3
การดําเนินงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่นหรือพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลสันผีเสื้อ วิธีคิด สงเสริมกระบวนการมีสวนรวมตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการของประชาชนในทองถิ่น มีการ กําหนดหลักเกณฑการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การฟนฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ไดอยางทั่วถึงและจําเปนตอสุขภาพและการ ดํารงชีวิต วิธีทํา กระบวนการดําเนินงาน ของระบบหลักประกันสุขภาพดําเนินการทุกอยางเปนแบบไมแยกสวน ทุกสวนสัมพันธ กันและมีความสําคัญเทาๆกันตั้งแต ประชาชนในทองถิ่น คณะกรรมการหมูบาน ระดับตําบลองคกรตางๆในพื้นทีภาคเอกชน ตลอดจนสวนราชการในพื้นที่ ที่ชวยกันขับเคลื่อนใหระบบหลักประกันสุขภาพฯ เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลได วิธีการจัดการ เปนการจัดการที่เกิดจากการมีสวนรวมของประชาชน หรือยึดชุมชนเปนศูนยกลาง หรือเปนตัวตั้ง ไมไดยึดเอา หลักเศรษฐกิจเปนตัวตั้ง แตคํานึงถึงรากฐานทางสังคม วัฒนธรรม พฤติกรรมสุขภาพและศักยภาพชุมชน ใหเกิด กระบวนการเรียนรูอยางเปนระบบและตอเนื่อง สรางนวัตกรรมทางสุขภาพ เพื่อสุขภาวะทางรางกายและจิตใจ จากวิธีคิด วิธีทํา และวิธีการจัดการดังกลาว ระบบหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ตําบลสันผีเสื้อ ไดใหความสําคัญหรือหลักการที่ยึดถือปฏิบัติ 3 ประการดวยกัน คือ 1. สนับสนุนและสงเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ของหนวยบริการหรือสถานบริการอื่นรวมทั้งสถานบริการ ทาง เลือกในพื้นที่โดยเนนเรื่องการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การฟนฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาล ระดับ ปฐมภูมิที่จําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต 2. สงเสริมใหกลุมแมและเด็ก กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ และกลุมผูประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุมผูปวย โรคเรื้องรังที่อยูในเขตพื้นที่ สามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขไดอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ตามประเภทและขอบเขต ของการบริการสาธารณสุขที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาตอกําหนด 3. สนับสนุนคาใชจายใหกลุมประชาชน หรือองคกรประชาชนในพื้นที่จัดทํากิจกรรมเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสมรรถภาพใหแกประชาชนในพื้นที

การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ

Citation preview

การดําเนินงาน

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถ่ินหรือพ้ืนที่องคการบริหารสวนตําบลสันผีเส้ือ

วิธีคิด

สงเสริมกระบวนการมีสวนรวมตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการของประชาชนในทองถิ่น มีการ

กําหนดหลักเกณฑการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค

การฟนฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ไดอยางทั่วถึงและจําเปนตอสุขภาพและการ

ดํารงชีวิต

วิธีทํา

กระบวนการดําเนินงาน ของระบบหลักประกันสุขภาพดําเนินการทุกอยางเปนแบบไมแยกสวน ทุกสวนสัมพันธ

กันและมีความสําคัญเทาๆกันต้ังแต ประชาชนในทองถิ่น คณะกรรมการหมูบาน ระดับตําบลองคกรตางๆในพื้นที่

ภาคเอกชน ตลอดจนสวนราชการในพื้นที่ ที่ชวยกันขับเคลื่อนใหระบบหลักประกันสุขภาพฯ เกิดประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลได

วิธีการจัดการ

เปนการจัดการที่เกิดจากการมีสวนรวมของประชาชน หรือยึดชุมชนเปนศูนยกลาง หรือเปนตัวต้ัง ไมไดยึดเอา

หลักเศรษฐกิจเปนตัวต้ัง แตคํานึงถึงรากฐานทางสังคม วัฒนธรรม พฤติกรรมสุขภาพและศักยภาพชุมชน ใหเกิด

กระบวนการเรียนรูอยางเปนระบบและตอเน่ือง สรางนวัตกรรมทางสุขภาพ เพื่อสุขภาวะทางรางกายและจิตใจ

จากวิธีคิด วิธีทํา และวิธีการจัดการดังกลาว ระบบหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ตําบลสันผีเสื้อ

ไดใหความสําคัญหรือหลักการที่ยึดถือปฏิบัติ 3 ประการดวยกัน คือ

1. สนับสนุนและสงเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ของหนวยบริการหรือสถานบริการอ่ืนรวมทั้งสถานบริการ

ทาง เลือกในพื้นที่โดยเนนเร่ืองการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การฟนฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาล ระดับ

ปฐมภูมิที่จําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิต

2. สงเสริมใหกลุมแมและเด็ก กลุมผูสูงอายุ กลุมผูพิการ และกลุมผูประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุมผูปวย

โรคเร้ืองรังที่อยูในเขตพื้นที่ สามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขไดอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ตามประเภทและขอบเขต

ของการบริการสาธารณสุขที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาตอกําหนด

3. สนับสนุนคาใชจายใหกลุมประชาชน หรือองคกรประชาชนในพื้นที่จัดทํากิจกรรมเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ

การปองกันโรค และการฟนฟูสมรรถภาพใหแกประชาชนในพื้นที่

ดานการบริหารจัดการกองทุน ฯ

- คณะกรรมการบริหารกองทุน ฯ จํานวน 15 คน และอนุกรรมการ 11 คน กรรมการที่ปรึกษา 2 ทาน

- ประชุมเปนประจําไตรมาสละ 1 คร้ัง เพื่อ วิเคราะหการทํางานกองทุน ฯ พิจารณาโครงการ และ

สถานการณดานสุขภาพ

- มีระเบียบวาระการประชุม ในการประชุมทุกคร้ัง

- มีกรรมการเขารวมประชุมอยางนอยกึ่งหน่ึง โดยใชระบบ ฉันทามต ิ

- มีการจัดทํารายงานบัญชีรับ - จาย การรายงานทางอินเตอรเน็ตทุกเดือน มีรายงานสถานการณทางการ

เงินกองทุนฯ ถือเปน วาระประจําที่ตองปฏิบัติในการประชุมแตละคร้ัง

- จัดทําบันทึกรายงานการประชุมเปนลายลักษณอักษร

- การพิจารณางบประมาณทุกกิจกรรม/โครงการ อยูภายใตการอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนฯ มิใช

เปนอํานาจเฉพาะแตประธานบริหารกองทุน ฯ

- มีการประชุมเพื่อกําหนดกฎระเบียบ และขั้นตอนการดําเนินงานกองทุน ฯ

ดานการประชาสัมพันธกองทุน ฯ

• กองทุน ฯ มีการประชาสัมพันธรายละเอียดของกองทุนฯใหชุมชนรับทราบ และไดมีการดําเนินการ

ประชาสัมพันธโครงการตาง ๆ ที่จะดําเนินงาน โดยผานชองทางการประชาสัมพันธ ดังน้ี

1.แจงในที่ประชุมหมูบาน เชน ประชาคมหมูบาน วันประชุมหมูบาน

2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน

3.การออกเสียงตามสายประจําหมูบาน

4. จัดทําเปนแผนพับ , คูมือ

5. หนังสือจากทางราชการ, จดหมายขาว

6.การบอกตอปากตอปาก

7.การติดประกาศ

แผนงาน/โครงการที่กองทุนฯ ใหการสนับสนุนงบประมาณ

• ตองเปนแผนงานที่มาจากแผนชุมชน /แผนพัฒนา อบต.สามป/ขอบัญญัติตําบล

• ตองเปนปญหาสาธารณสุข/สุขภาพ/คุณภาพชีวิตในพื้นที่ และมีการจัดรวบรวมไวในแผนชุมชน/แผนพัฒนา อบต.

สามป

• กรณีที่แผนงานโครงการไมไดมาจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร และเปนโครงการของหมูบาน ตองผานเวที

ประชาคมหมูบาน/เปนหนวยงาน องคกรในชุมชน

• หนวยงาน/องคกร/ชมรม สุขภาพในพื้นที่ หากตองการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ใหเสนอ

โครงการซึ่งมีประเด็นตามแผนชุมชน /แผนพัฒนา อบต.สามป/ขอบัญญัติตําบล

การพัฒนากองทุน

1. กองทุนควรจัดใหมีการสรางและใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร และสรางนวัตกรรมชุมชนดาน

สุขภาพ

2. ควรมีการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ใหเขาใจแนวคิดและบทบาทของกรรมการ

3. ควรมีการติดตามประเมินผลการจัดทําโครงการของกองทุนอยางตอเน่ือง

บทบาทคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ

1. บริหารจัดการกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน

2. รับผิดชอบการรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทําบัญชีเงินหรือทรัพยสินในกองทุนใหเปนไป

ตามที่ สปสช.กําหนด

3. ดําเนินการใหประชาชนกลุมเปาหมายตางๆ ในความรับผิดชอบสามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บาน ใน

ชุมชนหรือหนวยบริการไดอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

4. จัดทําขอมูลและแผนดําเนินงานที่เกี่ยวกับปญหาสาธารณสุข กลุมเปาหมายและหนวยบริการตางๆที่เกี่ยวของ

5. จัดทําสรุปผลการดําเนินงาน รายงานการรับจายและเงินคงเหลือของกองทุน เมื่อสิ้นปงบประมาณ เพื่อเสนอ

สปสช. และองคการบริหารสวนตําบลภายในสิ้นเดือนธันวาคมของทุกป

6. แตงต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน เพื่อดําเนินงานที่เกี่ยวของตามความจําเปน