18
นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง 1 งานวิจัยในชั้นเรียน คานา งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาความสามารถด้านการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่อ่อนรายวิชาการใช้ โปรแกรมกราฟิกส์ โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้นของนักเรียนชั้นปวช.2/1 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที1/2555 ได้จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาผลการเรียนของนักเรียนที่ตกในหน่วยการเรียนรายวิชาการใช้ โปรแกรมกราฟิกส์ ให้พัฒนาไปในทางที่พึงประสงค์ ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการวิจัยเรื่องนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ที่ศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน เพื่อนาไปสู่การเรียน การสอน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ ผู้วิจัย

ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

1 งานวิจัยในชั้นเรียน

ค าน า

งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาความสามารถด้านการเรียนรู้ส าหรับผู้เรียนที่อ่อนรายวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้นของนักเรียนชั้นปวช.2/1 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1/2555 ได้จัดท าขึ้นเพ่ือพัฒนาผลการเรียนของนักเรียนที่ตกในหน่วยการเรียนรายวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ ให้พัฒนาไปในทางท่ีพึงประสงค์ ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการวิจัยเรื่องนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ที่ศึกษา เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน เพ่ือน าไปสู่การเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

ณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ ผู้วิจัย

Page 2: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

2 งานวิจัยในชั้นเรียน

สารบัญ

เรื่อง หน้า 1. ค าน า 2. สารบัญ 3. บทน า 4. เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง 5. วิธีด าเนินการวิจัย 6. ผลการวิจัย 7. สรุปผลและข้อเสนอแนะ 8. บรรณานุกรม 9. ภาคผนวก

1 2 3 5

10 11 13 14 15

Page 3: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

3 งานวิจัยในชั้นเรียน

บทที่ 1 บทน า

1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีภารกิจและบทบาทในการจัดการศึกษาวิชาชีพแก่ประชาชนด้านวิชาชีพ มีระบบการเรียนการสอนด้านวิชาชีพที่หลากหลายทั้งรูปแบบและเนื้อหาที่น าไปใช้ประกอบอาชีพ มีการน าเทคโนโลยีมาใช้ มีสถานที่หรือสภาพแวดล้อมที่ดี บรรยากาศวิชาการ ในด้านนี้มีความต้องการให้ครูสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นส าคัญเป็นกลยุทธ์ ซึ่งสอดรับกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และแผนพัฒนาการศึกษากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2550 – 2554) การด าเนินงานของวิทยาลัยมีการเปิดสอนสาขาวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิกส์

จากการสอนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ของวิทยาลัยการอาชีพฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2555 จ านวน 14 คน พบว่า ผู้เรียนจ านวน 5 คน ขาดทักษะปฏิบัติงานในแต่ละเนื้อหาที่ถูกต้อง และบางคนไม่สามารถปฏิบัติได้เลย เป็นผลให้ไม่มีชิ้นงานส่งครู หรือชิ้นงานอยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องปรับปรุง

จากปัญหาที่พบ ผู้วิจัยในสถานะที่เป็นผู้หนึ่งที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยเป็นผู้สอนคนหนึ่งในสาขาวิชาพาณิชยกรรม รายวิชาการใช้โปแกรมกราฟิกส์ ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกส์แอนนิเมชัน คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ โปรแกรมส าเร็จรูปในงานอาชีพและคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น จึงสนใจศึกษาเก่ียวกับการพัฒนา ความสามารถด้านการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ วิทยาลัยการอาชีพฝางส าหรับผู้เรียนที่อ่อน โดยใช้เอกสารประกอบที่จัดสร้างข้ึน 1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพ่ือพัฒนาความสามารถด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ถูกต้องตามวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์วิธีการและขั้นตอนยิ่งขึ้น

2. เพ่ือให้ผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ที่เรียนอ่อน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น 1.3 สมมติฐานการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีสมมติฐาน ผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ที่เรียนอ่อน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนสูงกว่าก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียนขึ้น คิดเป็นร้อยละ 20 1.4 ขอบเขตการวิจัย

1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ท าการวิจัยในเนื้อหาเรื่องการพัฒนาความสามารถด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ วิทยาลัยการอาชีพฝางส าหรับผู้เรียนที่อ่อน โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้น ตามหลักสูตรของวิทยาลัยการอาชีพฝาง

2. ประชากรของการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ ของวิทยาลัยการอาชีพฝางที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ภาค ก จ านวน 14 คน

3. กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกส์ ของวิทยาลัยการอาชีพฝางที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที ่1 ปีการศึกษา 2555 ภาค ก จ านวน 5 คน

Page 4: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

4 งานวิจัยในชั้นเรียน

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การพัฒนาทักษะ หมายถึง หมายถึง การเพ่ิมความสามารถ ความช านาญ ความถนัด ความถูกต้อง

แม่นย า ให้มากขึ้นไปกว่าเดิม 2. ความสามารถด้านการเรียนรู้ หมายถึง ความข้าใจความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเกิดจาก

ประสบการณ ์3. โปรแกรมตกแต่งภาพ หมายถึง โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าหรับการ

ออกแบบรูปภาพและตกแต่งภาพ รวมทั้งการออกแบบรูปทรงต่างๆ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย 4. เอกสารประกอบการเรียน หมายถึง โปรแกรมส าเร็จรูปด้านการปรับแต่งภาพ (Adobe Photoshop

CS4) 5. ผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หมายถึง ผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนในวิชาการใช้โปรแกรม

ตกแต่งภาพ ปีการศึกษา 2555 วิทยาลัยการอาชีพฝาง 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ผู้เรียนมีการพัฒนาในการปฏิบัติชิ้นงานได้อย่างถูกต้องตามวิธีการและขั้นตอนดีขึ้นหลังการฝึกโดยใช้เอกสารประกอบ

2. ผู้สอนสามารถใช้เอกสารประกอบการเรียนส าหรับการจัดการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์เพ่ือฝึกทักษะความสามารถทางการเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนในสาขาพาณิชยกรรมให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น

Page 5: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

5 งานวิจัยในชั้นเรียน

บทที ่2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาการพัฒนาการพัฒนาความสามารถด้านการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ วิทยาลัยการอาชีพฝาง ส าหรับผู้เรียนที่อ่อน โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้น ตามหลักสูตรของวิทยาลัยการอาชีพฝาง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการศึกษาดังกล่าว ผู้วิจัยได้เสนอรายละเอียดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้

1. ความหมายและความส าคัญของการพัฒนาทักษะ 2. ความสามารถด้านการเรียนรู้ 3. โปรแกรมตกแต่งภาพ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะ

ทักษะ (Skill) พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายไว้ คือ ความช านาญ พจนานุกรมแปลภาษา ไทย-อังกฤษ (NECTEC's Lexitron Dictionary) ได้ให้ความหมาย ว่า ทักษะ คือ ความสามารถ , ความถนัด ,ความช านาญ ,ฝีไม้ลายมือ ,ความสามารถเฉพาะ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ครอนบาร์ค (Cronbach.1977 : 393 อ้างถึงใน สาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล) กล่าวว่า ทักษะว่าเป็นการปฏิบัติที่เกิดจากการเรียนรู้สามารถกระท าได้โดยแทบจะไม่ต้องใช้ความคิด ซึ่งเมื่อพิจารณาความหมายและลักษณะของทักษะข้างต้นจะเห็นได้ว่าการปฏิบัติการอย่างมีทักษะจ าเป็นต้องอาศัยพัฒนาการของกระบวนการเรียนรู้และกลไกการท างานของกล้ามเนื้อในการปฏิบัติการ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากเกณฑ์ 4 ประการคือ ความเร็ว (Speed) ความแม่นย า (Accuracy) ลักษณะท่าทาง (Form) และความคล่องตัว (Adaptability) กล่าวคือ คนที่มีทักษะย่อมสามารถปฏิบัติการอย่างรวดเร็วภายในเวลาอันจ ากัด มีความแม่นย าในการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ ไม่ขัดเขินผิดพลาด ใช้พลังงานหรือความพยายามน้อยท่ีสุด และสามารถปฏิบัติการได้ในสถานการณ์ที่แตกต่างออกไป ทักษะจึงมีลักษณะส าคัญ 3 ประการ คือ เป็นการตอบสนองทางกลไกที่ต่อเนื่องกันเป็นลูกโซ่ (Response Chain)เป็นการเกี่ยวข้องและประสานกันในการเคลื่อนไหวของ อวัยวะ(Movement Coordination) และเป็นการจัดระเบียบต่อเนื่องในการตอบสนองเข้าเป็นรูปแบบการตอบสนองที่ ซับซ้อน ซึ่งการริสสันและแมกอน (Garrison and Magoon. 1972 : 640) กล่าวว่า

ทักษะเป็นแบบของพฤติกรรมที่กระท าไปด้วยความราบเรียบ (Smooth)รวดเร็ว แม่นย า และมีความสอดคล้องผสมผสานกันอย่างเหมาะสมของกล้ามเนื้อต่าง ๆ อันเป็นผลมาจากการพัฒนาความสามารถของบุคคล ดังนั้น สรุปได้ว่า การพัฒนาทักษะ หมายถึง การเพ่ิมความสามารถ ความช านาญ ความถนัด ความถูกต้องแม่นย า ให้มากขึ้นไปกว่าเดิม ทฤษฎีการเรียนรู้

การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่ท าให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่ผู้สอนน าเสนอโดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอ้ืออ านวยต่อการเรียนรู้ที่จะให้เกิดขึ้นเป็นรูปแบบใดก็ได้

Page 6: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

6 งานวิจัยในชั้นเรียน

เช่น ความเป็นกันเอง ความเข้มงวดกวดขัน หรือความไม่มีระเบียบวินัย สิ่งเหล่านี้ผู้สอนจะเป็นผู้สร้างเงื่อนไขและสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน (วิกิพีเดีย สารานุกรม เสรี 2011)

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bloom ( Bloom's Taxonomy) Bloom ได้แบ่งการเรียนรู้เป็น 6 ระดับ -ความรู้ที่เกิดจากความจ า (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด -ความเข้าใจ (Comprehend) -การประยุกต์ (Application) -การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ -การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถน าส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูป

เดิม เน้นโครงสร้างใหม่ -การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐาน

ของเหตุผลและเกณฑ์ท่ีแน่ชัด การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์ (Mayor)

ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน การวิเคราะห์ความจ าเป็นเป็นสิ่งส าคัญ และตามด้วยจุดประสงค์ของการเรียน โดยแบ่งออกเป็นย่อยๆ 3 ส่วนด้วยกัน

-พฤติกรรม ควรชี้ชัดและสังเกตได้ -เงื่อนไข พฤติกรรมส าเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ -มาตรฐาน พฤติกรรมที่ได้นั้นสามารถอยู่ในเกณฑ์ท่ีก าหนด

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์ (Bruner)

-ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์ -ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน -ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ -ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง -ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง -เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์ (Tylor)

-ความต่อเนื่อง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ต้องเปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆ และต่อเนื่องกัน

-การจัดช่วงล าดับ (sequence) หมายถึง หรือการจัดสิ่งที่มีความง่าย ไปสู่สิ่งที่มีความยาก ดังนั้นการจัดกิจกรรมและประสบการณ ์ให้มีการเรียงล าดับก่อนหลัง เพ่ือให้ได้เรียนเนื้อหาที่ลึกซ้ึงยิ่งขึ้น

-บูรณาการ (integration) หมายถึง การจัดประสบการณ์จึงควรเป็นในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้เพ่ิมพูนความคิดเห็นและได้แสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เนื้อหาที่เรียนเป็นการเพิ่มความสามารถทั้งหมด ของผู้เรียนที่จะได้ใช้ประสบการณ์ได้ในสถานการณ์ต่างๆ กัน ประสบการณ์การเรียนรู้ จึงเป็นแบบแผนของปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว่างผู้เรียนกับสถานการณ์ที่แวดล้อม

Page 7: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

7 งานวิจัยในชั้นเรียน

ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่ (Gagne)

-การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้ -การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Apprehending Phase) ผู้เรียนจะรับรู้สิ่งที่สอดคล้องกับความตั้งใจ -การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจ า ( Acquisition Phase)ให้เกิดความจ าระยะสั้นและระยะยาว -ความสามารถในการจ า (Retention Phase) -ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว (Recall Phase ) -การน าไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase) -การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ ( Performance Phase) -การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน ( Feedback Phase) ผู้เรียนได้รับทราบผลเร็วจะท าให้มีผลดี

และประสิทธิภาพสูง

องค์ประกอบที่ส าคัญที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ จากแนวคิดนักการศึกษา กาเย ่(Gagne) -ผู้เรียน ( Learner) มีระบบสัมผัสและ ระบบประสาทในการรับรู้ -สิ่งเร้า ( Stimulus) คือ สถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นสิ่งเร้าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ -การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดข้ึนจากการเรียนรู้

การสอนด้วยสื่อตามแนวคิดของกาเย่ (Gagne)

-เร้าความสนใจ มีโปรแกรมที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน เช่น ใช้ การ์ตูน หรือ กราฟิกท่ีดึงดูดสายตา -ความอยากรู้อยากเห็นจะเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียน การตั้งค าถามก็เป็นอีกสิ่งหนึ่ง -บอกวัตถุประสงค์ ผู้เรียนควรทราบถึงวัตถุประสงค์ ให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียนเพ่ือให้ทราบว่าบทเรียน

เกี่ยวกับอะไร -กระตุ้นความจ าผู้เรียน สร้างความสัมพันธ์ในการโยงข้อมูลกับความรู้ที่มีอยู่ก่อน เพราะสิ่งนี้สามารถท า

ให้เกิดความทรงจ าในระยะยาวได้เมื่อได้โยงถึงประสบการณ์ผู้เรียน โดยการตั้งคาถาม เกี่ยวกับแนวคิด หรือเนื้อหานั้นๆ

-เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการอธิบายเนื้อหาให้กับผู้เรียน โดยใช้สื่อชนิดต่างๆ ในรูป กราฟิก หรือ เสียง วิดีโอ

-การยกตัวอย่าง การยกตัวอย่างสามารถท าได้โดยยกกรณีศึกษา การเปรียบเทียบ เพ่ือให้เข้าใจได้ซาบซึ้ง -การฝึกปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดทักษะหรือพฤติกรรม เป็นการวัดความเข้าใจว่าผู้เรียนได้เรียนถูกต้อง เพ่ือให้

เกิดการอธิบายซ้ าเมื่อรับสิ่งที่ผิด -การให้ค าแนะน าเพิ่มเติม เช่น การท าแบบฝึกหัด โดยมีค าแนะน า -การสอบ เพ่ือวัดระดับความเข้าใจ -การน าไปใช้กับงานที่ท าในการท าสื่อควรมี เนื้อหาเพ่ิมเติม หรือหัวข้อต่างๆ ที่ควรจะรู้เพิ่มเติม

Page 8: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

8 งานวิจัยในชั้นเรียน

2.2 งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง นายสัมฤทธิ์ ชิณวงษ์ (บทคัดย่อ : 2550) เรื่อง การหาประสิทธิภาพชุดการเรียนรู้วิชาการออกแบบ

โปรแกรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2546 เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพชุดการเรียนรู้ วิชาการออกแบบโปรแกรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (Computer Assistance in Designs) และเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการออกแบบโปรแกรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2546 วิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรีผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ค่าประสิทธิภาพชุดการเรียนรู้วิชาการออกแบบโปรแกรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย มีค่าเท่ากับ 81.33/83.62 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการออกแบบโปรแกรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2546 วิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรีของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 9: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

9 งานวิจัยในชั้นเรียน

บทที ่3 วิธีการด าเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนา ความสามารถด้านการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ วิทยาลัย

การอาชีพฝางส าหรับผู้เรียนที่อ่อน โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้น 3.1 แบบแผนการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพ่ือการพัฒนา ความสามารถด้านการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์วิทยาลัยการอาชีพฝางส าหรับผู้เรียนที่อ่อน โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้น ผู้วิจัยได้ด าเนินการตามข้ันตอน ดังนี้

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรของการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ของวิทยาลัยการอาชีพฝาง ที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก จ านวน 14 คน

กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ของวิทยาลัยการอาชีพฝางที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที ่1 ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก จ านวน 5 คน 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย

1. เครื่องมือทดลอง - แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ของวิทยาลัย การอาชีพฝาง - เอกสารประกอบการเรียน

2. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล - แบบทดสอบวัดความสามารถในการเรียนก่อนการใช้เอกสารประกอบ - แบบทดสอบวัดความสามารถในการเรียนหลังการใช้เอกสารประกอบ - แบบบันทึกผลการทดสอบ - แบบสรุปผลการวิจัย

3.4 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือแต่ละประเภท 1. วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาการใช้โปรแกรมตกแต่งภาพ

- ศึกษาข้อมูลรายละเอียดของหลักสูตร - วิเคราะห์เนื้อหาหลักสูตร - จ าแนกระดับความส าคัญของเนื้อหา

2. สร้างชุดเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ - แบบรายงานผลการฝึกปฏิบัติก่อนการใช้เอกสารประกอบ - แบบบันทึกผลการฝึกปฏิบัติหลังการใช้เอกสารประกอบ - แบบสรุปผลการฝึกปฏิบัติ

Page 10: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

10 งานวิจัยในชั้นเรียน

3.5 การด าเนินการวิจัย 1. เตรียมความพร้อมผู้เรียน โดยการอธิบายลักษณะของเอกสารประกอบการเรียน 2. ทดสอบความสามารถในการตกแต่งภาพ โดยใช้แบบทดสอบท่ี 1 เรื่องการตกแต่งภาพ ก่อนใช้เอกสาร

ประกอบการเรียน 3. เก็บสถิติ ของข้อ 2 ไว้ในแบบสรุปผลการเรียน ในส่วนก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียน 4. สอนให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน 5. ทดสอบความสามารถด้านการตกแต่งภาพ โดยใช้แบบทดสอบท่ี 2 เรื่องการตกแต่งภาพหลังการใช้

เอกสารประกอบการเรียน 6. เก็บสถิติ ของข้อ 5 ไว้ในแบบสรุปผลการปฏิบัติด้านตกแต่งภาพในส่วนหลังการใช้เอกสารประกอบ 7. น าสถิติข้อ 3 มาเปรียบเทียบกับสถิติในข้อ 6 เป็นรายงานบุคคล 8. สรุปผลการวิจัย

3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล

1. วิเคราะห์ข้อมูลการใช้เอกสารประกอบการเรียน โดยหาค่าร้อยละเป็นรายบุคคล 2. วิเคราะห์ข้อมูลการพิมพ์หลังการใช้เอกสารประกอบการเรียน โดยหาค่าร้อยละเป็นรายบุคคล 3. วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยรายบุคคลและรายกลุ่ม

Page 11: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

11 งานวิจัยในชั้นเรียน

บทที ่4 ผลการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาความสามารถด้านการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรม

กราฟิกส์ วิทยาลัยการอาชีพฝางส าหรับผู้เรียนที่อ่อน โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้น โดยมีเครื่องมือในการการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์หลักสูตร 72 ชั่วโมง ของวิทยาลัย การอาชีพฝาง , เอกสารประกอบการเรียน และมีเครื่องในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบรายงานผลการตกแต่งภาพก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียน ,แบบบันทึกผลการตกแต่งภาพหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียน ,แบบสรุปผลการฝึกปฏิบัติด้านการตกแต่งภาพ ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ ปีการศึกษา 2555 จ านวน 5 คน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 แสดงผลการทดสอบก่อนการใช้เอกสารประกอบ ของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2555 ตารางท่ี 4.1 แสดงผลการทดสอบการฝึกปฏิบัติด้านการตกแต่งภาพก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2555 ของผู้เรียนจ านวน 5 คน จากทั้งหมด 14 คน

ล าดับที่

ชื่อ – สกุล

ผลการฝึกปฏิบัติก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

คิดเป็นร้อยละ

1 นายฉัตรชนะ ผอบเพ็ชร 2 20 2 นายชาตรี แซ่หยิ่ง 1 10 3 นายดนัย แซ่หวู่ 3 30 4 นายนครินทร์ ทวีอภิรดี

มณี 2.5 25

5 นายนพดล อินสวน 1.5 15 จากตารางท่ี 4.1 พบว่า จากจ านวนนักศึกษาท่ีเข้ารับการทดสอบจ านวน 5 คน มีความสามารถด้านการตกแต่งภาพอยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องปรับปรุง

ตอนที่ 2 แสดงผลการทดสอบการฝึกปฏิบัติด้านการตกแต่งภาพหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 ของผู้เรียนจ านวน 5 คน จากทั้งหมด 14 คน

Page 12: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

12 งานวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 4.2 แสดงผลการทดสอบการฝึกปฏิบัติด้านการตกแต่งภาพหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 ของผู้เรียนจ านวน 5 คน จากทั้งหมด 14 คน

ล าดับที่

ชื่อ – สกุล

ผลการฝึกปฏิบัติหลังใช้ เอกสารประกอบการเรียน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

คิดเป็นร้อยละ

1 นายฉัตรชนะ ผอบเพ็ชร 7 70 2 นายชาตรี แซ่หยิ่ง 6 60 3 นายดนัย แซ่หวู่ 9 90 4 นายนครินทร์ ทวีอภิรดีมณี 8 80 5 นายนพดล อินสวน 7 70

จากตารางท่ี 4.2 พบว่า จากจ านวนนักศึกษาท่ีเข้ารับการทดสอบจ านวน 5 คน มีการพัฒนาด้านการเรียนรู้วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ที่เพิ่มขึ้น

ตอนที่ 3 แสดงผลสรุปการทดสอบการฝึกปฏิบัติด้านการตกแต่งภาพก่อนและหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียน ของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 ปรากฏผล ดังนี้

ล าดับที ่

ชื่อ – สกุล

ก่อนการใช้เอกสาร

ประกอบการเรียน

(ร้อยละ)

หลังการใช้เอกสาร

ประกอบการเรียน

(ร้อยละ)

ความแตกต่าง

ทักษะเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อย

ละ

1 นายฉัตรชนะ ผอบเพ็ชร 20 70 50 50 2 นายชาตรี แซ่หยิ่ง 10 60 50 50 3 นายดนัย แซ่หวู่ 30 90 60 60 4 นายนครินทร์ ทวีอภิรดีมณี 25 80 55 55 5 นายนพดล อินสวน 15 70 55 55

ตารางท่ี 4.3 พบว่าทักษะด้านการตกแต่งภาพก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียน และหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ หลักสูตร 72 ชั่วโมง ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555 ผู้เรียนมีการพัฒนาความสามารถด้านการเรียนรู้วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์เพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 60 , 55 และ 50

Page 13: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

13 งานวิจัยในชั้นเรียน

บทที ่5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือการพัฒนา ความสามารถด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรม

กราฟิกส์ วิทยาลัยการอาชีพฝางส าหรับผู้เรียนที่อ่อน โดยใช้เอกสารประกอบที่สร้างขึ้น เพ่ือให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนสูงกว่าก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียนขึ้น คิดเป็นร้อยละ 20 ส าหรับผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ห้อง ก จ านวน 5 คน เมื่อท าการทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียนดังกล่าวแล้วท าการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ ร้อยละ ผลการวิเคราะห์ พบว่า ผู้เรียนวิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ที่มีความสามารถด้านการตกแต่งภาพซึ่งอยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องปรับปรุง เมื่อใช้เอกสารประกอบการเรียนเป็นระยะเวลา 15 วัน ปรากฏว่าผู้เรียนมีการพัฒนาความสามารถด้านการตกแต่งภาพเพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 60 , 55 และ 50 5.1 อภิปรายผล

จากผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ปรากฏว่าผู้เรียนมีการพัฒนาความสามารถด้านการเรียนรู้เกี่ยวกับการตกแต่งภาพ ซึ่งผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมที่ฝึกได้เป็นอย่างดี และเม่ือสิ้นสุดการฝึก ผู้เรียนมีทักษะการปฏิบัติและการจัดองค์ประกอบต่าง ๆของผลงานที่เกิดจากการเรียนวิชาการใช้โปรแกรมตกแต่งภาพดีขึ้นคิดเป็นร้อยละ 60 , 55 และ 50 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom) ได้แบ่งการเรียนรู้เป็น 6 ระดับคือ ความรู้ที่เกิดจากความจาก (Knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด ความเข้าใจ (Comprehend) การประยุกต์ (Application)การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ , การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถน าส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่ , การประเมินค่า (Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ท่ีแน่ชัด และทฤษฎีการเรียนรู้ของไทเลอร์ (Tylor) ความต่อเนื่อง(continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะต้องเปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆ และต่อเนื่องกัน การจัดช่วงล าดับ (sequence) หมายถึง การจัดสิ่งที่มีความง่ายไปสู่สิ่งที่มีความยาก ดังนั้น การจัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้มีการเรียงล าดับก่อนหลังเพ่ือให้ได้เรียนเนื้อหาที่ลึกซ้ึงยิ่งขึ้น บูรณาการ (integration)หมายถึง การจัดประสบการณ์จึงควรเป็นในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เพ่ิมพูนความคิดเห็นและได้แสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เนื้อหาที่เรียนเป็นการเพิ่มความสามารถทั้งหมด ของผู้เรียนที่จะได้ใช้ประสบการณ์ได้ในสถานการณ์ต่างๆ กัน ประสบการณ์การเรียนรู้จึงเป็นแบบแผน เป็นเพราะเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาความสามารถด้านการตกแต่งภาพที่ดีข้ึนเป็นผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาต่าง ๆ ทันกับผู้เรียนคนอ่ืน ๆ ในหลักสูตรเดียวกัน แสดงว่าเอกสารประกอบการเรียนช่วยให้ผู้เรียนมีการพัฒนาความสามารถด้านการตกแต่งภาพในหลักสูตรการใช้โปรแกรมกราฟิกส์ดีขึ้น

5.2 ข้อเสนอแนะ

-ทางโรงเรียนควรจัดให้ผู้เรียนฝึกเพ่ิมเติมในด้านการตกแต่งภาพเพ่ิมเติม หรือควรเพิ่มชั่วโมงการเรียนในด้านของการตกแต่งภาพในวิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกส์

-ในการวิจัยครั้งต่อไปควรท ากับกลุ่มตัวอย่างอ่ืน ๆ เช่น ผู้ที่มีพ้ืนฐานการศึกษาต่างกันเป็นต้น

Page 14: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

14 งานวิจัยในชั้นเรียน

บรรณานุกรม

การเรียนรู้ จาก http://th.wikipedia.org/wiki สืบค้นเมื่อ15 มกราคม 2554. แผนพัฒนาการเรียนการสอน ประจ าปีการศึกษา 2553 – 2555.วิทยาลัยการอาชีพฝาง เชียงใหม่

ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. พระราชพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

http://www.seal2thai.org/kru/kru012e.htm พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน , พจนานุกรมแปลภาษา ไทย-อังกฤษ (NECTEC's Lexitron

Dictionary) http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?select=1&q=%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B0&ie=utf8

Garrison, K.C. , & Magoon, R.(1972). Educational psychology.Ohio: Charles E. Morrill Publishing century-crofts.

ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมและคณะ . http://piyaahtorn.com/learning1.htm สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม. 2554” สัมฤทธิ์ ชิณวงษ์ . การหาประสิทธิภาพชุดการเรียนรู้วิชาการออกแบบโปรแกรมใช้คอมพิวเตอร์

ช่วยต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2546 วิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรี. 2550.

สุภาภักดิ ์แก้วศรีมล การศึกษาเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียน3 สาขาวิชาการบัญชีกับนักเรียน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีหมู่บ้านครู บริหารธุรกิจ http://supapuk.multiply.com/journal/item/23/23

Page 15: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

15 งานวิจัยในชั้นเรียน

ภาคผนวก

Page 16: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

16 งานวิจัยในชั้นเรียน

ภาคผนวก

ตัวอย่างเอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการเรียนการสอนการท ากรอบรูปโดยใช้ Layer Mask และ Brush Tool เพื่อให้ได้กรอบรูปลักษณะแบบรอยลากพู่กัน

ขั้นตอนที่ 1 เลยก็เปิดโปรแกรม Photoshop ในเครื่องขึ้นมาและท าการ Open File รูปที่ต้องการจะน ามาตกแต่งภาพ การสร้างกรอบรูปเข้ามาในโปรแกรม Photoshop

ขั้นตอนที่ 2 หลังจากเปิดไฟล์ขึ้นมาแล้ว ให้ท าการสร้าง Layer ใหม่ โดยการคลิกท่ี Creat a new Layer ตามภาพต าแหน่งหมายเลข 2 ดังภาพด้านบน ซึ่งจะท าให้มี Layer เพ่ิมข้ึนมาอีก 1 Layer ดังภาพด้านล่างในต าแหน่งที่ 3

Page 17: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

17 งานวิจัยในชั้นเรียน

ขั้นตอนที่ 3 ต่อมาเราจะท าการ Add Layer Mask ให้กับเลเยอร์ที่ได้สร้างข้ึนใหม่ ซึ่งสามารถท าได้โดยการคลิกที่ปุ่ม Add layer mask ดังภาพด้านล่างในต าแหน่งที่ 4

ขั้นตอนที่ 4 จะเป็นขั้นตอนการเลือกหัวแปรง หรือ Brush ซึ่งท าได้โดยเลือกเครื่องมือ Brush Tool

จาก Tool Box ดังภาพในต าแหน่งที่ 5 หลังจากนั้นให้เปลี่ยนหัวแปลงให้มีลักษณะคล้ายพู่กัน ท าได้โดยคลิกที่ต าแหน่ง A จากนั้นคลิกที่ต าแหน่ง B เพ่ือเลือกลักษณะรูปแบบ Brush โดยให้เลือกเป็น Thick Heavy Brushes และเลือก Brush ที่มีชื่อว่า Flat Bristle ตามภาพในต าแหน่ง C

Page 18: ค าน า - fve.ac.thfve.ac.th/car/2555/term1/062.pdf · นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม่ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นายณัฐพงษ์ สมบัติใหม ่

แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพฝาง

18 งานวิจัยในชั้นเรียน

ขั้นตอนที่ 5 เมื่อได้เลือกหัวแปรงเรียบร้อยแล้ว ให้ท าการคลิกท่ี Layer ที่เราได้สร้างเตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 2 และได้สร้าง Layer Mask ไว้แล้ว (Layer ด้านบนที่พื้นสีขาว) โดยให้คลิกบริเวณท่ีเป็น Layer Mask จากนั้นให้คลิกเมาส์และลาก Brush ลงบนภาพ ในลักษณะคล้าย ๆ การระบายสีภาพ เมื่อเราท าตามข้ันตอนในข้อ 5 เสร็จ เราก็จะได้ผลลัพธ์ลักษณะตามภาพสุดท้าย แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย สามารถตกแต่งเพ่ิมเติมให้เหมือนภาพลักษณะภาพวาดสีน้ ามันก็ได้