74
คานา สานักงาน กศน. เป็นองค์กรที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนไทยได้รับการศึกษาตลอดชีวิตและ การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่มีคุณภาพ ได้ทุกที่ ทุกเวลา อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกิดสังคม ฐานความรู้และการมีอาชีพอย่างยั่งยืน โดยได้มีการจัดสรรงบประมาณในการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยไปยังหน่วยงาน สถานศึกษา ในสังกัดสานักงาน กศน. ซึ่งในการดาเนินการจัดกิจกรรมและ ดาเนินการตามภารกิจ มีความจาเป็นที่ต้องมีการจัดหาพัสดุเพื่อใช้ในโครงการ กิจกรรมและแผนงานต่างๆดังนั้นเพื่อ เป็นการสร้างมาตรฐานการดาเนินงานด้านพัสดุ บุคลากรที่รับผิดชอบมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการ ปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อปูองกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นให้แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ กศน.อาเภอ ซึ่งจะส่งผลให้การ ดาเนินงานของ กศน.อาเภอให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จึงได้จัดทาเอกสารแนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุ สาหรับผู้ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่พัสดุ ซึ่งมีเนื้อหาประกอบด้วย 3 หน่วย คือ 1) บทบาทและหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน ด้านพัสดุ ) กระบวนการเตรียมการและจัดหาพัสดุ 3) การบริหารพัสดุ 4) การจัดทาบัญชีวัสดุ เพื่อเสริมสร้างความรูให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุของสถานศึกษา สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ขอขอบคุณคณะทางานทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือในการ จัดทาเอกสารเล่มนี้จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้าน พัสดุให้มีความถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการต่อไป งานพัสดุ สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ค าน า - NFEprachuap.nfe.go.th/prachuap/UserFiles/File/24-04-63.pdfพ.ศ. 2549 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วน

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ค าน า

    ส านักงาน กศน. เป็นองค์กรที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนไทยได้รับการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานท าที่มีคุณภาพ ได้ทุกที่ ทุกเวลา อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพ่ือให้เกิดสังคมฐานความรู้และการมีอาชีพอย่างยั่งยืน โดยได้มีการจัดสรรงบประมาณในการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไปยังหน่วยงาน สถานศึกษา ในสังกัดส านักงาน กศน. ซึ่งในการด าเนินการจัดกิจกรรมและด าเนินการตามภารกิจ มีความจ าเป็นที่ต้องมีการจัดหาพัสดุเพื่อใช้ในโครงการ กิจกรรมและแผนงานต่างๆดังนั้นเพ่ือเป็นการสร้างมาตรฐานการด าเนินงานด้านพัสดุ บุคลากรที่ รับผิดชอบมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพ่ือปูองกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นให้แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ กศน.อ าเภอ ซึ่งจะส่งผลให้การด าเนินงานของ กศน.อ าเภอให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

    ส านักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จึงได้จัดท าเอกสารแนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุส าหรับผู้ปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่พัสดุ ซึ่งมีเนื้อหาประกอบด้วย 3 หน่วย คือ 1) บทบาทและหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ ) กระบวนการเตรียมการและจัดหาพัสดุ 3) การบริหารพัสดุ 4) การจัดท าบัญชีวัสดุ เพ่ือเสริมสร้างความรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุของสถานศึกษา

    ส านักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ขอขอบคุณคณะท างานทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือในการจัดท าเอกสารเล่มนี้จนส าเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านพัสดุให้มีความถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการต่อไป

    งานพัสดุ ส านักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

  • สารบัญ หน้า

    ค าน า ก สารบัญ ข โครงสร้างแนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุ ง ค าแนะน าการใช้แนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุ จ

    หน่วยที่ 1 บทบาทและหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ 1 บทบาทและหน้าที่ 2

    จริยธรรมของเจ้าหน้าที่พัสดุ 3 แนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัสดุ 4

    หน่วยที่ 2 กระบวนการเตรียมการและจัดหาพัสดุ 6 การซื้อ/การจ้าง 6 ผังกระบวนการขั้นตอนการจัดซื้อ/การจัดจ้าง 1 วิธ ี 7

    หน่วยที่ 3 การบริหารพัสดุ 8 1. การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย 9 ผังขั้นตอนการเก็บรักษา 9

    2. การยืม 10 3. การบ ารุงรักษา การตรวจสอบ 11 4. การจ าหน่ายพัสดุ 11

    หน่วยที่ 4 การท าบัญชีวัสดุ 12 การจ าแนกประเภทรายจ่ายส่ิงของที่จัดเป็นวัสดุและครุภัณฑ์ 19

    ภาคผนวก

    -หนังสือส านักงาน กศน.ที่ ศธ 0210.117/3667 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2559 เรื่อง การปรับปรุง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนของส านักงาน กศน. -หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุดที่ กค (กวพ) 0405.2/ว 320 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2560 เรื่อง การก าหนดสินด้วยส าหรับด าเนินการจัดหาด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e- market) เพ่ิมเติม -หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 040.3/ว 322 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2560 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP)

  • -หนังสือส านักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.117/4563 ลงวันที่ 25 สิ่งหาคม 2560 เรื่อง แนวปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 -หนังสือส านักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.118/3033 ลงวันที่ 6 กันยายน 2560 เรื่อง ส่งส าเนาค าสั่ง มอบอ านาจส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ -หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุดที่ กค(กวจ) 0405.2ว 356 ลงวันที่ 13 กันยายน 2560 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ประจ าปีงบประมาณ 2560 ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2560 -หนังสือกรมบญัชีกลาง ต่วนที่สุดที่ กค(กวจ) 005.2ว 395 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2560 เรื่อง การจัดอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าเช่าที่พัก ของหน่วยงานของรัฐ ตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วน ราชการ พ.ศ. 2553 หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องของหน่วยงานของรัฐนั้น -หนังสือส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0210.117/4120 ลงวันที่ 20 มีนาคม 2561 เรื่อง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนของส านักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (แก้ไขเพ่ิมเติม) -แบบฟอร์มการเบิกจ่าย

  • โครงสร้าง

    แนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุ

    สาระส าคัญ แนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุ เป็นแนวทางส าหรับให้ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุและ ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ศึกษา และสามารถน าไปปฏิบัติงานด้านพัสดุได้ถูกต้องตรวจสอบได้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ

    วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุและผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ แนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ กฎหมาย 2. เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตาม ขั้นตอนกระบวนการตามระเบียบพัสดุ

    ขอบข่ายเนื้อหา 1. บทบาทและหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ 1.1 บทบาทและหน้าที่ 1.2 จรยิธรรมของเจ้าหน้าที่พัสดุ 1.3 แนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัสดุ

    2. กระบวนการเตรียมการและจัดหาพัสดุ 2.1 ขั้นตอนการจัดซื้อการจัดจ้าง โดยวิธีเฉพาะเจาะจง 3. การบริหารพัสดุ 3.1 การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย 3.2 การยืม 3.3 การบ ารุงรักษา การตรวจสอบ

    3.4 การจ าหน่ายพัสดุ 4. การจัดท าบัญชีวัสดุ

  • ค าแนะน าการใช ้

    แนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุ

    แนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุ จัดท าขึ้นเพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุและผู้ที่เก่ียวข้องมีความรู้ ความเช้าใจ ในภารกิจที่รับผิดชอบมากขึ้น ทั้งนี้ได้น าเสนอระเบียบ ข้อกฎหมายผังขั้นตอนการท างาน รายละเอียดขั้นตอนการด าเนินงาน ตัวอย่างเอกสารและแบบฟอร์มที่เก่ียวข้องกับการด าเนินงานพัสดุ เพ่ืออ านวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ เนื้อหาประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่

    หน่วยที่ 1 บทบาทและหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ หน่วยที่ 2 กระบวนการเตรียมการและจัดหาพัสดุ หน่วยที่ 3 การบริหารพัสดุ หน่วยที่ 4 การจัดท าบัญชีวัสดุ

    เพ่ือให้การใช้คู่มือเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงชี้แจงเพ่ิมเติมดังนี้ 1. ศึกษาและท าความเข้าใจเนื้อหาให้ครบทุกหน่วย เพ่ือสามารถน าไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 2. เนื้อหาในคู่มือเล่มนี้นอกจากเป็นระเบียบข้อกฎหมายแล้วยังได้น าเสนอกรณีตัวอย่างจากประสบการณ์

    ของผู้ปฏิบัติและผู้รับผิดชอบโดยตรงซึ่งสามารถน าไปเป็นแนวปฏิบัติได้ 3. ในเอกสารคู่มือมีตัวอย่างแบบฟอร์มการด าเนินงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร

    พัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กฎกระทรวงก าหนดให้หน่วยงานอ่ืนเป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติกาจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึ่ง กศน.อ าเภอ สามารถปรับใช้ให้เหมาะสมกับระบบงานของสถานศึกษาได้

  • 1

    หน่วยที่ 1 บทบาทและหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ

    คุณลักษณะของผู้ปฏิบัติงานพัสดุในหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งหมายถึง ผู้มีอ านาจหน้าที่ด าเนินการ

    เกี่ยวกับการจัดท าเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคุม การจ าหน่ายและการด าเนินการอ่ืน ๆ ที่ก าหนดไว้ในกฎหมายระเบียบและข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุ ความส านึกในการปฏิบัติงานและการพัฒนาต้านพัสดุในหน่วยงานของรัฐ จึงเห็นสมควรก าหนดให้มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัตินอกจากการประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณท่ีหน่วยงานของรัฐแต่ละแห่งได้ก าหนดไว้แล้วด้วยดังนี้

    1. วางตัวเป็นกลางในการด าเนินการเกี่ยวกับพัสดุ 2. ปฏิบัติหน้าทีด้่วยจิตส านึกและด้วยความโปร่งใส สมารถให้ผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ทุกเวลา 3. มีความมุ่งมั่นในการที่จะพัฒนาตนเอง และพัฒนางานโดยเรียนรู้ถึงเทคนิควิทยาการใหม่ๆ

    เพ่ิมเติมอยู่เสมอ และน ามาใช้ปฏิบัติงานให้รวดเร็วมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น 4. ปฏิบัติหน้าที่โดยยืดถือกฎหมาย กฎระเบียบปฏิบัติของทางราชกาอย่างเคร่งครัด 5. ด าเนินการให้มีการใช้จ่ายเงิน และทรัพย์สินของหน่วยงานอย่างประหยัด คุ้มค่า และ

    ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 6. ค านึงถึงประโยชน์ของหน่วยงานและประโยชน์ของราชการเป็นหลัก 7. ปฏิบัติงานร่วมกับผู้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงานด้วยความเอาใจใส่ โดยให้ความช่วยเหลือ

    ในเรื่องให้ความคิดเห็นตามหลักวิชาการ แก้ไขปัญหาร่วมกัน และการพัฒนางาน 8. ไม่เรียกรับ หรือยอมรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใดทั้งโดยตรงและโดยอ้อมจากผู้ขาย

    ผู้รับจ้าง หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่เข้ามามีนิติสัมพันธ์กับทางราชการเก่ียวกับการพัสดุเพ่ือตนเองหรือ ผู้อื่นโดยมิชอบ

    9. ปฏิบัติต่อผู้ชาย ผู้ร้บจ้าง หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่เข้ามามีนิติสัมพันธ์กับทางราชการเก่ียวกับ การพัสดุ รวมถึงการรับฟังผู้มาร้องเรียน ร้องทุกข์ ด้วยความเป็นธรรม เอ้ือเฟ้ือ มีน้ าใจ แต่ทั้งนี้การ ปฏิบัติดังกล่าวต้องไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม

    10. ให้ความร่วมมือกับทุกฝุายในการเสริมสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง กับงานด้านพัสดุ ให้สามารถพัฒนางานจนเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นวิชาชีพเฉพาะสาขาหนึ่ง

    11. ผู้บังคับบัญชาด้านพัสดุพึงใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงานและในการส่งเสริม สนับสนุนการให้ ค าปรึกษา ค าแนะน า และรับฟังความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานอย่างมีเหตุผล

    12. ผู้บังคับบัญชาด้านพัสดุพึงควบคุม ตรวจสอบ และก าชับให้ผู้ปฏิบัติงานประพฤติปฏิบัติตาม จรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด ในกรณีที่พบว่ามีการประพฤติไม่เป็นไปตามจรรยาบรรณนี้ให้ ด าเนินการควรแก่กรณี เพ่ือให้มีการด าเนินการให้ถูกต้องตามจรรยาบรรณต่อไป

  • 2

    บทบาทและหน้าที ่

    ผู้ปฏิบัติงานต้านพัสดุ หมายถึง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการพัสดุ เป็นผู้ที่มีบทบาทส าคัญ ที่จะท าให้กลไของการบริหารจัดการพัสดุขับเคลื่อนไปในทิศทางท่ีควรจะเป็น ตังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารพัสดุ ควรจะเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนรวมถึงบทบาทของหน่วยงานของตนเองให้ชัดเจนเพื่อจะปฏิบัติหน้าที่ปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับบทบาทและหน้าที่ของตนเองและหน่วยงานได้อย่างไม่มีข้อผิดพลาดหรือผิดพลาดน้อยที่สุด

    ผู้มีส่วนเกี่ยวซ้องกับการบริหารจัดการพัสดุจะแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานในสายงานหรืออยู่ในต าแหน่งที่จะต้องท าหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุโดยตรง เช่น เจ้าหน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่ และหัวหน้าส่วนราชการ เป็นต้น รวมถึงผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ด ารงต าแหน่งหรือมอบหมายให้มีหน้าที่ดังกล่าวและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยอ้อม ได้แก่ ผู้ที่มีได้ด ารงต าแหน่งเกี่ยวกับการพัสดุ แต่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรรมการต่าง ๆ เป็นผู้ตรวจสอบพัสดุประจ าปี เป็นตัน ซึ่งจะยกตัวอย่างบทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงในต าแหน่งส าคัญ ๆ ดังนี้

    1. เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ หมายความว่า ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

    จากผู้มีอ านาจให้ปฏิบัติหน้าที่เก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้าหรือการบริหารพัสดุของหน่วยงานของรัฐ 2. หัวหน้าเจ้าหน้าที่

    หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หมายความว่า ผู้ด ารงต าแหงหัวหน้าสายงานซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุตามที่กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐนั้นก าหนดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่ 3. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ

    หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หมายความว่า ผู้ด ารงต าแหน่งในหน่วยงานของรัฐ อธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็น นิติบุคคล ส าหรับส่วนภูมิภาค ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ได้รับมอบอ านาจ ทั้งนี้ ผู้อ านวยการ กศน.อ าเภอ/เขต มีอ านาจในการด าเนินการเกี่ยวกับการพัสดุในการสั่งการอนุญาต การอนุมัติ การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ การให้ความเห็นชอบการท าสัญญาและหลักประกัน การรับทราบผลการด าเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กฎกระทรวงก าหนดให้หน่วยงานอ่ืนเป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐพ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ผศ. 2560 ตามค าสั่งส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ 1938/2551 ลงวันที่ 6 กันยายน 2560 เรื่อง มอบอ านาจให้ผู้อ านวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ และผู้อ านวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต และผู้อ านวยการสถาบันการศึกษาทางไกลปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีอ านาจหน้าที่ที่ส าคัญสรุปได้ ดังนี้

  • 3

    การจัดท าแผน การสั่ง การให้ความเห็นชอบ การอนุมัติ การแต่งตั้ง การรับทราบผลการด าเนินการ

    เกี่ยวกับการซื้อหรือการจ้าง การท าสัญญาและหลักประกัน การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ การ ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ และการบริหารพัสดุ ที่เป็นอ านาจของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ยกเว้นการจ้างเอกชนบุคคล ธรรมดาปฏิบัติงาน ซึ่งมีลักษณะการจ้างและมีการจ่ายค่าจ้างเหมาเป็นรายเดือน

    1. การอนุมัติสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง ครั้งหนึ่งวงเงินไม่เกิน 500,000 บาท 2. การอนุมัติการเช่า 1) การเช่าสังหาริมทรัพย์ ครั้งหนึ่งวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท 2) การเช่าอสังหาริมทรัพย์ เดือนละไม่เกิน 10,000 บาท หรือปีละไม่เกิน 100,000 บาท

    จริยธรรมของเจ้าหน้าที ่การปฏิบัติงานด้านพัสดุ เป็นงานที่มีบทบาทส าคัญต่อองค์กรและสังคม ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ

    จึงควรสร้างศรัทธาในวิชาชีพ ท าตนให้เป็นตัวอย่างแก่ผู้ร่วมอาชีพ เนื่องจากการจัดหาพัสดุจะต้องมีความ เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝูาย ได้แก่ ผู้ขายหรือผู้รับจ้างซึ่งมีจ านวนมากรายในการประมูลโครงการแต่ละครั้ง มีการได้เปรียบ เสียเปรียบในระหว่างผู้ประมูล มีการสูญเสียผลประโยชน์ทางการค้าระหว่างคู่แข่งขันกันในการ ประมูลโครงการ เจ้าหน้าที่จึงต้องมีจริยธรรมในการปฏิบัติงาน

    หน่วยงานราชการเป็นผู้ใช้อ านาจบริหารของรัฐภายใต้กฎหมาย เพ่ือให้สังคมมีความเป็นอยู่อย่าง สันติ มีความสุขสงบร่วมกัน ปกปูองคุ้มครองผลประโยชน์ของทางราชการ ให้ความยุติธรรมเสมอภาค ปูองกัน การเอารัดเอาเปรียบ ไม่ให้มีการน าเอาอ านาจรัฐไปใช้ในทางมิชอบ เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็น มีการแข่งขันราคาท่ีสมบูรณ์ มีการเปิดเผยขอ้มูล เพ่ือประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องติดต่อสัมพันธ์กับทางราชการ ดังนั้น เจ้าหน้าที่พัสดุจึงควรมีจริยธรรมในการปฏิบัติงานการจัดซื้อจัดจ้าง ดังนี้

    1. ด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างอย่างตรงไปตรงมา ด้วยความซื่อสัตย์และเป็นธรรม 2. ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎ ระเบียบ กฎหมาย ที่ก าหนดไว้และเก่ียวข้องอย่างเคร่งครัด 3. ละเว้นการรับสินบน ค่าการจ้างวาน ในการอ านวยความสะดวกแก่ผู้มาติดต่อ 4. ละเว้นการให้ความร่วมมือ สนับสนุนการกระท าของผู้ขาย/ผู้รับจ้างที่มีเจตนาท าการทุจริต

    ไม่ว่าทางใด ๆ แม้จะไม่ผิดกฎหมายก็ตาม แต่เป็นการท าให้ผู้อ่ืนหรือคู่แข่งขันเสียเปรียบ 5. ละเว้นการรับของขวัญ ของรางวัล ของก านัลใด ๆ จากผู้ชาย/ผู้รับจ้าง พึงระลึกไว้เสมอว่า

    การแสดงไมตรีจิตด้วยการปฏิบัติตามกฎหมาย การมีน้ าใจและการปฏิบัติตามหน้าที่ย่อมเป็นการ เหมาะสมและเพียงพอแล้ว

    6. ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ เสียสละและให้ความช่วยเหลือในด้นที่เป็นประโยชน์ ต่อสังคมและชุมชนอย่างแท้จริง เช่น การบริจาคสิ่งของ/ปัจจัยต่างๆตามความเหมาะสมและจ าเป็น 7. มีทัศนคติที่ถูกต้องและมีความศรัทธาต่อองค์กรอย่างแท้จริง

  • 4

    แนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พัสดุ

    กรมบัญชีกลางได้ด าเนินการพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 4 เพ่ิมเติมจากระบบ (e-G) ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 และระยะที่ 3 โดยครอบคลุมทุกกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างด้วย วิธีการอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนครอบคลุมวิธีการจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด 3 วิธี และมีการเชื่อมโยงกับระบบภายนอกอ่ืนๆ อาทิ เชื่อมโยงกับระบบของธนาคาร และระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์(Government Fiscal Management Information System : GFMIS)

    การเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบ e-GP ระยะที่ 4 ไปยังระบบ GFMIS Web Online ถือปฏิบัติตาม เรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

    1. หนังสือส านักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.117/3667 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2559 เรื่อง การปรับปรุงหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนของส านักงาน กศน.

    2. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405.2/ว 320 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2560 เรื่อง การก าหนดสินค้าส าหรับด าเนินการจัดหาด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e- market) เพ่ิมเติม

    3. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุดที่ กค 049.3ว 322 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2560 เรื่องแนวทางปฏิบัติในการด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement : e-GP)

    4. หนังสือส านักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.117/4563 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2560 เรื่อง แนวปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและกรบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

    5. หนังสือกรมบัญชีกลางด่วนที่สุด ที่กค (กวจ) 052 356 ลงวันที่ 13 กันยายน 2560 เรื่อง แนวทางปฏิบัติไนการต าเนินกาจัดซื้อจัดจังเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ประจ าปีงบประมาณ 2560 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2560

    6. หนังสือกรมบัญชีกลางด่วนที่สุดที่ กค(กวจ) 0405.2ว 395 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2560 เรื่อง การจัดอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าเช่าที่พัก ของหน่วยงานของรัฐ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2553 หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องของหน่วยงานของรัฐนั้น

    7. ก าหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่รับจัดสรเงินงบประมาณต้องด าเนินการบันทึกข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ e-GP ระยะที่ 4 เพ่ือให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบ e-GP ระยะที่ 4 ไปยังระบบ GFMIS Web Online โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2560 เป็นต้นไป

    8. เจ้าหน้าที่ ควรเข้ารับการอบรมทุกครั้งในเรื่องการเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบ e-GP กับระบบ GFMIS Web Online ซึ่งคลังจังหวัดด าเนินการจัดอบรมให้อย่างสม่ าเสมอถ้ามีการเปลี่ยนแปลงระบบ

    9. เจ้าหน้าที่ ต้องตรวจสอบหนังสือราชการ แนวทางการด าเนินการในช่วงเวลาที่ระบบ e-GP ไม่สามารถปฏิบัติงานไต้ ซึ่งกรมบัญชีกลางจะแจ้งแนวทางปฏิบัติในระบบ e-GP และเตรียมช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐผ่านทางเว็บไซต์ www.cgd.go.th facebookcgd และ facebook e-GP เป็นต้น เพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง

  • 5

    หน่วยที่ 2

    กระบวนการเตรียมการและจัดหาพัสดุ

    การจัดซื้อ/การจัดจ้าง

    “การจัดซื้อการจัดจ้าง” หมายความว่า การด าเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุโดยการซื้อ จ้าง เช่าแลกเปลี่ยน หรือโดยนิติกรรมอ่ืนตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง

    “พัสดุ” หมายความว่า สินค้า งานบริการ งานก่อสร้าง งานจ้างที่ปรึกษาและงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง รวมทั้งการด าเนินการอ่ืนตามที่ก าหนดในกฎหระทรวง

    “การบริหารพัสดุ” หมายความว่า การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การบ ารุงรักษา และการจ าหน่ายพัสดุ

    การจดัซื้อ/การจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กฎกระทรวงก าหนดให้หน่วยงานอื่นเป็นหน่วยงานของรัฐตามตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการ บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 มีวิธีการด าเนินการจ าแนกเป็น 3 วิธี ดังนี้

    1. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป ได้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรวจตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐก าหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ

    2 วิธีการคัดเลือก ไต้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐก าหนดซึ่งต้องไม่น้อยสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ วันแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ก าหนดน้อยกว่าสามราย

    3. วิธีเฉพาะเจาะจง ได้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หวยงานของรัฐก าหนดรายใดรายหนึ่งให้เข้ายื่นข้อเสนอ หรือใหเ้ข้ามาเจรจาต่อรองราคารวมทั้งการ จัดซื้อจัดจ้างพัสดุกับผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่ก าหนดในกฎกระทวงที่ออกตามความในมาตรา 96 วรรคสอง

    ทั้งนี้ กศน.อ าเภอได้รับมอบอ านาจให้ด าเนินการซื้อ/การจ้าง ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กฎกระทรวงก าหนดให้หน่วยงานอ่ืนเป็นหน่วยงานของรัฐตามตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มีวิธีการด าเนินการจ าแนกเป็น 3 วิธี ได้แก่ 1.วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป 2.วิธีการคัดเลือก 3.วิธีเฉพาะเจาะจง ซึ่งในคู่มือเล่มนี้จะยกตัวอย่างเพียง 1 วิธีโดยมีผังกระบวนการขั้นตอนการซื้อ/การจ้างทั้ง 1 วิธี ดังนี้

  • 6

    ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง

    จัดซื้อ/จ้าง จัดซื้อ/จ้าง

    วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท วงเงินเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 500,000 บาท ไม่ต้องจัดท าแผนจัดซื้อ/จ้าง ไม่ต้องจัดท าแผนจัดซื้อ/จ้าง ยกเว้นตามาตรา 11 (2) ยกเว้นตามาตรา 11 (2) บันทึกรายงานขอซื้อ/จ้าง บันทึกรายงานขอซื้อ/จ้าง แต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ แต่งตั้งคณะกรรมการซื้อ/จ้าง และคณะกรรมการตรวจรับ สืบราคาจากร้านที่ต้องการ สืบราคาจากร้านที่ต้องการ เพียงรายเดียว หากประสงค์จะสืบ เพียงรายเดียว หากประสงค์จะสืบ ราคามากกว่า 1 รายก็ได้ ราคามากกว่า 1 รายก็ได้ บันทึกรายงานผลการพิจารณา บันทึกรายงานผลการพิจารณา และขออนุมัติซื้อ/จ้าง และขออนุมัติจัดซื้อ/จ้าง พร้อมออกใบสั่งซื้อ/จ้าง พร้อมออกใบสั่งซื้อ/จ้าง รายงานผลการตรวจรับพัสดุ รายงานผลการตรวจรับพัสดุ โดยผู้ตรวจรับพัสดุ โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ บันทึกขออนุมัติเบิกจ่ายเงิน บันทึกขออนุมัติเบิกจ่ายเงิน

    เอกสารแนบท้าย

    หมายเลข 1 (หน้า63-68)

  • 7

    หน่วยที่ 3

    การบริหารพัสดุ

    ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุเมื่อด าเนินการจัดหาพัสดุมาแล้วจะต้องด าเนินการรับพัสดุและลงทะเบียนเพ่ือบันทึกข้อมูลให้เรียบร้อยก่อนมีการเบิกจ่ายออกไป เพื่อเป็นการควบคุมทรัพย์สินทางราชการและเป็นการจ าหน่ายออกจากบัญชีควบคุมตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐพ.ศ. 2560 ต่อไป การบริหารพัสดุ

    การบริหารพัสดุ ตามระเบียบกระทวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย

    1. การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย 2. การยืม 3. การบ ารุงรักษา การตรวจสอบ 4. การจ าหน่ายพัสดุ

    1. การเก็บและการบันทึก ผังข้ันตอนการเก็บและการบันทึก

    ผังกระบวนการ วิธีปฏิบัติ/ระยะเวลา รายละเอียด/ข้อสังเกต รับพัสดุ/ลงบัญชี

    -ลงบัญชีหรือทะเบียนเพ่ือควบคุมพัสดุแล้วแต่กรณี แยกเป็นชนิดและแสดงรายการตามตัวอย่างที่ กวพ.ก าหนด โดยมีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบรายการเป็นหลักฐาน เอกสารและหลักฐานการลงบัญชีและทะเบียนพัสดุ -หลักฐานการรับพัสดุ >หลักฐานแสดงการได้มา -หลักฐานการเบิกจ่าย>ใบเบิกพัสดุ -บัญชีวัสดุ > ใช้แบบตามตัวอย่างที่ กวพ. ก าหนด -ทะเบียนคุมทรัพย์สิน > ใช้แบบตามตัวอย่างที่กรมบัญชีกลางก าหนด

    - ส าหรับพัสดุประเภทอาหารสดจะลงรายการอาหารสดทุกชนิดในบัญชีเดียวกันก็ได้

    เก็บรักษา -เก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบ เรียบร้อยปลอดภัย และให้ครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชี หรือทะเบียน

  • 8

    2. การยืม

    1. การให้ยืม หรือน าพัสดุไปใช้ในกิจการ ซึ่งมิใช่เพ่ือประโยชน์ของทางราชการจะกระท ามิได้ 2. การยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ให้ผู้ยืมท าหลักฐานการยืมเป็นลายลักษณ์อักษรแสดงเหตุผลและ

    ก าหนดวันส่งคืน โดยมีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 2.1 การยืมระหว่างหน่วยงานของรัฐ จะต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผู้ให้ยืม 2.2 การให้บุคคลยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน จะต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้า

    หน่วยงานซึ่งรับผิดชอบพัสดุนั้น แต่ถ้ายืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐจะต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ

    3. ผู้ยืมพัสดุประเภทใช้คงรูปจะต้องน าพัสดุนั้นมาส่งคืนให้ในสภาพที่ใช้การได้เรียบร้อย หากเกิดช ารุด เสียหาย หรือใช้การไม่ได้ หรือสูญหายไป ให้ผู้ยืมจัดการแก้ไขซ่อมแซมให้คงสภาพเดิมโดยเสียค่าใช้จ่ายของตนเอง หรือชดใช้เป็นพัสดุประเภท ชนิด ขนาด ลักษณะและคุณภาพอย่างเตียวกัน หรือชดใช้เป็นเงินตามราคาที่เป็นอยู่ในขณะยืม โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้

    3.1 ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลังก าหนด 3.2 ราชการส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร หรือเมือง

    พัทยา แล้วแต่กรณี ก าหนด 3.3 หน่วยงานของรัฐอ่ืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่หน่วยงานของรัฐนั้นก าหนด 4 การยืมพัสดุประเภทสิ้นเปลืองระหว่างหน่วยงานของรัฐให้กระท าได้เฉพาะเมื่อหน่วยงานของรัฐผู้ยืมมี

    ความจ าเป็นต้องใช้พัสดุนั้นเป็นการีบด่วน จะด าเนินการจัดหาได้ไม่ทันการและหน่วยงานของรัฐผู้ให้ยืมมีพัสดุนั้น ๆ พอที่จะให้ยืมได้ โดยไม่เป็นการเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐของตน และให้มีหลักฐานการยืมเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ โดยปกติหน่วยงานของรัฐผู้ยืมจะต้องจัดหาพัสดุเป็นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกันส่งคืนให้หน่วยงานของรัฐผู้ให้ยืม

    5. เมื่อครบก าหนดยืม ให้ผู้ให้ยืมรับหน้าที่แทนมีหน้าที่ติดตามทวงพัสดุที่ให้ยืมไปคืนภายใน 7 วัน นับ แต่วันครบก าหนด 3. การบ ารุงรักษา การตรวจสอบ การบ ารุงรักษา

    1. ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีผู้ควบคุมดูแลพัสดุที่อยู่ในความครอบครองให้อยู่ในสภาพที่พร้อม ใช้งานได้ตลอดเวลา โดยให้มีการจัดท าแผนการซ่อมบ ารุงที่เหมาะสมและระยะเวลาในการซ่อมบ ารุงด้วย ในกรณีที่พัสดุเกิดการช ารุด ให้หน่วยงานของรัฐด าเนินการซ่อมแซมให้กลับมาอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน โดยเร็ว

  • 9

    การตรวจสอบพัสดุ

    1. ภายในเตือนสุดท้ายก่อนสิ้นปีงบประมาณของทุกปี ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือหัวหน้าหน่วย พัสดุตามข้อ 205 แต่งตัง้ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุซึ่งมิใช่เป็นเจ้าหน้าที่ ตามความจ าเป็น เพ่ือตรวจสอบการรับจ่ายพัสดุในงวด 1 ปีที่ผ่านมา และตรวจรับพัสดุประเภทคงเหลืออยู่เพียงวันสิ้นงวดนั้น

    ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มด าเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดท าการวันแรกของปีงบประมาณเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียนหรือไม่มีพัสดุใดช ารุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด หรือพัสดุใดไม่จ าเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไปแล้วให้เสนอรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าวต่อผู้แต่งตั้งภายใน 30 วันท าการ นับแต่วันเริ่มด าเนินการตรวจสอบพัสดุนั้น

    เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุแล้ว ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ1 ชุด และส่งส าเนารายงานไปยังส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 1 ชุด พร้อมทั้งส่งส าเนารายงานไปยังหน่วยงานต้นสังกัด (ถ้ามี) 1 ชุด ด้วย

    2 เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุตามข้อ 213 และปรากฎว่ามีพัสดุ ช ารุด เสื่อมสภาพ หรือสูญไป หรือไม่จ าเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไป ก็ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหา ข้อเท็จจริงขึ้นคณะหนึ่ง โดยให้น าความในข้อ 26 และข้อ 27 มาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่กรณีท่ีเห็นได้อย่าง ชัดเจนว่า เป็นการเสื่อมสภาพเนื่องจากการใช้งานตามปกติหรือสูญไปตามธรรมชาติให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ พิจารณาสั่งการให้ด าเนินการจ าหน่ายต่อไปได้

    ถ้าผลการพิจารณาปรากฎว่า จะต้องหาตัวผู้รับผิดด้วย ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐด าเนินการตาม กฎหมายและระเบียบที่เก่ียวข้องของทางราชการหรือของหน่วยงานของรัฐนั้นต่อไป 4. การจ าหน่ายพัสดุ

    1. หลังจากการตรวจสอบแล้ว พัสดุใดหมดความจ าเป็นหรือหากใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไปจะ สั้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ให้เจ้าหน้าที่เสนอรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เพ่ือพิจารณาสั่งให้ด าเนินการตาม วิธีการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้

    1.1ขาย ให้ด าเนินการขายโดยวิธีทอดตลาดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดีให้น าวิธี ที่ก าหนดเกี่ยวกับการซื้อมาใช้โดยอนุโลม วันแต่กรณี ดังต่อไปนี้

    (ก) การขายพัสดุครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท จะขายโดยวิธีเฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากันโดยไม่ต้องทอดตลาดก่อนก็ได้

    (ข) การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา 47(7) แห่งประมวลรัษฎากร ให้ขายโดยวิธีเฉพาะเจาะจงโดยการเจจาตกลงราคากัน

  • 10

    (ค) การขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ แท็บเล็ต ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐที่หน่วยงานของรัฐมอบให้ไว้ใช้งานในหน้าที่ เมื่อบุคคลดังกล่าวพันจากหน้าที่หรืออุปกรณ์ดังกล่าวพันระยะเวลา การใช้งานแล้ว ให้ขายให้แก่บุคคลดังกล่าวโดยวิธีเฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากัน

    การขายโดยวิธีทอดตลาดให้ถือปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายท าการประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศขายทอดตลาด กรณีที่เป็นพัสดุที่มีการจ าหน่ายเป็นการทั่วไปให้พิจารณาราคาที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่นของสภาพปัจจุบันของพัสดุนั้น ณ เวลาที่จะท าการขาย และควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม กรณีที่เป็นพัสดุที่ไม่มีการจ าหน่ายทั่วไป ให้ พิจารณาราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งานรวมทั้งสภาพและสถานที่ตั้งของพัสดุด้วยทั้งนี้ ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบราคาประเมินดังกล่าวโดยค านึงถึงประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐด้วย

    หน่วยงานของรัฐจะจ้างผู้ประกอบการที่ให้บริการขายทอดตลาดเป็นผู้ด าเนินการก็ได้ 1.2 แลกเปลี่ยน ให้ด าเนินการตามวิธีการแลกเปลี่ยนที่ก าหนดไว้ในระเบียบนี้ 13 โอน ให้โอนแก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา 477) แห่งประมวล

    รัษฎากร ทั้งนี้ ให้มีหลักฐานการส่งมอบไว้ต่อกันด้วย 1.4 แปรสภาพหรือท าลาย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หน่วยงานของรัฐก าหนดการด าเนินการตามวรรค

    หนึ่ง โดยปกตีให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับถัดจากวันที่หัวหน้าหน่วยงานของรัฐสั่งการ 2. เงินพ่ีดักการจ าหน่ายพัสดุให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายที่

    เกี่ยวข้องทางการเงินของหน่วยงานของรัฐนั้น หรือข้อตกลงในส่วนที่ใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ แล้วแต่กรณี การจ าหน่ายเป็นสูญ

    1. ในกรณีที่พัสดุสูญไปโดยไม่ปรากฎตัวผู้รับผิดหรือมีตัวผู้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช้ได้หรือมีตัวพัสดุอยู่แต่ไม่สมควรค าเนินการตามข้อ 215 ให้จ าหน่ายพัสดุนั้นเป็นสูญ ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

    (1) ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,000,000 บาท ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเป็น ผู้พิจารณาอนุมัต ิ

    (2) ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันเกิน 1,000,000 บาท ให้ด าเนินการดังนี้ (ก) ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค ให้อยู่ในอ านาจของกระทรวงการคลังเป็น

    ผู้อนุมัต ิ (ข) ราชการส่วนท้องถิ่น ให้อยู่ในอ านาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

    หรือนายกเมืองพัทยา แล้วแต่กรณี เป็นผู้อนุมัติ (ค) หน่วยงานของรัฐอ่ืน ผู้ใดจะเป็นผู้มีอ านาจอนุมัติให้เป็นไปตามที่หน่วยงานของรัฐนั้นก าหนด

  • 11

    รัฐวิสาหกิจใดมีความจ าเป็นจะก าหนดวงเงินการจ าหน่ายพัสดุเป็นสูญตามวรรคหนึ่งแตกต่างไปจากท่ี ก าหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้เสนอต่อคณะกรรมการวินิจฉัยเพ่ือขอความเห็นชอบ และเมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วให้รายงานส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบด้วย การลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน

    1. เมื่อไต้ค าเนินการตามข้อ 215 และข้อ 217 แล้ว ให้เจ้าหนา้ที่ลงจ่ายพัสดุนั้นออกจากบัญชีหรือ ทะเบียนทันที แล้วแจ้งให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบภายใน 3 วัน นับแต่วันลงจ่ายพัสดุนั้นส าหรับพัสดุซึ่งต้องจดทะเบียนตามกฎหมายให้แจ้งแก่นายทะเบียนภายในระยะเวลาที่กฎหมายก าหนดด้วย

    2. ในกรณีที่พัสดุของหน่วยงานของรัฐเกิดช ารุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไป หรือไม่จ าเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนมีการตรวจสอบตามข้อ 213 และได้ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ หรือระเบียบนี้โดยอนุโลม แล้วแต่กรณี เสร็จสิ้นแล้ว ถ้าไม่มีระเบียบอ่ืนใดก าหนดไว้เป็นการเฉพาะ ให้ด าเนินการตามข้อ 215 ข้อ 216 ข้อ 217 และข้อ 218 โดยอนุโลม

  • 12

    หน่วยที่ 4 การจัดท าบัญชีวัสดุ การจัดท าบัญชีวัสดุ วัสดุทุกประเภท รวมทั้งอาหารสด

    1. การลงบัญชีวัสดุให้แยกเป็นแต่ละชนิดของวัสดุโดยไม่ต้องแยกแผนงาน หรือ งาน หรือโครงการ หรือ

    การจัดซื้อจัดจ้างแต่ละครั้ง 2. บัญชีวัสดุให้ลงแต่ละปีงบประมาณ ที่มีการรับ – จ่ายและเมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ยกยอดคงเหลือไป

    งบประมาณถัดไป 3. จัดท าบัญชีให้เป็นปัจจุบันเพ่ือให้ยอดคงเหลือถูกต้องตรงตามวัสดุคงเหลือ 4. ให้ตรวจนับพัสดุคงเหลือในบัญชีวัสดุเป็นประจ าทุกเดือน

    การลงบัญชีวัสดุ

    1. การรับพัสดุ เมื่อเจ้าหน้าที่พัสดุได้รับมอบพัสดุจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุให้ตรวจสอบวัสดุกับใบส่งของให้ตรงกันก่อนแล้ว ให้น าใบตรวจพัสดุที่ลงเลขที่เอกสารการรับแล้ว และใบส่งของเป็นหลักฐานในการลงบัญชี

    2. การจ่ายวัสดุ เมื่อเจ้าหน้าที่ได้จ่ายวัสดุให้น าใบเบิกพัสดุมาลงเลขที่เอกสารจ่ายแล้วน ามาเป็นหลักฐานในการตัดจ่ายวัสดุในบัญชีวัสดุ

    ขั้นตอนและวิธีการลงบัญชีวัสดุ

    4.1 จัดท าบัญชีวัสดุ ตามแบบที่ กวพ. ก าหนด โดยแยกประเภทของวัสดุตามที่ก าหนดในหนังสือ การจ าแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณของส านักงบประมาณ เช่น วัสดุส านักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์วัสดุ งานบ้านงานครัว เป็นต้น และแยกชนิดของวัสดุ เช่น กระดาษถ่ายเอกสาร กระดาษปกสีกระดาษรองปกสี เป็นต้น

    4.2 ให้จัดท าสารบัญหรือดัชนีของบัญชีวัสดุแต่ละประเภท โดยแยกชนิดให้ชัดเจน เพ่ือสะดวกแก่ การลงบัญชีและการตรวจสอบ

    4.3 เมื่อได้รับวัสดุและหลักฐานการรับวัสดุแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พัสดุให้เลขที่เอกสารด้านรับ เลขที่รับ เอกสารให้เรียงล าดับตามวัน เวลาที่ได้รับ เป็นล าดับไป เช่น ร.1 ร.2 ร.3 ตามล าดับแยกเป็นปีงบประมาณ เพ่ือเป็นเลขที่อ้างอิงในการบันทึกบัญชีวัสดุ หรืออาจอ้างอิงเลขที่ใบส่งของผู้ขายก็ได้

    4.4 บันทึกรับวัสดุในบัญชีวัสดุตามรายการในเอกสารประกอบการรับวัสดุได้แก่ วันเดือนปีที่ได้รับ วัสดุชื่อผู้ขาย เลขที่เอกสาร ราคาต่อหน่วย (ราคารวมภาษีมูลค่าเพ่ิม) และจ านวนวัสดุที่รับ

    4.5 เมื่อจ่ายพัสดุแล้ว ให้บันทึกจ่ายวัสดุในบัญชีวัสดุตามรายการในใบเบิกของ ได้แก่ วันเดือนปีที่ จ่ายวัสดุชื่อผู้เบิก และจ านวนที่จ่าย เพ่ือสะดวกในการค้นหาและตรวจสอบได้ในบัญชีวัสดุจะมีข้อความ “แผ่น ที่” ให้ระบุเลขที่แผ่นที่ ไว้ในช่องหมายเหตุของหลักฐานการรับในแต่ละรายการด้วย และเพ่ือให้ทราบว่า รายการนี้ได้ลงบัญชีแล้ว

    4.6 ทุกสิ้นปีงบประมาณให้ท าการตรวจสอบพัสดุประจ าปีและรายงานวัสดุคงเหลือ โดยสรุป รายการรับ - จ่ายวัสดุจ านวนคงเหลือ และมูลค่าของวัสดุคงเหลือในแต่ละรายการ เพ่ือให้กองคลัง สป. ด าเนินการปรับปรุงบัญชีวัสดุคงคลังในภาพรวม

  • 13

    ตัวอย่างการบันทึกบัญชีวัสดุ

    วันที่ 16 กันยายน 2562 ส านักงานซื้อวัสดุเพื่อใช้ในการท างานธุรการ ดังนี้

    1. กระดาษ A 4 5 รีม รีมละ 130 บาท เป็นเงิน 650 บาท 2. แฟูมเอกสาร A4 5 อัน อันละ 50 บาท เป็นเงิน 250 บาท 3. หมึกพิมพ์ 1 กล่อง กล่องละ 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

    รวมเป็นเงิน 2,900 บาท ตามใบตรวจรับเลขที่ 53/2562 เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2562

  • 14

    ใบเบิกพัสดุ

    เล่มที่....... เลขที่ .........../2562 สว่นราชการ ส านักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

    วันที่ 16 เดือน กันยายน พ.ศ. 2562 ข้าพเจ้าขอเบิกสิ่งของตามรายการต่อไปนี้ เพ่ือใช้ในการจัดสอบเทียบระดับมิติความรู้ความคิด 1/2562

    ที ่ รายการ จ านวน ราคา/หน่วย รวมเงิน หมายเหตุ 1 2 3

    ซองน้ าตาล F4 ขยายข้าง กาว UHU เชือกฟาง

    25 ซอง 2 แท่ง 1 ม้วน

    7 89 35

    175 178 35

    ราคารวม 362.62 ภาษีมูลค่าเพ่ิม 7% 25.38 ก เจริญ

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น (สามร้อยแปดสิบแปดบาทถ้วน) 388 53/2562 มีให้เบิก............3.............รายการ ลงชื่อ...................................................ผูเ้บิก ค้างเบิก...............-.............รายการ (นางสาวเมธินี ก าไลเพ็ชร)

    ต าแหน่ง นักจัดการงานทั่วไป (ลงชื่อ).................................................เจ้าหน้าที่จ่าย (นางสาวบุหลัน เผื่อนศรีเมือง) ได้มอบให้......................-...................เป็นผู้รับของ

    ลงชื่อ.....................-..........................ผู้มอบ ได้รับของถูกต้องครบถ้วนแล้ว

    (ลงชื่อ)........................................ผู้สั่งจ่าย ลงชื่อ ................................................ผู้รับของ (นางสุภาวดี สุนทโรสถ์) (นางสาวเมธินี ก าไลเพ็ชร)

  • 15

    การเบิกจ่ายพัสดุ (ข้อ 204-206)

    ให้หัวหน้าหน่วยพัสดุซึ่งเป็นหัวหนระดับแผนกหรือต่ ากว่าระดับแผนกที่เกี่ยวกับการควบคุมพัสดุ หรือข้าราชการซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการเป็นหัวหนหน่วยพัสดุ เป็นผู้สั่งจ่ายพัสดุ แล้วแต่กรณี

    ส่วนราชการใดมีความ