมีโอกาสเห็นสัตวปา ไดเห็นสภาพพ้ืนท่ีท่ีแปลกๆ ไดชื่นชมกับภูมิทัศนท่ีงดงาม มีสิ่งอํานวยความสะดวก และสะอาด มีความปลอดภัย และการเดินทางสะดวก และพบวาการทองเท่ียวเชิงศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นกําลังไดรับความนิยมจากชาวไทยและชาวตางชาติ โดยเฉพาะในกลุมท่ีตองการศึกษาหาความรูเกี่ยวกับวิถีชีวิตและความงดงามในศิลปวัฒนธรรมไทย สําหรับปญหาของการดําเนินการทองเท่ียวท่ีผานมามักพบปญหาในดานความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานโครงสรางพื้นฐานดานความปลอดภัยของนักทองเท่ียว ดานการขาดแคลนงบประมาณ ดานบุคลากรในอุตสาหกรรมการบริการ ดานการบริหารจัดการในชุมชน ดานการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีในสวนของแนวทางการพัฒนานั้น ไดเสนอแนะแนวทาง คือ ประการแรก การพัฒนาโครงสรางดานวิชาการและบริการ ประการที่สอง การพัฒนาบุคคลากร ประการท่ีสาม การพัฒนาตลาด ประการท่ีสี่ การพัฒนาและปรับปรุงพ้ืนท่ี และประการท่ีหา การพัฒนาโครงสรางระบบพื้นฐานและจากการศึกษาศักยภาพและปจจัยใน จังหวัดสุรินทรเพ่ือสงเสริม โครงการโลกใหมของชางอยางยั่งยืนพบวา นโยบายของ จังหวัดสุรินทร ตองการบูรณาการหมูบานชาง ใหเปนแหลงทองเท่ียวแตเฉพาะหมูบานชางเพียงอยางเดียวนั้นไมสามารถพัฒนาขึ้นมาเปน แหลงทองเท่ียวแบบยั่งยืนไดเพราะวาไมมีศักยภาพและปจจัยเพียงพอในการชักจูงใจนักทองเท่ียว เขามาทองเท่ียวอยางถาวรไดดังนั้นตองศึกษาบริบทของชุมชนเพื่อท่ีจะเชื่อมโยงตอยอดในปจจัยเกื้อหนุนท่ีจะโนมนาวใหนักทองเที่ยวตัดสินใจมาทองเท่ียวไดมากขึ้นกวาท่ีเปนอยู

Page 48: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

(นพรัตน ปานอุทัย, ศรีวิไล สุขศรีการ, ศุภนุช ตวงรัตนสิริกุล, ออยใจ จีบฝก, 2547) ศึกษาเรื่องการจัดการธุรกิจทองเที่ยวแบบย่ังยืน กรณีศึกษาหมูบานปลายโพงพาง อําเภออัมพวา จังหวัด สมุทรสงคราม โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความเปนไปไดทางดานการพัฒนาการทองเท่ียวแบบยั่งยืนของหมูบานปลายโพงพาง ในเขตพ้ืนที่อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามโดยกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา ประกอบดวย ผูประกอบการท่ีเขารวมโครงการหมูบานทองเท่ียวทรงไทยแบบโฮมสเตยของกํานันธวัช บุญพัดม ีจํานวน 17 คน ชาวบานในหมูบานปลายโพงพางจํานวน 82 คน นักทองเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวตางชาติท่ีเขามารับบริการในชวงเดือนธันวาคม2546 ถึงมีนาคม 2547 จํานวน 118 คน รวมกลุมตัวอยางท้ังสิ้น 217 ตัวอยาง เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา ธุรกิจทองเท่ียวบานทรงไทยแบบโฮมสเตยของหมูบาน ปลายโพงพางแหงนี้ยังไมถือวาเปนธุรกิจทองเท่ียวแบบยั่งยืน หากจะจัดการธุรกิจทองเท่ียวบานทรงไทยแบบโฮมสเตยของหมูบานปลายโพงพางนี้ใหเปนธุรกิจทองเท่ียวแบบยั่งยืน ตองไดรับการสนับสนุนจากทางภาครัฐ คนในชุมชนทองถิ่น ตลอดจนนักทองเท่ียวผูมาเยือน

(ขวัญขาว พูลเพ่ิม, ศศิธร เจตานนท, เอื้องบุญ อุนะรัตน, 2550) ไดทําการศึกษาเร่ือง การวางแผนการตลาดเพ่ือสงเสริมการทองเท่ียวตลาดน้ําอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ใน ป พ.ศ.2551 โดยมีจัดมุงหมายเพ่ือเพ่ิมยอดจํานวนนักทองเท่ียวท่ีมาเท่ียวตลาดน้ําอัมพวาจากป 2549จํานวน 900,000 คนตอป ใหตรงตามเปาหมายท่ีต้ังไว คือ 1,000,0000 คนตอป ในป 2551 เพ่ือสรางรายไดในแตละครัวเรือนจากปท่ีผานมาใหเพ่ิมขึ้นในป 2551 เปน 90,000 บาทตอป คิดเปนรอยละ 25 เพ่ือเพ่ิมผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวท่ีมีอยูแลวใหมากขึ้น เพ่ือเปนชองทางเลือกใหมใหกับนักทองเท่ียวในการตัดสินใจเลือกแหลงทองเท่ียวเพ่ือสัมผัสกับอดีตและความเปนชุมชนอันเกาแกอีกแหงหนึ่งท่ีมีระยะทางไมไกลจากกรุงเทพมหานคร แลวเพ่ือตองการพัฒนาตลาดน้ําอัมพวาใหเปนตลาดน้ําท่ีไดมาตรฐาน เปนตลาดน้ําดีเดนของจังหวัดสมุทรสงครามในป 2551 จากผลการศึกษาพบวาตลาดน้ําอัมพวาเปนตลาดทองเท่ียวสําหรับชาวไทยมากกวาชาวตางประเทศและปญหาท่ีพบคือ การขาดการประชาสัมพันธเกี่ยวกับแหลงทองเท่ียว สุขอนามัยดานสุขา และเม่ือมาทองเท่ียวเกิดการเบียดเสียด เนื่องจากพ้ืนท่ีแคบและมีนักทองเท่ียวจํานวนมากเกินพ้ืนที่จะรับได

(จาตุรนต ภักดีวานิช, นุชเนตร กาฬสมุทร, วีรญา บริบูรณ, 2551) ศึกษาเรื่องการศึกษาความคิดเห็นของนักทองเท่ียวชาวไทยท่ีมีตอการพัฒนา การทองเท่ียวเชิงอนุรักษ อําเภออัมพวาจังหวัดสมุทรสงคราม มีจุดมุงหมายเพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวไทยท่ีมีตอการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม กลุมตัวอยาง คือนักทองเท่ียวชาวไทย ซึ่งไดรับการเลือกแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) ที่เดินทางมาทองเท่ียว ณ อําเภออัมพวา จํานวน400 คน นักทองเท่ียวไดตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอการทองเท่ียวในดานแหลงทองเท่ียว

Page 49: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ดานบริหารจัดการ ดานการมีสวนรวม และดานกิจกรรมและกระบวนการใหการศึกษา จํานวน 44ขอ ผูวิจัยเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักทองเท่ียวจําแนกตามเพศ อายุ รายไดตอ เดือน อาชีพและความถี่ในการเดินทางมาทองเท่ียว

(จันทิมา อภิวิสุทธิรักษ, ปรียาพร ดิสสะมาน, 2552) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมและปจจัยดานการทองเท่ียว ท่ีมีผลตอการตัดสินใจใชบริการบานพักโฮมสเตย ตลาดน้ําอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ของนักทองเท่ียวชาวไทย มีจุดมุงหมายเพ่ือศึกษาพฤติกรรมและปจจัย ที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการบานพักโฮมสเตย ตลาดน้ําอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ของนักทองเท่ียว ชาวไทย กลุมตัวอยางท่ีใชในการสํารวจคือ นักทองเท่ียวชาวไทยท่ีเดินทางมาใชบริการบานพักโฮมสเตย ตลาดน้ําอัมพวาในระหวางเดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2551 เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือแบบสอบถามที่เก็บขอมูลโดยวิธีการสุมแบบเฉพาะเจาะจง

(ประทีป นวลเจริญ 2548) ไดทําวิจัยเรื่อง “การศึกษาศักยภาพของทรัพยากรการทองเท่ียวเชิงธรรมชาติทางบกของ จ.ภูเก็ต พังงา และกระบ่ี” พบวา ศักยภาพของทรัพยากรการทองเท่ียวทางธรรมชาติทางบกของ จ.ภูเก็ต พังงา และกระบ่ี ใน จ.ภูเก็ต มีศักยภาพสูง 8 ตําบล ใน จ.พังงา มีศักยภาพ สูง 17 ตําบล ใน จ.กระบ่ี มีศักยภาพสูง 22 ตําบล จ.กระบ่ีมีศักยภาพในทรัพยากร การทองเท่ียวธรรมชาติทางบกสูงท่ีสุด ประชาชนในชุมชนมีความตองการใหใชทรัพยากรทางธรรมชาติ ทางบกเปนแหลงทองเท่ียวรอยละ 100 ดวยเหตุผลคือ ตองการใหชุมชนมีเศรษฐกิจดีขึ้นสวนนักทองเท่ียวชาวไทยตองการทองเท่ียวแหลงธรรมชาติทางบก รอยละ 91.33 นักทองเที่ยวชาวตางประเทศตองการทองเท่ียวแหลงธรรมชาติทางบกรอยละ 62.25 โดยมีเหตุผลในการทองเท่ียว ท่ีเหมือนกันดังนี้ ไดมีโอกาสมาสัมผัสกับธรรมชาติท่ีคนสวนใหญไมเคยพบเห็นความอุดมสมบูรณมีสิ่งอํานวยความสะดวก และสะอาด มีความปลอดภัยและการเดินทางสะดวกตามลําดับ

(รสิกา อังกูรและคณะ 2549) ไดทําการวิจัยเรื่องการพัฒนาศักยภาพการทองเท่ียวเชิงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น พบวาการทองเท่ียวเชิงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นกําลังไดรับความนิยมจากชาวไทยและชาวตางชาติ โดยเฉพาะในกลุมท่ีตองการศึกษาหาความรูเกี่ยวกับวิถีชีวิต และความงดงามในศิลปวัฒนธรรมไทย สําหรับรูปแบบท่ีเปนท่ีนิยมในกลุมนักทองเท่ียว สวนใหญเปนการเท่ียวชมสถานท่ีสําคัญทางประวิติศาสตรและโบราณสถานการ เท่ียวชมศิลปวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น และการเท่ียวชมความงดงามของศิลปหัตถกรรมไทย ท่ีเปนเอกลักษณของทองถิ่น แตการดําเนินการดานการทองเท่ียวท่ีผานมาแตละจังหวัดไดแก ปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปญหาโครงสรางพ้ืนฐาน ปญหาความปลอดภัยของนักทองเท่ียว ปญหาการขาดแคลนงบประมาณในการปรับปรุงและการทองเท่ียวของจังหวัด

Page 50: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

(ศรีไพร พริ้งเพราะ 2547) ทําวิจัยเร่ืองการพัฒนาการทองเท่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของชุมชน: บูรณาการการจัดการแสดงของชางในบานตากลาง ต.กระโพ อ.ทาตูม จ.สุรินทร พบวาพัฒนาการทองเท่ียวในหมูบานตากลางแบงออกเปน 2 ชวงเวลาชวงแรกกอนป พ.ศ.2538 และชวงที่สองป พ.ศ.2538-ปจจุบัน เปนการพัฒนาเพ่ือตอบรับกับนโยบายของรัฐท่ีตองการขยายแหลงทองเที่ยวและกระจายรายไดไปสูทองถิ่น อีกท้ังยังสามารถฟนฟูวัฒนธรรมใหคงความเปนเอกลักษณไว โดยผูท่ีเกี่ยวของในการผลักดันใหมีการจัดแสดง ของชางในหมูบานมีทั้งหนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชนและประชาชนทองถิ่น ที่เห็นวาหมูบานมีศักยภาพในการจัดแสดงชางได แบบการจัดการทองเท่ียวมี 2 แบบคือ 1) การแสดง ของชางเพ่ือตอบสนองนักทองเท่ียวชาวไทยและชาวเอเชีย 2) การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ดวยการชมวิถีชีวิตของคนในชุมชนสําหรับนักทองเท่ียวชาวตะวันตก การพัฒนาการทองเท่ียว ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม เชน การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธทางสังคมโดยเฉพาะระหวางคนในชุมชนและระหวางนักทองเท่ียวกับคนในชุมชน

(รุงรัตน หัตถกรรม 2545) วิจัยเร่ือง แนวทางการพัฒนาหมูบานทอผาไหม ต.นาโพธิ์ อ.นาโพธิ์.บุรีรัมย เปนแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรม มีแนวทางการพัฒนาหมูบานทอผาไหมใหเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมอยู 4 แนวทาง คือ 1) การพัฒนาดานสิ่งอํานวยความสะดวก 2) การจัดองคกรทางดานการทองเท่ียวของชุมชน 3) การพัฒนาความพรอมดานบุคลากร 4) การจัดรายการนําเที่ยวของชุมชน (ทองยุน บุตรโสภา 2547) ไดทําการศึกษาเร่ือง การจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนอยางย่ังยืน: กรณีศึกษาทาดานโฮมสเตย ตําบลหินต้ัง อําเภอเมืองจังหวัดนครนายก พบวา ชุมชนมีการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศและมีปจจัยภายในของการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ โดยชุมชน ไดแก การสรางบรรยากาศใหเกิดความอบอุนแกนักทองเที่ยว การบริการ และโปรแกรม การทองเที่ยวท่ีมีอิทธิพลตอความพึงพอใจของนักทองเท่ียว ในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชน เนื่องจากวาการสรางบรรยากาศใหเกิดความอบอุนทําใหนักทองเท่ียวรูสึกถึงความเปนกันเองของเจาของบานไมไดรูสึกวาตนเปนคนแปลกหนา กอใหเกิดความพึงพอใจ นักทองเท่ียว มีความพึงพอใจท่ีไดรับการบริการในดานการใหความรูแกนักทองเท่ียว การบริการขั้นพ้ืนฐานตลอดจนการอํานวยความสะดวกเปนอยางมาก และโปรแกรมการทองเท่ียวท่ีมีความนาสนใจและเหมาะสมในเ ร่ืองราคา และสิ่งอํานวยความสะดวก ซึ่งปจจัยท้ังสามสงผลตอความพึงพอใจ ของนักทองเท่ียว และนําไปสูการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนอยางย่ังยืน

Page 51: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เนื่องดวยคณะผูจัดทําไดนําแนวคิดและทฤษฎีของ ชิดจันทร หังสสูตและฉลองศรี พิมลสมพงศ เปนแนวคิดท่ีเกี่ยวกับปจจัยดานการจัดการทองเท่ียว พฤติกรรมการทองเท่ียวและวัตถุประสงคของการเดินทางทองเท่ียว ซึ่งเกี่ยวของกับงานวิจัย คณะผูจัดทําจึงไดนําทฤษฎีของ ท้ัง 2 ทาน นํามาอางอิงเพื่อใชในงานวิจัย จึงเกิดเปนตัวแปรตนคือทรัพยากรการทองเท่ียว ซึ่งไดแก บุคคล การทองเที่ยวและท่ีพัก นํามาสูตัวแปรตามคือ มาตรฐานโฮมสเตยทั้ง 10 ดาน ซึ่งไดแก ดานท่ีพัก ดานอาหารและโภชนาการ ดานความปลอดภัย ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน ดานรายการนําเท่ียว ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม ดาน การสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตยและดานประชาสัมพันธ จึงไดเกิดเปนกรอบแนวความคิด

Page 52: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

กรอบแนวความคิด

จากการไดศึกษา ไดสรุปกรอบแนวความคิดศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดังนี้ ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ภาพท่ี 1 กรอบแนวความคิด

ทรัพยากรการทองเท่ียว 1. บุคคล 2. การทองเท่ียว 3. ท่ีพัก

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 1. ดานท่ีพัก 2. ดานอาหารและโภชนาการ 3. ดานความปลอดภัย 4. ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน 5. ดานรายการนําเท่ียว 6. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 7. ดานวัฒนธรรม 8. ดานการสรางคุณคาและมูลคาของ ผลิตภัณฑ 9. ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 10.ดานประชาสัมพันธ

Page 53: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

บทที่ 3

วิธีดําเนินงานการวิจัย

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 1.1 ประชากร

ประชากรท่ีใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ มุงศึกษาถึงศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตยหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีจํานวนประชากรท้ังหมด 545 คน ชาย257 คน หญิง 288 คน 1.2 กลุมตัวอยาง

เนื่องจากจํานวนประชากรมีจํานวนประชากรท่ีแนนอน ผูวิจัยจึงใชวิธีกําหนดขนาดตัวอยางจากการประมาณคารอยละ กรณีทราบจํานวนประชากร ดังสูตรตอไปนี้ สูตรของ Yamane

n = N 1 + Ne2

โดย n = ขนาดตัวอยางที่คํานวณได N = จํานวนประชากรท่ีทราบคา e = คาความคลาดเคลื่อนท่ีจะยอมรับได (allowable error)

แทนคา n = 545 1+545(0.05)2

กลุมตัวอยางท่ีคํานวณได เทากับ 231คน เพ่ือลดความคลาดเคลื่อน และเพ่ือความเหมาะสม ผูวิจัยจะใชขนาดของกลุมตัวอยาง เทากับ 250 คน 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือท่ีใชประกอบการทําวิจัยในคร้ังคือ แบบสอบถาม ซึ่งเปนแบบสอบถาม(Questionnaire) โดยใชแบบสอบถามแบบปลายปด (Close ended Question) และแบบสอบถามแบบปลายเปด (Open ended Question) ทําการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง แบงออกเปน 4 สวนดังนี้ท่ีสรางจากขั้นตอนตางๆ ดังนี้คือ

Page 54: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนท่ี 2 ความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเท่ียวและความพรอมของโฮมสเตยในปจจุบัน

อยางเหมาะสม สวนท่ี 3 ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศีกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลา

โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร วิเคราะหดวยคาสถิติ รอยละ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยคณะผูศึกษาไดเลือกใชวิธีตามแนวของเบสท (Best 1987 :174 อางอิงใน บุญชม ศรีสะอาด)ดังนี้

สวนท่ี 4 ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม ชั้นของคะแนนเฉลี่ย = (คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสุด) 5

= ( 4 – 1 ) 5 จํานวนอันตรภาคชั้น = 0.6

3. การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ขอมูลทุติยภูมิ รวบรวมมาจากเอกสาร ตําราเรียน งานวิจัยตางๆ ท่ีเกี่ยวของและขอมูลจากอินเตอรเน็ต เพ่ือทําความเขาใจถึงแนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของเพ่ือท่ีจะสามารถนํามาอธิบายวิเค ราะหประเด็นท่ีผู วิ จัยสนใจวิธีการ เก็บรวบร วมขอมูลกระทํา โดยการถ ายเ อกสาร การคัดลอกสรุปเนื้อหา เพ่ือนํามาใชในการวิจัย

2. ขอมูลปฐมภูมิ เปนขอมูลจากการเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือนํามาวิเคราะห ซึ่งผูวิจัยไดดําเนินการรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม ที่ไดจากการสอบถามกลุมตัวอยางจํานวน 250 ชุด จาก

1.00-1.80 หมายถึง ระดับความคิดเห็นนอยท่ีสุด 1.81-2.60 หมายถึง ระดับความคิดเห็นนอย 2.61-3.40 หมายถึง ระดับความคิดเห็นปานกลาง 3.41-4.20 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมาก 4.21-5.00 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด

Page 55: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จํานวนประชากรในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยทําการแจกแบบสอบถามในชวงระหวาง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 – กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 ดวยตนเอง

4. การวิเคราะหขอมูล ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบสํารวจ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาศักยภาพของชุมชน

ตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทั้งนี้ในการวิเคราะหและการประมวลผลการวิจัยนี้ โดยการนําแบบสอบถามที่รวบรวมไดมาดําเนินการดังนี้ 1. การตรวจสอบแบบสอบถามนําขอมูลท่ีมีความสมบูรณมาใชและคัดแยกแบบสอบถามท่ีไมสมบูรณออกจากแบบสอบถามทั้งหมด 2. การใชวิธีการเขียนรหัสบนแบบสอบถามเพื่อสามารถตรวจสอบขอมูลได จากการกรอกขอมูลลงในโปรแกรมสําเร็จรูป 3. การนําขอมูลท่ีกรอกรหัสแลวมาบันทึก จากนั้นนําไปประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ และเปรียบเทียบขอมูลดานตางๆ จากแบบสอบถาม 4. การวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ สามารถอธิบายดังนี้

การวิเคราะหขอมูลสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ในดานตางๆ ท่ีเกี่ยวกับ จํานวนประชากรในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 5. สถิติที่ใชในการวิจัย สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาดําเนินการวิเคราะหขอมูลที่มีความสอดคลองกับความมุงหมายในการศึกษา คือ การใชสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เปนสถิติเกี่ยวกับการนําเสนอขอมูล (Presentation) ในรูปของตาราง ซึ่งได คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation; S.D) รอยละ (Percentage) และความถี่ (Frequency)

Page 56: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเ ร่ืองนี้ เปนการศึกษาในเรื่องของศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตยกรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูวิจัยไดเสนอขอมูลในการวิเคราะหเพ่ืออธิบายผลและการแปลผลมาจากมาตรฐานโฮมสเตยทั้งหมด 10 ดาน โดยแบงผลนํามาวิเคราะหออกเปน 4 สวน

1. ผลการวิเคราะหขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม 2. ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเท่ียวและความพรอมของ

โฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม 3. ผลการวิเคราะหขอมูลในสวนท่ีเปนแบบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับศักยภาพของชุมชน

ตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

4. ขอเสนอแนะของสมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

1. ผลการวิเคราะหขอมูลของผูตอบแบบสอบถามสมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลา

โพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร (ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสมาชิก เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ รายไดเฉล่ียตอเดือน ระดับการศึกษา) ตารางท่ี 1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามเพศ (n=250)

เพศ จํานวน(คน) รอยละ ชาย หญิง

114 45.6 136 54.4

รวม 250 100.0

Page 57: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 1 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จําแนกเปนเพศชาย 114 คน คิดเปนรอยละ 45.6 เปนเพศหญิง 136 คน คิดเปนรอยละ 54.4

ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ (n=250) อายุ จํานวน (คน) รอยละ นอยกวา 20 ป 0 0 20-30 ป 1 0.4 31-40 4 1.6 41-50 65 26.0 51-60 109 43.6 มากกวา 60 ป 71 28.4 รวม 250 100.0

จากตารางท่ี 2 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบาน

เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เม่ือจําแนกตามอายุแลวพบวา อายุ 51-60 ป มีมากท่ีสุด จํานวน 109 คน คิดเปนรอยละ 43.6 รองลงมาคือ อายุมากกวา 60 ป จํานวน71คน คิดเปนรอยละ 28.4 นอกจากนี้กลุมอายุ 41-50 ป จํานวน 65 คน คิดเปนรอยละ 26 กลุมอายุ 31-40 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 1.6 และกลุมอายุ 20-30 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ตามลําดับ

Page 58: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพ (n=250)

สถานภาพ จํานวน(คน) รอยละ โสด 1 0.4 สมรส 248 99.2 หยา แยกกันอยู

0 1

0 0.4

รวม 250 100.0 จากตารางท่ี 3 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบาน

เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อจําแนกตามสถานภาพแลวพบวา กลุมตัวอยางสถานภาพสมรส มีมากที่สุด จํานวน 248 คน คิดเปนรอยละ 99.2 รองลงมาคือสถานภาพโสดและสถานภาพแยกกันอยู จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ตามลําดับ

ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอาชีพ (n=250) อาชีพ จํานวน(คน) รอยละ พอบาน/แมบาน 4 1.6 รับจางท่ัวไป 19 7.6 คาขาย/ธุรกิจสวนตัว 15 6.0 ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 13 5.2 เกษตรกร 198 79.2 นักเรียน/นักศึกษา 1 0.4 อื่นๆ 0 0 รวม 250 100.0

Page 59: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 4 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เม่ือจําแนกตามอาชีพพบวา กลุมตัวอยางอาชีพเกษตรกร เปนกลุมที่มีจํานวนมากท่ีสุด จํานวน 198 คน คิดเปนรอยละ 79.2 กลุมท่ีมีจํานวนรองลงมาคือกลุมตัวอยางที่ทําอาชีพรับจางท่ัวไป มีจํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ7.6 และอาชีพคาขาย/ธุรกิจสวนตัว มีจํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6 นอกจากนี้ไดแกกลุมตัวอยางอาชีพขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 5.2 อาชีพพอบาน/แมบาน จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 1.6 และนักเรียน/นักศึกษา จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 1.6 ตามลําดับ ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน (n=250) รายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน จํานวน(คน) รอยละ

นอยกวา 3,000 บาท 127 50.8 3,001-8,000 บาท 107 42.8 8,001-13,000 บาท 13 5.2 13,001-18,000 บาท 1 0.4 18,001-23,000 บาท 1 0.4 มากกวา 28,000 บาทขึ้นไป 1 0.4 รวม 250 100.0

จากตารางท่ี 5 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบาน

เหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เม่ือจําแนกตามรายไดโดยเฉลี่ย ตอเดือน พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีระดับรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือน นอยกวา 3,000 บาท จํานวน 127 คน คิดเปนรอยละ 50.8 และระดับรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือนรองลงมา ไดแก ระดับรายได 3,001-8,000 บาท จํานวน 107 คน คิดเปนรอยละ 42.8 ระดับรายได 8,001-13,000 บาท จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 5.2 และระดับรายได 13,001-18,000 บาท 18,001-23,000 บาทและ มากกวา 28,000 บาทขึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ตามลําดับ

Page 60: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา (n=250) ระดับการศึกษา จํานวน(คน) รอยละ ตํ่ากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตน 132 52.8 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 115 46.0 ระดับอนุปริญญา/ปวส. 1 0.4 ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา 2 0.8 สูงกวาระดับปริญญาตรี 0 0 อื่นๆ 0 0

รวม 250 100.0 จากตารางท่ี 6 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เมื่อจําแนกตามระดับการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางตํ่ากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนกลุมที่มีจํานวนมากท่ีสุด จํานวน 132 คน คิดเปนรอยละ 52.8 กลุมที่มีจํานวนรองลงมาคือ กลุมตัวอยางระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. จํานวน 115 คน คิดเปนรอยละ 46 และกลุมตัวอยางระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.8 และนอกจากนี้ไดแก กลุมตัวอยางระดับอนุปริญญา/ปวส. จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ตามลําดับ

Page 61: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

2. ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเท่ียวและความพรอมของ โฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเท่ียวเชิงนิเวศ จํานวน(คน) รอยละ มี 139 55.6 ไมมี 111 44.4

รวม 250 100.0 จากตารางท่ี 7 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเท่ียวเชิงนิเวศ จํานวน 139 คน คิดเปนรอยละ 55.6 และไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ จํานวน 111 คน คิดเปนรอยละ 44.4 ตารางที่ 8 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเท่ียวเชิงศาสนา จํานวน(คน) รอยละ มี 186 74.4 ไมมี 64 25.6

รวม 250 100.0 จากตารางท่ี 8 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงศาสนา จํานวน 186 คน คิดเปนรอยละ 74.4และไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงศาสนา จํานวน 64 คน คิดเปนรอยละ 25.6

Page 62: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 9 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเท่ียวเชิงประวัติศาสตร จํานวน(คน) รอยละ มี 52 20.8 ไมมี 198 79.2

รวม 250 100.0 จากตารางท่ี 9 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเท่ียวเชิงประวัติศาสตร จํานวน 52 คน คิดเปนรอยละ 20.8และไมมีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร จํานวน 198 คน คิดเปนรอยละ 79.2 ตารางที่ 10 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเท่ียวเชิงอนุรักษ จํานวน(คน) รอยละ มี 114 45.6 ไมมี 136 54.4

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 10 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเ ท่ียวเชิงอนุรักษ จํานวน 114 คน คิดเปนรอยละ 45.6และไม มีรูปแ บบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ จํานวน 136 คน คิดเปนรอยละ 54.4

Page 63: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 11 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม จํานวน(คน) รอยละ มี 158 63.2

ไมมี 92 36.8

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 11 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จํานวน 158 คน คิดเปนรอยละ 63.2และไมมีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จํานวน 92 คน คิดเปนรอยละ 36.8 ตารางที่ 12 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางกิจกรรมการทองเท่ียว (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ทองเท่ียวเชิงชุมชน จํานวน(คน) รอยละ มี 88 35.2

ไมมี 162 64.8

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 12 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีรูปแบบกิจกรรม การทองเที่ยวเชิงชุมชน จํานวน 88 คน คิดเปนรอยละ 35.2 และไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงชุมชน จํานวน 162 คน คิดเปนรอยละ 64.8

Page 64: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 13 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางพรอมท่ีจะเปดโฮมสเตย (n=250) พรอมท่ีจะเปดโฮมสเตย จํานวน(คน) รอยละ พรอม 167 66.8 ไมพรอม อื่นๆโปรดระบุ

83 0

33.2 0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 13 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวาพรอมที่จะเปดโฮมสเตย จํานวน 167 คน คิดเปนรอยละ 66.8และไมพรอมที่จะเปดโฮมสเตย จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 33.2 ตารางที่ 14 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) โทรทัศน จํานวน(คน) รอยละ มี 235 94.0 ไมมี 15 6.0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 14 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีโทรทัศน จํานวน 235 คน คิดเปนรอยละ 94 และไมมีโทรทัศน จํานวน 15 คน คดิเปนรอยละ 6

Page 65: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 15 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ตูเย็น จํานวน(คน) รอยละ มี 196 78.4 ไมมี 54 21.6

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 15 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีตูเย็น จํานวน 196 คน คิดเปนรอยละ 78.4 และไมมีตูเย็น จํานวน 54 คน คิดเปนรอยละ 21.6 ตารางที่ 16 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) เคร่ืองทําน้ําอุน จํานวน(คน) รอยละ มี 13 5.2

ไมมี 237 94.8

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 16 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีเครื่องทําน้ําอุน จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 5.2 และไมมีเครื่องทําน้ําอุน จํานวน 237 คน คิดเปนรอยละ 94.8

Page 66: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 17 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) พัดลม จํานวน(คน) รอยละ มี 245 98.0

ไมมี 5 2.0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 17 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีพัดลม จํานวน 245 คน คิดเปนรอยละ 98 และไมมีพัดลม จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 2 ตารางที่ 18 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) ท่ีนอนพรอมมุง จํานวน(คน) รอยละ มี 241 96.4

ไมมี 9 3.6

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 18 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีที่นอนพรอมมุง จํานวน 241 คน คิดเปนรอยละ 96.4 และไมมีท่ีนอนพรอมมุง จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 3.6

Page 67: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 19 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางสิ่งอํานวยความสะดวก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) (n=250) อ่ืนๆโปรดระบ ุ จํานวน(คน) รอยละ มี 0 0

ไมมี 250 100.0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 19 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีสิ่งอํานวย ความสะดวกอื่นๆนอกจากท่ีไดเกลาวมา จํานวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0 และไมมีสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆนอกจากท่ีไดเกลาวมา จํานวน 250 คน คิดเปนรอยละ 100 ตารางที่ 20 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย (n=250) ความรูเก่ียวกับโฮมสเตย จํานวน(คน) รอยละ มี 167 66.8

ไมมี 83 33.2

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 20 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย จํานวน 167 คน คิดเปนรอยละ 66.8 และไมมีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 33.2

Page 68: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 21 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยใชพาหนะ (n=250) การเดินทางมายังหมูบานเหลาโดยใชพาหนะ จํานวน(คน) รอยละ รถยนต 195 78.0 รถจักรยานยนต รถโดยสารประจําทาง อื่นๆโปรดระบุ

35 20 0

14.0 8.0 0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 21 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวาการเดินทางมายังหมูบานเ หลา โดย ใชรถยนต จํานวน 195 คน มาก ท่ีสุด คิดเ ปนรอ ยละ 78รอ งลงมาคื อรถจักรยานยนต จํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 14 และใชรถโดยสารประจําทาง จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 8 ตารางที่ 22 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางมัคคุเทศกประจําทองถิ่น (n=250) มัคคุเทศกประจําทองถิ่น จํานวน(คน) รอยละ มี 209 83.6 ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

41 0

16.4 0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 22 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีมัคคุเทศกประจําทองถิ่น จํานวน 209 คน คิดเปนรอยละ 83.6และไมมีมัคคุเทศกประจําทองถิ่น จํานวน 41 คน คิดเปนรอยละ 16.4

Page 69: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 23 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการอบรมเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน (n=250) การอบรมเร่ืองการปฐมพยาบาลเบื้องตน จํานวน(คน) รอยละ มี 244 97.6 ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

6 0

2.4 0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 23 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีการอบรมเร่ืองการปฐมพยาบาลเ บ้ืองตน จํานวน 244 คน คิดเ ปนรอยละ 97.6และไมมีการอ บรมเรื่อ ง การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 2.4 ตารางที่ 24 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น (n=250) ความรูเก่ียวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น จํานวน(คน) รอยละ มี 248 99.2 ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

2 0

0.8 0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 24 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น จํานวน 248 คน คิดเปนรอยละ 99.2 และไมมีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 0.8

Page 70: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 25 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของท่ีระลึก (n=250) ผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนาย ของที่ระลึก จํานวน(คน) รอยละ

มี 235 94.0 ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

15 0

6.0 0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 10 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามีผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึก จํานวน 235 คน คิดเปนรอยละ 94และไมมีผลิตภัณฑ จากชุมชนและรานจําหนายของท่ีระลึก จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 6 ตารางที่ 26 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางการประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชน (n=250) การประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน จํานวน(คน) รอยละ มี 200 80.0 ไมมี อื่นๆโปรดระบุ

50 0

20.0 0

รวม 250 100.0 จากตารางที่ 26 ผลของการศึกษาพบวากลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวา สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อํา เภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สวนใหญคิดวามี การประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชนจํานวน 200 คน คิดเปนรอยละ 80และไม มีการประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชน จํานวน 50 คน คิดเปนรอยละ 20

Page 71: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

3. ผลการวิเคราะหความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีท้ังหมด 10 ดานดังนี ้

ตารางที่ 27 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ

โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานท่ีพัก (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ) มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด

X

S.D.

ระดับความคิดเห็น

1. ดานท่ีพัก 1. ลักษณะของบานพักท่ีแบงเปนสัดสวน 10 52 36.4 0.8 0.8 3.70 0.691 มาก

2. มีท่ีพักสําหรับนักทองเท่ียวท่ีสะอาดและสบาย 6.4 59.6 32.4 1.6 0 3.71 0.607 มาก 3. หองอาบน้ําและหองสวมท่ีสะอาดมิดชิด 7.2 49.6 42 1.2 0 3.63 0.635 มาก รวม 3.68 0.644 มาก

Page 72: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 27 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานท่ีพัก กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ มีท่ีพักสําหรับนักทองเท่ียวท่ีสะอาดและสบาย ( = 3.71) อันดับที่ 2 คือ ลักษณะของบานพักท่ีแบงเปนสัดสวน ( = 3.70) และอันดับท่ี 3 คือ หองอาบน้ําและหองสวมท่ีสะอาดมิดชิด ( = 3.63) ตามลําดับ

Page 73: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 28 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ) มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด X S.D.

ระดับความคิดเห็น

2. ดานอาหารและโภชนาการ 1. ชนิดของอาหารและวัตถุดิบท่ีใชประกอบอาหาร 13.6 53.6 32 0.8 0 3.80 0.671 มาก 2. มีภาชนะท่ีบรรจุอาหารท่ีสะอาด ถูกสุขอนามัย 18 50 30.4 1.6 0 3.84 0.725 มาก

3. หองครัวและอุปกรณท่ีใชในครัว มีความสะอาด 17.2 48.4 32 2 0.4 3.80 0.755 มาก รวม 3.81 0.717 มาก

Page 74: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 28 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ มีภาชนะท่ีบรรจุอาหารท่ีสะอาด ถูกสุขอนามัย ( = 3.84) อันดับท่ี 2 คือ ชนิดของอาหารและวัตถุดิบท่ีใชประกอบอาหาร รวมท้ังหองครัวและอุปกรณท่ีใช ในครัว มีความสะอาด ( = 3.80) ตามลําดับ

Page 75: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 29 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ) มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด X S.D.

ระดับความคิดเห็น

3. ดานความปลอดภัย 1. การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล เบ้ืองตน

22.4

49.6

26.8

1.2

0

3.93

0.733

มาก

2. การจัดระบบดูแลความปลอดภัย 32.4 47.6 19.2 0.8 0 4.12 0.733 มาก รวม 4.03 0.733 มาก

Page 76: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 29 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ การจัดระบบดูแลความปลอดภัย ( = 4.12) อันดับท่ี 2 คือการเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน( = 3.93) ตามลําดับ

Page 77: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 30 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ)

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด X

S.D. ระดับความคิดเห็น 4. ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิก ในครัวเรือน 1. การตอนรับและการสรางความคุนเคย 2. การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิต ของชุมชน 3. ความเปนมิตรและรอยย้ิมของเจาของบาน 4. การสรางความประทับใจใหกับนักทองเท่ียว

26.8

29.6 25.6 25.2

56

54.4 63.2 52.8

17.2

15.6 10.8 21.2

0

0.4 0.4 0.8

0

0 0 0

4.10

4.13 4.14 4.02

0.658

0.673 0.602 0.705

มาก

มาก มาก มาก

รวม

4.10 0.660 มาก

Page 78: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 30 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ ความเปนมิตรและรอยยิ้มของเจาของบาน( = 4.14) อันดับท่ี 2 คือ การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิตของชุมชน ( = 4.13) อันดับท่ี 3 คือ การตอนรับและการสรางความคุนเคย ( = 4.10) และการสรางความประทับใจใหกับนักทองเท่ียว ( = 4.02) ตามลําดับ

Page 79: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 31 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานรายการนําเท่ียว (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ) มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด X S.D.

ระดับความคิดเห็น

5. ดานรายการนําเท่ียว 1. มีรายการนําเท่ียวที่ชัดเจน สําหรับนักทองเท่ียว ซึ่งตองผานการยอมรับจากชุมชน 2. มีขอมูลกิจกรรมทองเท่ียวท่ีหลากหลาย 3. มีการประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่นนําเท่ียว 4. การใหความรูดานการนําเที่ยวในหมูบาน

5.6 8.8 8.4 12.8

44.4 51.2 50

58.4

48 36.8 38 26

2 3.2 3.2 2.4

0 0

0.4 0

3.54 3.66 3.63 3.82

0.634 0.684 0.701 0.675

ปานกลาง มาก มาก มาก

รวม

3.66 0.674 มาก

Page 80: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 31 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานรายการนําเท่ียว กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ การใหความรูดานการนําเที่ยวในหมูบาน ( = 3.82) อันดับท่ี 2 คือ มีขอมูลกิจกรรมทองเท่ียวท่ีหลากหลาย ( = 3.66) อันดับที่ 3 มีการประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่นนําเที่ยว ( = 3.63) และมีรายการนําเท่ียวที่ชัดเจน สําหรับนักทองเท่ียวซึ่งตองผาน การยอมรับจากชุมชน ( = 3.54) ตามลําดับ

Page 81: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 32 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ) มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด

X S.D.

ระดับความคิดเห็น

6. ดานทรัพยากรรรมชาติและส่ิงแวดลอม 1. ชุมชนมีแหลงทองเท่ียวภายในชุมชนหรือแหลงทองเท่ียวใกลเคียง 2. มีการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยวและภาวะโลกรอน

9.6 16.4

57.2 54

32.4 27.6

0.8 2

0 0

3.76 3.85

0.628 0.706

มาก มาก

รวม 3.81 0.667 มาก

Page 82: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 32 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ มีการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยวและภาวะโลกรอน ( = 3.85) อันดับท่ี 2 คือ ชุมชนมีแหลงทองเท่ียวภายในชุมชนหรือแหลงทองเท่ียวใกลเคียง ( = 3.73) ตามลําดับ

Page 83: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 33 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ) มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด

X S.D.

ระดับความคิดเห็น

7. ดานวัฒนธรรม 1. การดํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น 2. การรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรประจําวัน 3. มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรมทองถิ่น

24.4 23.2 21.6

45.6 54.4 60.8

28.4 21.6 17.2

1.2 0.8 0.4

0 0 0

3.93 4.00 4.04

0.760 0.694 0.636

มาก มาก มาก

รวม 3.99 0.697 มาก

Page 84: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 33 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรมทองถิ่น ( = 4.04) อันดับท่ี 2 คือการรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรประจําวัน( = 4.00) อันดับที่ 3 คือการดํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ( = 3.93) ตามลําดับ

Page 85: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 34 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ)

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด X

S.D. ระดับความคิดเห็น 8. ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 1. มีผลิตภัณฑจากชุมชนเพ่ือเปนของท่ีระลึก/ของฝากหรือจําหนายแกนักทองเที่ยว 2. มีผลิตภัณฑท่ีสรางคุณคาและมูลคาท่ีเปนเอกลักษณของชุมชน

22.8

27.2

56.4

51.6

20.4

20.8

0.4

0.4

0

0

4.02

4.06

0.670

0.703

มาก

มาก รวม 4.04 0.687 มาก

Page 86: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 34 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและมูลคาผลิตภัณฑกลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ มีผลิตภัณฑท่ีสรางคุณคาและมูลคาท่ีเปนเอกลักษณของชุมชน ( = 4.06) อันดับท่ี 2 คือ มีผลิตภัณฑจากชุมชนเพ่ือเปนของที่ระลึก/ของฝากหรือจําหนายแกนักทองเท่ียว ( = 4.02) ตามลําดับ

Page 87: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 35 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ)

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด X

S.D. ระดับความคิดเห็น

9. ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 1. ชุมชนมีการใหความรูดานโฮมสเตย 2. มีการจัดตั้งคณะกรรมการกลุมโฮมสเตย 3. มีการตั้งกฎ กติกาในการทํางานของคณะกรรมการ

23.6 28.8 19.6

61.6 53.2 63.6

12.4 16.4 15.6

2.4 1.6 1.2

0 0 0

4.06 4.09 4.02

0.674 0.714 0.634

มาก มาก มาก

รวม 4.06 0.674 มาก

Page 88: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 35 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา อันดับที่ 1 คือ มีการจัดต้ังคณะกรรมการกลุมโฮมสเตย ( = 4.09) อันดับท่ี 2 คือ ชุมชนมีการใหความรูดานโฮมสเตย ( = 4.06) อันดับท่ี 3 คือมีการต้ังกฎ กติกาในการทํางานของคณะกรรมการ ( = 4.02) ตามลําดับ

Page 89: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตารางที่ 36 แสดงจํานวนและรอยละตามความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานประชาสัมพันธ (n=250)

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับคะแนน(รอยละ)

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด X

S.D. ระดับความคิดเห็น 10. ดานประชาสัมพันธ 1. มีเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ ประชาสัมพันธการทองเท่ียว ของชุมชน 2. มีการเผยแพรประชาสัมพันธ 3. มีหนวยงานภาครัฐบาล ชวยในการประชาสัมพันธ

6.4 5.6 6.4

47.6 56.4 69.6

42.8 35.2 22.8

3.2 2.4 1.2

0 0.4 0

3.57 3.64 3.81

0.662 0.644 0.553

มาก มาก มาก

รวม 3.67 0.620 มาก

Page 90: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

จากตารางท่ี 36 พบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานประชาสัมพันธ กลุมตัวอยาง มีความคิดเห็นวา อันดับท่ี 1 คือ มีหนวยงานภาครัฐบาล ชวยในการประชาสัมพันธ ( = 3.81) อันดับท่ี 2 คือ มีการเผยแพรประชาสัมพันธ ( = 3.64) อันดับท่ี 3 คือมีเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ ประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชน ( = 3.57) ตามลําดับ

4. ขอเสนอแนะของสมาชิกหมูบานเหลาเก่ียวกับศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

สมาชิกของหมูบานเหลามีขอเสนอแนะเกี่ยวกับศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งสรุปได ดังนี ้ขอเสนอแนะจากผูตอบแบบสอบถาม

1. อยากใหมีนักทองเท่ียวเขามาพักโฮมสเตยใหมากขึ้น 2. อยากใหมีนักทองเท่ียวเขามาเที่ยวในหมูบานมากขึ้น 3. อยากใหผูท่ีมีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตยเขามาอบรมใหชาวบานบอยๆ

4. อยากใหภาครัฐเขามาใหความรูแกคนในชุมชนบาง

Page 91: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

บทท่ี 5

สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่องของศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษามีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ สมาชิกของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งประกอบดวยสมาชิกจํานวน 545 คน ในการเก็บรวบรวมขอมูลผูศึกษาไดทําการสุมตัวอยางแบบสอบถามจํานวน 250 ชุดตัวอยาง ในเดือนกุมภาพันธ 2555

ผลการศึกษาท่ีได จากการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของสมาชิกหมูบานเหลา ท่ีมีตอเรื่องศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สรุปผลไดดังนี้

1. ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม จากการศึกษาพบวา สมาชิกในหมูบานเหลาท่ีตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง

จํานวน 136 คน (รอยละ 54.4) เพศชาย จํานวน 114 คน (รอยละ 45.6) สวนใหญมีอายุระหวาง 51-60 ป จํ า น ว น 109 ค น ( ร อ ย ล ะ 43.6) ส ถ า น ภ า พ ส ว น ใ ห ญ ส ม ร ส จํ า น ว น 248 ค น (รอยละ 99.2) อาชีพสวนใหญ คือ เกษตรกร จํานวน 198 คน (รอยละ 79.2) รายไดเฉลี่ยตอเดือนสวนใหญนอยกวา 3,000 บาท จํานวน 127 คน (รอยละ 42.8) ระดับการศึกษา อยูในระดับต่ํากวามัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 132 คน (รอยละ 52.8)

2. ความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเท่ียวและความพรอมของโฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม

Page 92: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวารูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียว อันดับที่ 1 คือ ทองเท่ียว เชิงศาสนา จํานวน 186 คน คิดเปนรอยละ 74.4 อันดับที่ 2 คือ ทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม จํานวน 158 คน คิดเปนรอยละ 63.2 และอันดับท่ี 3 คือ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ จํานวน 139 คน คิดเปน รอยละ 55.6 มีความพรอมท่ีจะเปดโฮมสเตย จํานวน 167 คน คิดเปนรอยละ 66.8 มีสิ่งอํานวยความสะดวก อันดับท่ี 1 คือ พัดลม จํานวน 245 คน คิดเปนรอยละ 98 อันดับที่ 2 คือ ที่นอนพรอมมุง จํานวน 241 คน คิดเปนรอยละ 96.4 และอันดับที่ 3 คือ โทรทัศน จํานวน 235 คน คิดเปนรอยละ 94 มีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตย จํานวน 167 คน คิดเปนรอยละ 66.8 การเดินทางมายังหมูบานเหลา โดยรถยนต จํานวน 195 คน คิดเปนรอยละ 78 มีมัคคุเทศกประจําทองถิ่น จํานวน 209 คน คิดเปนรอยละ 83.6 มีการอบรมเร่ืองการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน จํานวน 244 คน คิดเปนรอยละ 97.6 มีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น จํานวน 248 คน คิดเปนรอยละ 99.2 มีผลิตภัณฑ จากชุมชนและรานจําหนายของท่ีระลึก จํานวน 235 คน คิดเปนรอยละ 94 และมีการประชาสัมพันธการทองเที่ยวของชุมชน จํานวน 200 คน คิดเปนรอยละ 80

3. ความคิดเห็นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีท้ังหมด 10 ดานดังนี้

1. ดานท่ีพัก กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานที่พัก อันดับท่ี 1 คือ มีท่ีพักสําหรับนักทองเท่ียวท่ีสะอาดและสบาย อันดับที่ 2 คือ ลักษณะของบานพักท่ีแบงเปนสัดสวนและอันดับท่ี 3 คือ หองอาบน้ําและหองสวมท่ีสะอาดมิดชิด ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

Page 93: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

2. ดานอาหารและโภชนาการ กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอาหารและโภชนาการ อันดับท่ี 1 คือ มีภาชนะที่บรรจุอาหารที่สะอาด ถูกสุขอนามัย อันดับท่ี 2 คือ ชนิดของอาหารและวัตถุดิบท่ีใชประกอบอาหาร รวมท้ังหองครัวและอุปกรณท่ีใชในครัว มีความสะอาด ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

3. ดานความปลอดภัย กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานความปลอดภัย อันดับท่ี 1 คือ การจัดระบบดูแลความปลอดภัย อันดับท่ี 2 คือ การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตน ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

4. ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน อันดับท่ี 1 คือ ความเปนมิตรและรอยยิ้มของเจาของบาน อันดับท่ี 2 คือ การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิตของชุมชน อันดับที่ 3 คือ การตอนรับและการสรางความคุนเคยและการสรางความประทับใจใหกับนักทองเที่ยว ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

5. ดานรายการนําเท่ียว กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานรายการนําเท่ียว อันดับท่ี 1 คือ การใหความรูดานการนําเท่ียวในหมูบาน อันดับที่ 2 คือ มีขอมูลกิจกรรมทองเท่ียวท่ีหลากหลาย อันดับท่ี 3 คือ มีการประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่นนําเที่ยวและมีรายการนําเท่ียว

Page 94: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ท่ีชัดเจน สําหรับนักทองเที่ยวซึ่งตองผานการยอมรับจากชุมชน ตามลําดับ โดยรวมระดับ ความคิดเห็นอยูในระดับมาก

6. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อันดับที่ 1 คือ มีการดูแลรักษาแหลงทองเท่ียวและภาวะโลกรอน อันดับท่ี 2 คือ ชุมชนมีแหลงทองเท่ียวภายในชุมชนหรือแหลงทองเที่ยวใกลเคียง ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

7. ดานวัฒนธรรม กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานวัฒนธรรม อันดับท่ี 1 คือ มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรมทองถิ่น อันดับท่ี 2 คือการรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรประจําวัน อันดับท่ี 3 คือการดํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

8. ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการสรางคุณคาและมูลคาผลิตภัณฑ อัน ดับท่ี 1 คือ มีผลิตภัณฑ ท่ีส รางคุณค าและมูลคาท่ี เปน เอกลักษ ณ ของชุมชน อันดับท่ี 2 คือ มีผลิตภัณฑจากชุมชนเพ่ือเปนของท่ีระลึก/ของฝากหรือจําหนาย แกนักทองเท่ียว ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

Page 95: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

9. ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย อันดับท่ี 1 คือ มีการจัดต้ังคณะกรรมการกลุมโฮมสเตย อันดับท่ี 2 คือ ชุมชน มีการใหความรูดานโฮมสเตย อันดับท่ี 3 คือมีการตั้งกฎ กติกาในการทํางานของคณะกรรมการ ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

10. ดานประชาสัมพันธ กลุมตัวอยางสวนใหญคิดเห็นวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา

หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ดานประชาสัมพันธ อันดับท่ี 1 คือ มีหนวยงานภาครัฐบาล ชวยในการประชาสัมพันธ อันดับที่ 2 คือ มีการเผยแพรประชาสัมพันธ อันดับท่ี 3 คือมีเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ ประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชน ตามลําดับ โดยรวมระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก

ขอเสนอแนะจากการศึกษา

จากการศึกษาพบวาศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งผูทําการศึกษามีขอเสนอแนะ แกสมาชิกในหมูบานเหลา ดังนี้

1. ควรมีการประชาสัมพันธเร่ืองโฮมสเตยและการจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง เพ่ือดึงดูดนักทองเท่ียวใหกลับมาเท่ียวซ้ํา

2. ควรมีการฝกอบรมเร่ืองการใหบริการดานที่พักโฮมสเตยแกนักทองเท่ียวอยางสม่ําเสมอ 3. ควรมีปายท่ีบอกทางไปยังสถานท่ีทองเท่ียวตางๆในหมูบานท่ีชัดเจนและมากกวานี้ 4. อยากใหสมาชิกในหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด

สกลนคร รักษาความสะอาดในหมูบานอยางนี้ตอไปเรื่อยๆและพัฒนาใหดียิ่งขึ้น 5. จากการศึกษาพบวาสมาชิกในชุมชน มีความตองการท่ีจะเพ่ิมศักยภาพของชุมชน

ตอการเปนโฮมสเตยไปพรอมๆกับหนวยงานและพรอมที่จะใหความรวมมือเปนอยางมาก

Page 96: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

6. ควรมีการเผยแพรผลงานวิจัยและนําผลการวิจัยไปปฏิบัติจริง เ พ่ือเพ่ิมศักยภาพ ของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ใหมีมาตรฐานและสรางความพึงพอใจแกนักทองเท่ียวมากขึ้น

7. ควรมีการใหความรูเรื่องโฮมสเตยแกสมาชิกในหมูบานใหมากขึ้นและสรางความเขาใจในการใหบริการแกนักทองเที่ยว อีกท้ังสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง

ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยคร้ังตอไป

1. ศึกษาและวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT) ของตัวหมูบานเพ่ือนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา มาวิเคราะหใหนําไปสูแนวทางการพัฒนาท่ีพักโฮมสเตยของหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ตอไป

Page 97: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เอกสารและอางอิง

Page 98: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เอกสารและอางอิง การทองเท่ียวแหงประเทศไทย. 2529. อุตสาหกรรมทองเท่ียว. กรุงเทพมหานคร. เกรียง ฐิติจําเริญพร. 2545. บานพักแรม: Homestay: Chambre D’ Hote. จุลสารการทองเท่ียว.

21(3), หนา 5. ขวัญขาว พูลเพ่ิม, ศศิธร เจตานนท, เอื้องบุญ อุนะรัตน. 2550. การวางแผนการตลาดเพื่อสงเสริม

การทองเท่ียวตลาดน้ําอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ในป พ.ศ. 2551.การศึกษาคนควาดวยตนเอง ศศ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

จาตุรนต ภักดีวานิช, นุชเนตร กาฬสมุทร, วีรญา บริบูรณ. 2551. การศึกษาความคิดเห็นของ

นักทองเท่ียวชาวไทยท่ีมีตอการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ อําเภออัมพวาจังหวัดสมุทรสงคราม. การศึกษาคนควาดวยตนเอง ศศ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร,พิษณุโลก.

จันทิมา อภิวิสุทธิรักษ, ปรียาพร ดิสสะมาน. 2552. พฤติกรรมและปจจัยดานการทองเท่ียวท่ีมีผลตอ การตัดสินใจใชบริการบานพักโฮมสเตยตลาดน้ําอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ของ

นักทองเท่ียวชาวไทย. การศึกษาคนควาดวยตนเอง ศศ.ม.,มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. ฉลองศรี พิมลสมพงษ. 2542. การวางแผนและพัฒนาตลาดการทองเท่ียว. กรุงเทพมหานคร:

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. อางถึงใน พิทยาวรรณ วอนเพียร. 2545. “กลยุทธการโฆษณาโครงการเท่ียวทั่วไทยไปไดทุกเดือนของการทองเท่ียวแหง ประเทศไทย (ททท.).” วิทยานิพนธปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา นิเทศศาสตรการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย.

ชิดจันทร หังสสูต.2532.หลักและการจัดการอุตสาหกรรมการทองเท่ียว.พิมครั้งท่ี7 : หนา 1-2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ชูวิทย ศิริเวชกุล. 2539. การจัดโฮมสเตย. จุลสารการทองเที่ยว. 20(3): 43-49.

Page 99: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เอกสารและอางอิง (ตอ) ชูวิทย ศิริเวชกุล. 2539. การทองเท่ียวเชิงชุมชนและการจัด Homestay. จุลสารการทองเที่ยว.

20(2): 52-56. ตุย ชุมสาย, ม.ล. (2518). หลักวิชาการทองเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: แพรพิทยา. ทองยุน บุตรโสภา. (2547). การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนอยางย่ังยืน: กรณีศึกษาทา

ดานโฮมสเตย ตําบลหินต้ัง อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร.

นิคม จารุมณี. (2536). การทองเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมทองเท่ียว. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ

โอ. เอส. พร้ินติ้ง. เฮาส.

นพรัตร ปานอุทัย, ศรีวิไล สุขศรีการ, ศุภนุช ตวงรัตนสิริกุล, ออยใจ จีบฝก. 2547. การจัดการธุรกิจ ทองเท่ียวแบบย่ังยืน กรณีศึกษา หมูบานปลายโพงพาง อําเภออัมพวาจังหวัดสมุทรสงคราม. การศึกษาคนควาดวยตนเอง บธ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร,พิษณุโลก.

ประทีป ชุมพลและคณะ. (2549). รายงานผลการวิจัยเรื่องศักยภาพและปจจัยในจังสุรินทรเพื่อ

สงเสริมโครงการโลกใหมของชางอยางย่ังยืน. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประทีป นวลเจริญ. (2548). รายงานผลการวิจัยเรื่องการศึกษาศักยภาพของทรัพยากรการ ทองเท่ียวเชิงธรรมชาติทางบกของจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบ่ี. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต.

มนัส สุวรรณ. (2538). นิเวศวิทยากับการพัฒนาเศรษฐกิจ. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพ

โอเดียนสโตร.

Page 100: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เอกสารและอางอิง (ตอ) มธุรส ปราบไพรี.2544.โฮมสเตยกับการจัดการทองเท่ียวเชิงนิเวศ.จุลสารการทองเท่ียว.

20(4): 49-54.

รุงรัตน หัตถกรรม. (2545). แนวทางการพัฒนาหมูบานทอผาไหม ต.นาโพธ์ิ อ.นาโพธิ์ จ.บุรีรัมย เปนแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรม. ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ อุตสาหกรรมการทองเท่ียว มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วินิจ วีรยางกูร.2532.การจัดการอุตสาหกรรมการทองเท่ียว.พิมคร้ังท่ี1.กรุงเทพมหานคร. ศิริวรรณ เสรีรัตน. 2538. พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.ศุภร เสรีรัตน. 2544.

พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : เอ อารบิตรีเพสเบรส.ปยรัตน ยุทธวิสุทธิ์, มัสยามาศ วองสุรีย, อติรัตน สุรัตนจันทรกุล. 2551. การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคในการเลือกซื้อคอมพิวเตอรโนตบุคเพ่ือใชงานสวนบุคคล. การศึกษาคนควาดวยตนเอง บธ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

ศรีไพร พริ้งเพราะ. (2547). การพัฒนาการทองเท่ียวกับการเปล่ียนแปลงทางดาน สังคม

เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของชุมชน:บูรณาการการจัดการแสดงของชางใน บานตากลาง ต.กระโพ อ.ทาตูม จ.สุรินทร. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา ภูมิศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

อุไรวรรณ จอมซื่อตรง, เสาวลักษณ เลิศเจริญบัณฑิต. 2550. การจัดการทางการตลาดของ ผูประกอบการโฮมสเตยในภาคกลาง. การศึกษาคนควาดวยตนเอง ศศ.ม.,มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

การประเมินมาตราฐานโฮมสเตยไทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://tourism.go.th/2010/th/news/view.php?ItemID=39. (สืบคน: 24 ธันวาคม 2554)

Page 101: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เอกสารและอางอิง (ตอ) การสงเสริมโฮมสเตย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://phetchabun.mots.go.th/.

(สืบคน: 8 ธันวาคม 2554) การทองเท่ียวโดยชุมชน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.cbt-i.org/travel.php.

(สืบคน: 23 ธันวาคม 2554). การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) สํานักงานสมุทรสงคราม. ขาวประชาสัมพันธ. [ออนไลน].

เขาถึงไดจาก: http://www.maeklongtoday.com/tat/tat-1.php. (สืบคน: 21 ธันวาคม 2552). โครงการสํารวจคาตอบแทน. ทฤษฎีความคาดหวัง (Expertancy Theory). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://salary.siamhrm.com. (สืบคน: 11ตุลาคม 2552). ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร. ประวัติความเปนมาของโฮมสเตย.[ออนไลน].เขาถึง

ไดจาก: http://www.tourvtthai.com/home/index.php. (สืบคน: 12ตุลาคม 2552). นุจรินทร.2552. อัมพวามนตเสนหแหงเมืองเล็กท่ีไมเคยหลับไหล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก:

http://www.moopeak.com/voyager/totravel.php?article_id=129. (สืบคน: 12 ตุลาคม 2552).

บุญนิวัฒน.2552. ประวัติศาสตรอัมพวา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://amphawa.sadoodta.com/travel.php?subaction=showfull&id=1251149109&archive=&start_from=&ucat=9. (สืบคน: 12 ตุลาคม2552).

ผูจัดการออนไลน.2551. อัมพวา บทความเคลื่อนไหว.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.manager.co.th/Travel?ViewNews.aspx?MewsID=9510000139166. (สืบคน : 12 ตุลาคม2552).

Page 102: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เอกสารและอางอิง (ตอ)

มาตรฐานโฮมสเตยไทย.[ออนไลน] เขาถึงไดจาก: http://www.chanforchan.com/ (สืบคน: 24 ธันวาคม 2554).

มูลนิธิชัยพัฒนา. ความเปนมาโครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.amphawanurak.com/index.php. (สืบคน: 21 ธันวาคม2552). แมกลองทูเดยดอทคอม. ชุมชนริมคลองอัมพวาไดรับรางวัลอนุรักษทางวัฒนธรรมป2008จาก

องคกรยูเนสโก (UNESCO). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.maeklongtoday.com/articlecomment/amphawa.php. (สืบคน: 21 ธันวาคม 2552).

สํานักงานพัฒนาการทองเท่ียว กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา. กําเนิดโฮมสเตย. [ออนไลน].เขาถึง ไดจาก: http://homestaythai.tourism.go.th/page_history.php. (สืบคน: 12ตุลาคม 2552).

สํานักงานพัฒนาการทองเท่ียว กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา. มาตรฐานโฮมสเตยไทย[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.tripsthailand.com/th/thai_homestay_standard.96 (สืบคน: 12ตุลาคม 2552).

รสิกา อังกูรและคณะ. (2549). รายงานผลการวิจัยเร่ืองการพัฒนาศักยภาพการทองเท่ียวเชิง

ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www2.tat.or.th/ tat/e-journal. 2 กันยายน 2549.

เหลาโพนคอ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.laophonkhor.go.th/ .

(สืบคน: 5 ธันวาคม 2554). MGR Online. มารูจักกับตลาดน้ําและชุมชนอัมพวาแบบละเอียด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.wannapong.com/amphawa-floating-market/ (สืบคน: 12 ตุลาคม2

Page 103: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ภาคผนวก

Page 104: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ภาคผนวก ก แบบสอบถามที่ใชในการศึกษา

ชุดท่ี...................

แบบสอบถาม

เร่ือง ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

แบบสอบถามฉบับนี้ คณะผูศึกษามีความประสงคท่ีจะศึกษาศักยภาพของชุมชนตอการ เปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครเพ่ือจะทราบเหตุผลท่ีจะพัฒนาโฮมสเตยหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร คําช้ีแจง ขอความกรุณาทานในการตอบแบบสอบถามตามความเปนจริงและตรงความคิดเห็น ของทานมากท่ีสุด ซึ่งแบบสอบถามแบงออกเปน 4 สวน ดังนี ้ สวนท่ี 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 1. เพศ

ชาย หญิง 2. อายุ

นอยกวา 20 ป 20 – 30 ป 31 – 40 ป 41 - 50 ป

51 – 60 ป มากกวา 60 ป 3. สถานภาพ

โสด สมรส หยา แยกกันอยู

4. อาชีพ พอบาน/แมบาน รับจางทั่วไป คาขาย/ธุรกิจสวนตัว ขาราชการ/พนักงานรัฐ วิสาหกิจ

Page 105: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เกษตรกร นักเรียน/นักศึกษา อื่นๆ โปรดระบุ......................

5. รายไดเฉลี่ยตอเดือน นอยกวา 3,000 บาท 3,001-8,000 บาท 8,001-13,000 บาท 13,001-18,000 บาท

18,001-23,000 บาท มากกวา 28,000 บาทขึ้นไป 6. ระดับการศึกษา

ตํ่ากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ระดับอนุปริญญา/ปวส ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา

สูงกวาระดับปริญญาตรี อื่นๆ โปรดระบุ..................... สวนท่ี 2 ความคิดเห็นตอทรัพยากรการทองเท่ียวและความพรอมของโฮมสเตยในปจจุบันอยางเหมาะสม 1.หมูบานของทานมีกิจกรรมการทองเท่ียวรูปแบบใดบาง (ตอบมากกวา 1 ขอ) ทองเท่ียวเชิงนิเวศ ทองเท่ียวเชิงศาสนา ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร ทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทองเท่ียวเชิงชุมชน 2. คุณพรอมท่ีจะเปดโฮมสเตยหรือไม พรอม ไมพรอม อื่นๆ โปรดระบุ......................................... 3. บานของทานมีสิ่งอํานวยความสะดวกอะไรบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) โทรทัศน ตูเย็น เคร่ืองทําน้ําอุน พัดลม ท่ีนอนพรอมมุง อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 4. ทานมีความรูเกี่ยวกับโฮมสเตยหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 5. การเดินทางมายังหมูบานเหลา โดยใชพาหนะประเภทใด รถยนต รถจักรยานยนต รถโดยสารประจําทาง อื่นๆโปรดระบุ......... 6. ทานมีมัคคุเทศกประจําทองถิ่นหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 7. ทานมีการอบรมเร่ืองการปฐมพยาบาลเบ้ืองตนหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 8. ทานมีความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ.....................................

Page 106: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

9. ทานมีผลิตภัณฑจากชุมชนและรานจําหนายของที่ระลึกหรือไม มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ..................................... 10. ทานไดมีการประชาสัมพันธการทองเท่ียวของชุมชนหรือไม

มี ไมมี อื่นๆ โปรดระบุ.....................................

สวนท่ี 3 ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับความคิดเห็น

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1.ดานท่ีพัก 1.ลักษณะของบานพักที่แบงเปนสัดสวน 2.มีท่ีพักสําหรับนักทองเท่ียวที่สะอาด และสบาย

3.หองอาบน้ําและหองสวมท่ีสะอาดมิดชิด 2.ดานอาหารและโภชนาการ 1.ชนิดของอาหาร และวัตถุดิบท่ีใชประกอบอาหาร

2.มีภาชนะท่ีบรรจุอาหารที่สะอาด ถูกสุขอนามัย

3.หองครัว และอุปกรณท่ีใชในครัว มีความสะอาด

3.ดานความปลอดภัย 1.การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐม พยาบาลเบ้ืองตน

2.การจัดระบบดูแลความปลอดภัย 4.ดานอัธยาศัยไมตรีของเจาของบานและสมาชิกในครัวเรือน 1.การตอนรับและการสรางความคุนเคย 2.การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูในวิถีชีวิต

Page 107: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ของชุมชน 3.ความเปนมิตรและรอยย้ิมของเจาของบาน

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับความคิดเห็น มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด

4.การสรางความประทับใจใหกับนักทองเท่ียว 5.ดานรายการนําเท่ียว 1.มีรายการนําเที่ยวท่ีชัดเจนสําหรับ นักทองเท่ียวซึ่งตองผานการยอมรับจากชุมชน

2.มีขอมูลกิจกรรมทองเท่ียวท่ีหลากหลาย 3.มีการประสานงานใหมัคคุเทศกทองถิ่น นําเท่ียว

4.การใหความรูดานการนําเท่ียวในหมูบาน 6.ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 1.ชุมชนมีแหลงทองเท่ียวภายในชุมชน หรือแหลงทองเที่ยวใกลเคียง

2.มีการดูแลรักษาแหลงทองเท่ียวและ ภาวะโลกรอน

7.ดานวัฒนธรรม 1.การดํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น 2.การรักษาวิถีชีวิตชุมชนคงไวเปนกิจวัตรปกติ 3.มีการรวบรวมองคความรูดานวัฒนธรรม ทองถิ่น

8.ดานการสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑ 1.มีผลิตภัณฑจากชุมชนเพ่ือเปนของท่ีระลึก/ ของฝากหรือจําหนายแกนักทองเท่ียว

2.มีผลิตภัณฑที่สรางคุณคาและมูลคาท่ีเปนเอกลักษณของชุมชน

9.ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 1.ชุมชนมีการใหความรูดานโฮมสเตย 2.มีการจัดต้ังคณะกรรมการกลุมโฮมสเตย

Page 108: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

3.มีการต้ังกฎ กติกาในการทํางานของคณะกรรมการ

ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษา หมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ

อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ระดับความคิดเห็น มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยท่ีสุด

10.ดานประชาสัมพันธ 1.มีเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ ประชาสัมพันธ การทองเท่ียวของชุมชน

2.มีการเผยแพรประชาสัมพันธ 3.มีหนวยงานภาครัฐบาลชวย ในการประชาสัมพันธ

สวนที่ 4 ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ ศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

*ขอขอบพระคุณทุกทานท่ีเสียสละเวลาอันมีคาในการกรอกแบบสอบถามฉบับนี*้

Page 109: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ภาคผนวก ข ระดับคาความเชื่อมั่น

Page 110: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ระดับคาความเชื่อมั่นศักยภาพของชุมชนตอการเปนโฮมสเตย กรณีศึกษาหมูบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Reliability RELIABILITY ANALYSIS - SCALE (ALPHA)

Scale Statistics

Mean Variance Std. Deviation N of Items

112.40 87.871 9.374 29

Cronbach's

Alpha N of Items

.879 29 Reliability Coefficients N of Cases = 250.0 N of Items = 29 Alpha = 0.879 คาความเช่ือมั่นท่ีสามารถเช่ือถือไดอยูท่ี 0.88

Page 111: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ภาคผนวก ค ขอมูลทั่วไปของหมูบานเหลา

Page 112: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ลักษณะท่ีตั้ง

สภาพทั่วไป ท่ีตั้ง ตําบลเหลาโพนคอ ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางหางจาก อําเภอฯประมาณ 9 กิโลเมตร และหางจากจังหวัดสกลนครประมาณ 33 กิโลเมตร เนื้อท่ี ตําบลเหลาโพนคอมีเนื้อท่ีท้ังหมด 36 ตารางกิโลเมตรหรือ14,636ไรเปนพ้ืนที่ทําการเกษตร 9,787 ไร ภูมิประเทศ ตําบลเหลาโพนคอมีสภาพทางกายภาพเปนท่ีราบเชิงเขา มีพ้ืนท่ีเปนสภาพปาท่ีไมสมบูรณ ขนาด 100 ไร และมีอางเก็บน้ํา 2 แหง คือ อางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางและอางเก็บน้ําหวยนอย เปนแหลงตนน้ําลําหวย 1 สาย และมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จดพ้ืนท่ีตําบลแมดนาทม อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต จดเทือกเขาภูพาน อ.เตางอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ทิศตะวันออก จดพื้นท่ีตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิศตะวันตก จดพ้ืนที่ตําบลตองโขบ อําโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ี ตําบลเหลาโพนคอมีทรัพยากรปาไม ประมาณ 3,500 ไร ซึ่งอยูในเขตอุทยานแหงชาติ ภูพาน

Page 113: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ขอมูลหมูบาน

จํานวนหมูบาน

จํานวนหมูบาน ในเขตองคการบริหารสวยตําบลเหลาโพนคอ มี 11 หมูบาน ไดแก

หมูท่ี ชื่อหมูบาน จํานวน

ครัวเรือน จํานวน

ประชากร ชาย หญิง

1 โพนคอ 168 767 375 392

2 โพนไฮ 55 263 136 127

3 ดง 83 289 155 134

4 หนองเหียน 144 675 324 351

5 เหลา 130 545 257 288

6 หวยยาง 185 897 456 441

7 เหลาเหนือ 79 414 196 218

8 ดงนอย 121 342 164 178

9 หวยยางเหนือ 159 804 419 388

10 โพนสูง 166 649 325 324

11 นอยหนองไผสวน 35 164 85 79

รวม 1.325 5.809 2,892 2,917

Page 114: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ประชากร

มีครัวเรอืนทั้งหมด 1,325 ครัวเรือน

ประชากรท้ังสิ้น 5,809 คน

แยกเปน ชาย 2,892 คน

หญิง 2,917 คน

ประวัติความเปนมา บานเหลา หมูท่ี 5 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

เร่ิมแรกเดิมทียังมีพระธุดงครูปหนึ่ง (ไมปรากฏชื่อ) เปนชาวบานดงกึม แขวงเมืองสุวรรณเขตประเทศลาว ไดเดินธุดงคไปตามวิสัยของสมณะบรรพชิต ท้ังในปาและในบาน วันหนึ่งขณะท่ีเดินธุดงคไปถึงบึงแหงหนึ่ง (นาบึงในปจจุบันนี)้ อยูใกลบานหนองเหียนอุปหาด (คําวา “อุปหาด” เปน ชื่อของผูมาต้ังบานหนองเหียนเปนคนแรก) ไปทางทิศตะวันตก เห็นวาเปนท่ีอุดมสมบูรณพอท่ีจะต้ังถิ่นฐานบานเรือนได พอพระธุดงครูปนั้นกลับถึงบานเกิดก็เลาเรื่องราวตาง ๆ ท่ีไดไปพบเห็นใหญาติพ่ีนองและชาวบานฟงวาไดไป พบเห็นท่ีอุดมสมบูรณแหงหนึ่งในเมืองไทย ขาวนี้ไดแพรไปถึงบุคคลท่ีมีชื่อวา อาญาพระพลและอาญาพระเทพ ทานท้ังสองไดสอบถามถึงรายละเอียดตาง ๆ จากผูท่ีไดพบเห็นมานั้น เห็นวาเปนความจริง จึงไดรวบรวมสมัครพรรคพวกไดประมาณ 8 ครัวเรือน นําโดย อาญาพระพลและอาญาพระเทพ เปนหัวหนาขามลําน้ําโขงเดินทางรอนแรมมาจนถึงบานหนองเหียนอุปหาด ในระยะนั้นไดพากันหยุดอยูท่ีนั่นเพ่ือจะไดคนหาทําเลอันเหมาะสมพอท่ีจะต้ังบานเรือนไดแลว ก็ไดพบลําน้ําแหงหนึ่งชื่อ ลําน้ําหวยทรายในปจจุบัน อาญาท้ังสองจึงแยกกันออกเปน 2 พวก คือพวกอาญาพระเทพไดพากันไปตั้งบานเรือนอยูท่ีดอนตากราริมหวยทราย (ปจจุบันเปนทุงนา) สวนอาญาพระพลนั้นไดพาสมัครพรรคพวกไปต้ังบานเรือนอยูท่ีริมหวยทรายตอนบน (ดงมุน) เปนสายลําธารเดียวกันเรียกชื่อบานวา “บานอุมไผนาทาม” (ปจจุบันเปนทุงนา) แตหมูบานท้ังสองนี้ไดรับความลําบากมากเพราะเกิดอุทกภัย พอถึงฤดูฝน น้ําก็จะทวมแทบทุกป ทําใหการทํามาหากิน การอยูอาศัย การสัญจรไปมาลําบากมาก จึงพรอมใจกันเลือกหาทําเลแหงใหมใหเหมาะสมกวาเดิม แลวก็ไดพบโนนแหงหนึ่งซึ่งมีตนคอมากและเห็นวาเปนทําเลท่ีเหมาะสม ท่ีจะตั้งบานเรือนได จึงพากันอพยพไปต้ังบานเรือนอยูที่โนนคอนั้น เรียกชื่อวา “บานโพนคออุมไผ” ขึ้นกับอําเภอมุกดาหาร (จังหวัดมุกดาหารในปจจุบัน) จังหวัดนครพนมอาชีพของชาวบานในเวลานั้นสวนใหญไดแก การทําไร ตอมาประชากรเพ่ิมขึ้นการทําไรก็ขยายกวางออกไปเรื่อย ๆ จนมีอาณาเขตกวางขวางและหางไกลจากบานเดิม เปนเหตุใหลําบากตอการดูแลรักษาพืชไรของตน

Page 115: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

เมื่อเปนดังนี้ ตางคนก็ตางพากันไปปลูกบานเรือนไปอยูตามไรตามสวนของตนเอง ซึ่งยังเปนปา เปนดงอยู ตอมาก็กลายเปนหมูบานเล็ก ๆ หมูบานหนึ่ง เรียกชื่อวา “บานเหลา” เพราะสถานท่ีตั้งบานเรือนยังเปนเหลาเปนดงนั่นเอง เมื่อกาลตอมาจึงไดเอาชื่อบานท้ังสองนี้รวมกันเขา เรียกวา “บานเหลาโพนคอหรือตําบลเหลาโพนคอ” ใน ปจจุบันเม่ือหมูบานมีความเจริญ สมควรมีวัดเพ่ือ จะไดประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาและบําเพ็ญกุศล จึงไดพรอมใจกันสรางวัดขึ้น มีเจาอธิการโสมเปนผูริเริ่มพรอมกับชาวบานใหชื่อวัดวา “วัดบานโพนคอ” จึง นับวา อาญาพระพลและอาญาพระเทพ ท้ังสองทานนี้เปนคนสําคัญท่ีมาต้ังบานโพนคอ ตอมาเมื่อสมัยนายสมัง ขันทีทาว เปนผูใหญบาน จึงไดขออนุญาตแยกบานเหลาเหนือ หมูท่ี 7 ออกจากบานเหลา เนื่องจากมีประชากรและจํานวนครัวเรือนเพ่ิมขึ้น

Page 116: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ภาคผนวก ง ภาพการดําเนินงาน

Page 117: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ตัวอยางโฮมสเตย หมูบานเหลา

บานตนแบบสะอาดนาอยู

สิ่งอํานวยความสะดวกภายในบาน

Page 118: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ภายในหองครัว

คณุเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว

นักวิชาการเกษตร

Page 119: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ภาคผนวก จ ประวัติการศึกษา

Page 120: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ประวัติ

1. ชื่อ – นามสกุล นางสาวประภาพรรณ สิทธ ิ วัน เดือน ปท่ีเกิด 14 กุมภาพันธ 2532 สถานท่ีเกิด จังหวัดเลย ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ สาขา การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเลยพิทยาคม ท่ีอยูปจจุบัน 342/265 หมู 7 ตําบลเมือง อําเภอเมือง จังหวัดเลย 42000 E-mail [email protected]

Page 121: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ประวัติ

2. ชื่อ – นามสกุล นายปรัชญา เท่ียงงามด ี วัน เดือน ปท่ีเกิด 16 ตุลาคม 2531 สถานท่ีเกิด จังหวัดสมุทรปราการ ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ สาขา การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนยอแซฟอุปถัมป

สามพราน นครปฐม ท่ีอยูปจจุบัน ฆ139 ถนนธรรมสิทธิเสนา ตําบลเสนา อําเภอเสนา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13110 E-mail [email protected]

Page 122: ศํกยภาพชุมชนต่อการเป็นบ้านพักโฮมสเตย์ บ้านเหล่า หมู่ 5

ประวัติ

3. ชื่อ – นามสกุล นางสาวภิรมยญา คําออ วัน เดือน ปท่ีเกิด 21 พฤศจิกายน 2532 สถานท่ีเกิด จังหวัดขอนแกน ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ สาขา การจัดการโรงแรมและทองเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนน้ําพองพัฒนศึกษา

รัชมังคลาภิเษก ท่ีอยูปจจุบัน 194 หมู 8 ตําบลกุดน้ําใส อําเภอน้ําพอง

จังหวัดขอนแกน 40310 E-mail [email protected]