116
ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลปกครองกลาง วันทีเดือน กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๓ สมาคมตอตานสภาวะโลกรอน ทีผูฟองคดี สมาคมสมัชชาองคกรเอกชนดานการคุมครองสิ่งแวดลอมและ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ทีนายสุทธิ อัชฌาศัย ทีนายเจริญ เดชคุทีนายนอย ใจตั้ง ทีนายสวัต สุดเสนาะ ทีนายวิรัตน มีทรัพยทอง ทีนายอัชกุล นิละวัน ทีนายนิคม จันทรหอม ทีนายวาฑิต วสุวัฒนกุล ที๑๐ นางสาวสิทธิมา ชุณหอโณทัย ที๑๑ นายจงรักษ หมื่นภักดี ที๑๒ นายผูก ชวยผดุง ที๑๓ นางสาวเล็ก อํามะรี ที๑๔ นายเชิด พฤกษาชาติ ที๑๕ นางอารมณ สดมณี ที๑๖ คําพิพากษา (. ๑๘) คดีหมายเลขดําที๙๐๘/๒๕๕๒ คดีหมายเลขแดงที๑๓๕๒/๒๕๕๓

ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย

ศาลปกครองกลาง

วันที่ ๒ เดือน กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๓

สมาคมตอตานสภาวะโลกรอน ที่ ๑ ผูฟองคดี สมาคมสมชัชาองคกรเอกชนดานการคุมครองสิ่งแวดลอมและ อนุรักษทรพัยากรธรรมชาติ ที่ ๒ นายสุทธิ อชัฌาศัย ที่ ๓ นายเจริญ เดชคุม ที่ ๔ นายนอย ใจตั้ง ที่ ๕ นายสวัต สุดเสนาะ ที่ ๖ นายวิรัตน มีทรัพยทอง ที่ ๗ นายอัชกุล นิละวัน ที ่๘ นายนิคม จนัทรหอม ที่ ๙ นายวาฑิต วสุวัฒนกุล ที่ ๑๐ นางสาวสิทธิมา ชุณหอโณทัย ที่ ๑๑ นายจงรักษ หมื่นภักดี ที่ ๑๒ นายผูก ชวยผดุง ที่ ๑๓ นางสาวเล็ก อํามะรี ที่ ๑๔ นายเชิด พฤกษาชาต ิ ที่ ๑๕ นางอารมณ สดมณี ที่ ๑๖

คําพิพากษา

(ต. ๑๘)

คดีหมายเลขดําที่ ๙๐๘/๒๕๕๒

คดีหมายเลขแดงที่ ๑๓๕๒/๒๕๕๓

Page 2: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

นายอุน หอมหวล ที่ ๑๗ นางวัลภา เอี่ยมวิไล ที ่๑๘ นางสาวบรรจง อํามะร ี ที่ ๑๙ นางมารินทร อํามะรี ที่ ๒๐ นางสาวทิพวรรณ อํามะรี ที ่๒๑ นายโสภณ อํามะร ี ที่ ๒๒ นางยุพิน พรรณา ที่ ๒๓ นายชาลี พรรณา ที่ ๒๔ นายสมศักด์ิ อํามะรี ที่ ๒๕ นางจรรยา อํามะร ี ที่ ๒๖ นางสาวอภญิญา คมคาย ที่ ๒๗ นายเทอดศักด์ิ พรรณา ที่ ๒๘ นางสํารวย อํามะร ี ที่ ๒๙ นางบุญช ู อาํมะรี ที ่๓๐ นายธงไชย พรมนาค ที่ ๓๑ นางบังอร วงัเวง ที่ ๓๒ นางพัชรี ดิษฐเย็น ที่ ๓๓ นางดวงฤทยั ดีย่ิง ที่ ๓๔ นางดารี่ จนัทรหอม ที่ ๓๕ นายจาํนงค วังเวง ที่ ๓๖ นายทวี หอมหวล ที่ ๓๗ นายสมนึก พรหมชาต ิ ที่ ๓๘ นางวิลัย เคลาคลอง ที่ ๓๙ นายอรุณ หอมหวล ที ่๔๐ นางเจน กล่ินหอม ที ่๔๑

Page 3: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

นางวรรณา สุธิ ที่ ๔๒ นายปรีชา นิลวงศ ที่ ๔๓ คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ที่ ๑ เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาต ิและส่ิงแวดลอม ที่ ๒ รัฐมนตรวีาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ที ่๓ รัฐมนตรวีาการกระทรวงอุตสาหกรรม ที ่๔ รัฐมนตรวีาการกระทรวงพลังงาน ที ่๕ รัฐมนตรวีาการกระทรวงคมนาคม ที ่๖ รัฐมนตรวีาการกระทรวงสาธารณสุข ที่ ๗ การนคิมอตุสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ ๘ ผูถูกฟองคดี

เร่ือง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายและ

ละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร

คดีนี้ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามฟองวา ผูถูกฟองคดีทั้งแปดไดรวมกันออกคําส่ังโดยไมถูกตองตามขั้นตอน วิธีการอันเปนสาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการกระทํานั้น ตลอดจนละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร กลาวคือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดบัญญัติเกี่ยวกับกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของรัฐไวใน หลายมาตรา โดยเฉพาะมาตรา ๖๗ วรรคสอง กําหนดใหโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพจะกระทํามิได เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน จัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน และใหองคกรอิสระซึ่งประกอบดวยผูแทนองคกรเอกชนดานสิ่งแวดลอม

ระหวาง

Page 4: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

และสุขภาพ และผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาดานสิ่งแวดลอม หรือทรัพยากรธรรมชาติ หรือดานสุขภาพ ใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพเสียกอน ซึ่งเรื่องดังกลาวเปนอํานาจหนาที่ของผูถูกฟองคดีทั้งแปดจะตองอนุวัตตามเจตนารมณของกฎหมายใหเกิดผลใชบังคับทันที อยางไรก็ตาม นับตั้งแตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลใชบังคับ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดยังคงรับเรื่องพิจารณา หรือใหความเห็นชอบ อนุมัติ อนุญาตใหดําเนินโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพในพื้นที่จังหวัดระยองตามปกติเหมือนที่เคยทํามา โดยไมสนใจวาจะตองนําบทบัญญัติของกฎหมายที่กลาวมาไปปฏิบัติในทันที ผูฟองคดีที่ ๑ ที่ ๒ และท่ี ๓ เคยสงหนังสือไปยังผูถูกฟองคดีทั้งแปดผานหนวยงานตาง ๆ ที่รับผิดชอบและเกี่ยวของ เพื่อใหปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมาย แตผูถูกฟองคดีท้ังแปดกลับเพิกเฉยไมใสใจตอ ขอคัดคานของผูฟองคดีที่ ๑ กับพวก และชาวบาน การเพิ่มโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของชาวบานมาอยางตอเนื่องและ เพิ่มมากขึ้น ประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนและพื้นที่ใกลเคียงที่ไดรับมลพิษหลายราย ตองลมปวยและเสียชีวิตไปดวยโรคอันเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ซึ่งผูถูกฟองคดีทั้งแปด ไดทราบถึงเหตุความเดือดรอนเสียหายที่เกิดข้ึนจากแหลงกําเนิดมลพิษดังกลาว แตไมไดแกไขหรือส่ังการใหเปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่กําหนดไว ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ัง ดังตอไปนี้ (๑) ใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ หรือที่ ๒ เพิกถอนรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการหรือกิจกรรมที่อยูในพื้นที่จังหวัดระยอง ตามบัญชีโครงการเอกสารทายฟองที่ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผูชํานาญการแลว นับตั้งแตวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ เปนตนมา จนถึงวันที่ศาลมีคําวินิจฉัยหรือมีคําพิพากษาทั้งหมด และขอใหศาลสั่งให ผูถูกฟองคดีทั้งแปดดําเนินการใหครบถวนตามรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๗ วรรคสอง ประกอบพระราชบัญญัติ

Page 5: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐

(๒) ใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่ ๕ และที่ ๖ เพิกถอนใบอนุญาตโครงการหรือกิจกรรมที่เขาขายเปนโครงการหรือกิจกรรมที่ไดจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมที่อยูในพื้นที่มาบตาพุด บานฉาง และพ้ืนที่ใกลเคียงในจังหวัดระยอง ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ และขอใหระงับการดําเนินกิจกรรมใด ๆ ในปจจุบันสําหรับโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการที่ผูขออนุญาต หรือเจาของโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการที่กําลังดําเนินการอยูในปจจุบันนี้ ที่ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่ ๕ และที่ ๖ แลวแตกรณี ไดอนุญาตไปแลว นับตั้งแตวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ เปนตนมา จนถึงวันที่ศาลมีคําวินิจฉัยหรือมีคําพิพากษานั้นไดยุติลงกอนเปนการชั่วคราว เพื่อใหไปทําการศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพส่ิงแวดลอมและสุขภาพใหครบถวนกอน ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๗ วรรคสอง และพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐

(๓) ใหผูถูกฟองคดีทั้งแปดหรือหนวยงานที่เกี่ยวของรวมกันออกระเบียบ หรือหลักเกณฑ หรือการอื่นใดตามขั้นตอนทางกฎหมายภายใน ๓๐ วันนับแตวันที่ศาล มีคําวินิจฉัยหรือมีคําพิพากษาเพื่อรองรับใหผูประกอบการ หรือเจาของโครงการหรือกิจกรรม หรือบริษัทที่ปรึกษาที่รับทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ไดดําเนินการตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๗ และพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยถูกตอง ดังนี้ (๓.๑) จัดใหมีการศึกษาหรือประเมินผลกระทบดานสุขภาพของประชาชนในชุมชนที่ โครงการหรือกิจกรรมน้ันไปกอตั้งหรือดําเนินการในพื้นที่ อยางทั่วถึงและรอบดาน (๓.๒) จัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและ ผูมีสวนไดเสียกอน อยางทั่วถึงและรอบดาน (๓.๓) จัดใหองคการอิสระซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชน ดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ และผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา

Page 6: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

ดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพ ใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการ ผูฟองคดีที่ ๑ กับพวกไดย่ืนคําขอลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๒ มาพรอมกับคําฟองโดยขอใหศาลกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองใด ๆ เพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษาคดี โดยขอใหศาลมีคําสั่งใหโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการใด ๆ ที่กําลังดําเนินการกอสรางในพื้นที่ตําบลมาบตาพุด อําเภอบานฉาง และใกลเคียงจังหวัดระยอง จํานวน ๗๖ โครงการ ตามเอกสารหมายเลข ๗ ทายฟอง ใหระงับโครงการ ไวชั่วคราวกอนศาลจะมีคําพิพากษาคดี

ศาลปกครองกลางมีคําส่ังลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ กําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเปนการชั่วคราวกอนการพิพากษาคดี โดยใหผูถูกฟองคดี ทั้งแปดสั่งระงับโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองไวเปนการชั่วคราวจนกวาศาลจะมีคําพิพากษาหรือมีคําส่ังเปล่ียนแปลงเปนอยางอื่น ยกเวนโครงการหรือกิจกรรม ที่ไดรับใบอนุญาตกอนวันประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โครงการหรือกิจกรรมที่ไมไดกําหนดใหเปนประเภทโครงการหรือกิจกรรมท่ีตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามประกาศกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการ ซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒ ทั้งนี้ ไมรวมถึงการดําเนินการเพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

ผูถูกฟองคดีทั้งแปดและผูมีสวนไดเสียย่ืนอุทธรณคําส่ังศาลปกครองกลาง ซึ่งศาลปกครองสูงสุดมีคําส่ังที่ ๕๙๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๒ แกคําส่ังของ ศาลปกครองกลาง เปนใหผูถูกฟองคดีทั้งแปดสั่งระงับโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารหมายเลข ๗ ทายคําฟอง ไวเปนการชั่วคราวจนกวาศาลจะมีคําพิพากษาหรือคําส่ังเปล่ียนแปลงเปนอยางอื่น ยกเวนโครงการหรือกิจกรรมประเภทอุตสาหกรรม ลําดับที่ ๑๖ ลําดับที่ ๒๒ ลําดับที่ ๓๗ ลําดับที่ ๔๑ ลําดับที่ ๔๕ ลําดับที่ ๕๐ ลําดับที่ ๕๔ และประเภท

Page 7: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

คมนาคม ลําดับที่ ๒ ลําดับที่ ๓ ลําดับที่ ๔ และลําดับที่ ๖ นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําส่ังของศาลปกครองกลาง ผูถูกฟองคดีทั้งแปดใหการวา ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไมมีสิทธิฟองคดีนี้เนื่องจากผูฟองคดีที่ ๔ ถึงที่ ๔๓ เปนเพียงชาวบานที่กระจายตัวพักอาศัยอยูในเขตพื้นที่ตําบลมาบตาพุด มิไดเปนผูนําชุมชนและมิใชผูรับมอบอํานาจจากชุมชน และถูกตอตานจากคนในชุมชนและในโรงงาน จึงไมมีสิทธิฟองคดีนี้โดยอางสิทธิของชุมชนตามมาตรา ๖๗ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ผูฟองคดีที่ ๓ ไมไดอยูในพื้นที่จึงไมไดรับผลกระทบเสียหายใด ๆ จากมลพิษ และไมไดรับมอบอํานาจจากชุมชนสวนใหญในพื้นที่ใหย่ืนฟองคดีนี้ จึงไมมีสิทธิฟองคดีนี้ ผูฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ ไมมีสิทธิฟองคดีนี้ซึ่งเปนการฟองเพื่อเรียกรองสิทธิในการมีสวนรวมของชุมชน เพราะรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีเจตนารมณรับรองสิทธิของชุมชนในการฟองคดีที่เกี่ยวกับการไมปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ สวนสิทธิในการฟองคดีของบุคคลไดรับรองไวในมาตราอื่น และมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มิไดใหความหมายของชุมชนไววา มีลักษณะเชนใด จึงตองนําความหมายของคําวาชุมชนตามพระราชบัญญัติสภาองคกรชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งเปนกฎหมายที่มีวัตถุประสงครองรับสิทธิของชุมชนตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกันมาใชในการอธิบายความหมาย และตามมาตรา ๓ ของพระราชบัญญัติดังกลาวไดใหความหมายของ ชุมชนวาเปนกลุมประชาชนที่รวมตัวกันโดยมีผลประโยชนและวัตถุประสงครวมกัน เพื่อชวยเหลือหรือสนับสนุนกัน หรือทํากิจกรรมอันชอบดวยกฎหมายและศีลธรรมรวมกัน หรือดําเนินการอื่นอันเปนประโยชนรวมกันของสมาชิก มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง และมีระบบบริหารจัดการและการแสดงเจตนาแทนกลุมได โดยรัฐธรรมนูญไมมีเจตนารมณ ใหผูใดก็ไดกลาวอางวาตนเองเปนตัวแทนหรือเปนผูที่ไดรับมอบหมายจากชุมชนโดยไมมีหลักเกณฑกําหนดความหมายและขอบเขตของชุมชนเอาไว เพราะจะทําใหเกิดความเคลือบคลุมหาขอยุติไมไดวาผูใดเปนตัวแทนที่แทจริงของชุมชนและอาจสรางความแตกแยกใหกับชุมชนดังกลาวได ในพื้นที่ที่ตั้งโครงการทั้ง ๗๖ โครงการ มีประชาชนที่รวมตัวกันจัดตั้งเปนชุมชนอยูแลว ๓๑ ชุมชน และประชาชนจํานวนมากไมเห็นดวยกับผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ ที่ย่ืนฟองผูถูกฟองคดีทั้งแปดใหระงับโครงการทั้ง ๗๖ โครงการชั่วคราวกอนที่

Page 8: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

ศาลจะมีคําพิพากษา เนื่องจากไมไดรับมอบหมายหรือไมมีหลักฐานการเปนตัวแทนของชุมชน ผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ จึงไมมีสิทธิตามท่ีมาตรา ๖๗ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จึงถือไมไดวาเปนผูที่ไดรับความเดือดรอน หรือเสียหายหรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงไดตามมาตรา ๔๒ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สําหรับ ผูฟองคดีที่ ๑ และที่ ๒ เปนองคกรเอกชนดานส่ิงแวดลอมแมจะมีวัตถุประสงคในการดําเนินคดีดานส่ิงแวดลอมแทนประชาชน แตเมื่อสิทธิตามมาตรา ๖๗ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนสิทธิของชุมชน และไมปรากฏหลักฐานวาผูฟองคดีที่ ๑ และที่ ๒ ไดรับมอบหมายหรือไดรับการแตงตั้งจากชุมชนใดชุมชนหนึ่ง ใน ๓๑ ชุมชนขางตน จึงไมมีอํานาจในการย่ืนฟองคดีดวยเชนกัน สําหรับพื้นที่มาบตาพุดยังมี ศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับการเปดดําเนินการของโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ เพราะแมจะมีโครงการหรือกิจการหรือโรงงานจํานวน ๑๑๗ โรงงาน เปดดําเนินการอยูกอน แตก็ไมทําใหสภาวะของมลพิษในพื้นที่ถึงข้ันจะเปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และไมมีผลกระทบเสียหายตอคุณภาพสิ่ งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติตามที่บัญญัติ ไว ในมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กระทรวงสาธารณสุขรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยในพื้นที่และสรุปวา ในการเฝาระวังสุขภาพอนามัยของประชาชนรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดไดมีการตรวจหาสารเมตาโบไลทเบนซีนในปสสาวะจากการเฝาระวัง ๒ ป พบวา ขอมูลผูปวยมีลักษณะของการกระจายตัวซึ่งไมมีผลสัมพันธกับมลพิษในอากาศ การเฝาระวังกลุมโรคที่อาจเกี่ยวของกับการสัมผัส ๓ – ๔ กลุมโรค เชน กลุมโรคระบบทางเดินหายใจที่ไมมีไข กลุมผิวหนัง กลุมโรคภูมิแพ มีการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลจากรายงาน ส.๔ ของสถานประกอบการเพื่อทราบสถานการณและสภาวะสุขภาพของผูประกอบอาชีพ และไดมีการวิเคราะหสารโลหะกัมมันตรังสีและกาซเรดอนในตัวอยางดิน อาหารทะเล น้ําจากบอตื้น น้ําจากแหลงสาธารณะและนํ้าทะเลในพื้นที่เทศบาลเมืองมาบตาพุด พบวา อยูในระดับที่ไมเกินคาความปลอดภัย สําหรับสถานการณการเจ็บปวย พบวา โรคท่ีอาจมีผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอม ในพื้นที่จังหวัดระยอง ไดแก โรคระบบทางเดินหายใจและโรคมะเร็ง ไดแก มะเร็งปอด

Page 9: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

มะเร็งตับ มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งมดลูก มะเร็งเตานม และความผิดปกติปริกําเนิด ซึ่งรวบรวมขอมูลตั้งแตป ๒๕๔๗ – ๒๕๕๑ พบวา โรคระบบทางเดินหายใจรวมโรคหอบหืด คิดอัตราสวนของประชากร ๑๐๐,๐๐๐ ราย ในระดับประเทศ ระดับจังหวัดของจังหวัดระยอง และของโรงพยาบาลมาบตาพุดมีแนวโนมเพิ่มข้ึนทุกป แตมีขอสังเกตวาผูปวยจากโรงพยาบาลมาบตาพุดจะนอยกวาอัตราผูปวยในทั้งระดับประเทศและระดับจังหวัด โรคหอบหืดพบวาอัตราปวยโรคหอบหืดในระดับประเทศ ระดับจังหวัดและของโรงพยาบาลมาบตาพุด มีแนวโนมเพิ่มข้ึน มีขอสังเกตวาอัตราผูปวยในที่ไดจากโรงพยาบาลมาบตาพุดนอยกวาทั้ งในระดับประเทศและระดับจังหวัด ยกเวนในป ๒๕๕๑ ที่อัตราผูปวยจะสูงกวา ในระดับประเทศ สวนโรคผิวหนังของโรงพยาบาลมาบตาพุดมีแนวโนมเพิ่มข้ึนจนถึงป ๒๕๔๘ และเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ จนถึงป ๒๕๕๑ ซึ่งไมมีหลักฐานที่บงชี้วาการเจ็บปวยดวยโรคผิวหนังมีสวนสัมพันธกับมลพิษชนิดใดในพื้นที่ สวนโรคความผิดปกติปริกําเนิดอัตราผูปวยในที่ไดจากโรงพยาบาลมาบตาพุดจะต่ํากวาระดับประเทศและระดับจังหวัด โรคมะเร็ง ในภาพรวมพบวา อัตราผูปวยในของโรงพยาบาลมาบตาพุดมีจํานวนนอยกวาระดับประเทศและระดับจังหวัด มีขอสังเกตวามะเร็งตับมีแนวโนมลดลงในป ๒๕๕๑ และโรคมะเร็งปอด มีแนวโนมลดลงตั้งแตป ๒๕๕๐ – ๒๕๕๑ ตามสถิติของจังหวัดระยองเมื่อเทียบกับระดับประเทศ สถานการณดังกลาวเปนฐานขอมูลจากจํานวนผูปวยที่คิดคํานวณเปนอัตราจากจํานวนประชากรตามทะเบียนราษฎร ซึ่งในความเปนจริงสํารวจ พบวา เทศบาลเมืองมาบตาพุดมีประชากรแฝงอยูจํานวนหนึ่ง ป ๒๕๔๙ มีประชากรแฝง ๗๘,๐๐๐ คน ป ๒๕๕๑ มีจํานวนประชากรแฝง ๑๐๒,๐๐๐ ราย เมื่อเทียบกับประชากรตามทะเบียนราษฎรจะมากกวาถึง ๑.๕ เทา หรือ ๒.๕ เทา เมื่อนํามาคํานวณการเจ็บปวยเทียบกับอัตรา ผูปวยจากโรคตาง ๆ ที่มีการคํานวณมาจากขางตนจะมีจํานวนนอยกวาตัวเลขที่มีการนําเสนอในขางตน เชน โรคหอบหืดจะลดลงเมื่อคิดเปนสัดสวน เนื่องจากขอมูลที่มี การประมวลนี้มีการใชขอมูลเฉพาะทะเบียนราษฎรมาคํานวณโดยไมรวมประชากรแฝง กรมควบคุมมลพิษไดสรุปสถานการณส่ิงแวดลอมในพื้นที่มาบตาพุดตามเอกสารซึ่งย่ืนไวในชั้นไตสวนของศาลปกครองกลางวา สถานการณส่ิงแวดลอมทางอากาศ (ก) สารมลพิษทางอากาศพื้นฐาน ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศโดยสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่มาบตาพุด คือ สถานีอนามัยมาบตาพุดและสถานีศูนยวิจัยพืชไร ระหวาง

Page 10: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐

ป ๒๕๔๙ – ๒๕๕๑ พบวา ผลการตรวจวัดคาเฉล่ียของสารมลพิษพื้นฐาน เชน กาซซัลเฟอรไดออกไซด ไนโตรเจนออกไซด ฝุนละออง และอื่น ๆ มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ป ๒๕๕๑ ปริมาณกาซซัลเฟอรไดออกไซดมีปริมาณลดลงเมื่อเทียบกับ ป ๒๕๔๙ และป ๒๕๕๐ และกาซไนโตรเจนออกไซดมีปริมาณลดลงเมื่อเทียบกับป ๒๕๔๙ แตเมื่อเทียบกับป ๒๕๕๐ มีแนวโนมไมเปล่ียนแปลง (ข) สารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศ ได ดําเนินการติดตามตรวจสอบและเก็บตัวอยางสารอินทรียระเหยงาย (VOCs) ในบรรยากาศพื้นที่จังหวัดระยอง โดยทําการเก็บตัวอยางอยางนอยเดือนละ ๑ ครั้ง เปนเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแตเดือนกันยายน ๒๕๔๙ ถึงปจจุบัน ซึ่งมีสถานีเก็บตัวอยางกระจายอยูในพื้นที่ชุมชนใกลเคียงนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด คือ วัดมาบชะลูด โรงเรียนวัดหนองแฟบ สถานีอนามัยมาบตาพุด ศูนยบริการสาธารณสุขบานตากวน ชุมชนบานพลา และเมืองใหมมาบตาพุด ในป ๒๕๕๐ ผลการตรวจวัดตั้งแตเดือน มกราคม – เดือนธันวาคม พบสารเกินคาเฝาระวัง ไดแก สาร ๑.๒ ไดคลอไรอีเธน (เกิน ๑ ครั้ง) ที่บริเวณเมืองใหมมาบตาพุดและสารเบนซีน (เกิน ๑ ครั้ง) ที่บริเวณบานพลา ในป ๒๕๕๑ ผลการตรวจวัดตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคมพบสารเกินคาเฝาระวัง ไดแก สารเบนซีน (เกิน ๑ ครั้ง) ที่บริเวณวัดหนองแฟบ โดยสรุปแลวสถานการณสาร VOCs ที่ตรวจพบคาสูงในป ๒๕๕๑ ดีข้ึนกวาป ๒๕๕๐ ดังจะเห็นไดจากป ๒๕๕๑ มีเพียง สารเบนซีนที่เกินคาเฝาระวัง ๑ ครั้ง และสารเบนซีน ๑ ครั้ง ซึ่งไมเกินคามาตรฐานตามท่ีกฎหมายกําหนด จึงไมเปนอันตรายตอสุขภาพ ในป ๒๕๕๑ ปญหาในภาพรวมของสาร VOCs โดยพิจารณาจากคาเฉล่ียรายปของพื้นที่ลดลง โดยพบสาร VOCs ๗ ชนิดจาก ๙ ชนิด ตามท่ีกําหนดไวในคามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศของสาร VOCs มีแนวโนมลดลงเมื่อเทียบกับป ๒๕๕๐ ไดแก ไตรคลอไรเอทธิลีน ๑.๒ ไดคลอไรโพรเพน เตตระคลอโรเอทิลีน คลอโรฟอรมไวนิลคลอไรด เบนซีน และ ๑.๒ ไดคลอโรอีเทน เมื่อพิจารณาผลการตรวจวัด VOCs เปรียบกับคามาตรฐานเฉล่ียรายปของประเทศไทย พบวา ป ๒๕๕๐ และป ๒๕๕๑ มีสาร VOCs ๓ ชนิด ไดแก เบนซีน ๑.๒ ไดคลอโรอีเทน และ ๑.๓ บิวทาไดอีน มีคาเกินกวาคามาตรฐานเฉลี่ยรายปในบางพื้นที่ แตมีระดับความเขมขนเฉล่ียลดลง อยางไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานหรือขอกําหนดของประเทศญี่ปุนซึ่งมีการศึกษาและพัฒนาวิธีการตรวจวัดสาร VOCs มานานกวาประเทศไทย

Page 11: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑

พบวาคามาตรฐานของประเทศไทยมีความเขมงวดกวาคาที่กําหนดของประเทศญี่ปุนมาก เชน ๑.๓ บิวทาไดอีน (ไทย ๐.๓๓ ไมโครกรัมและญี่ปุน ๒.๕ ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร เบนซีน (ไทย ๑.๗ ไมโครกรัม และญี่ปุน ๓ ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) และ ๑.๒ ไดคลอโรอีเธน (ไทย ๐.๔ ไมโครกรัม และญี่ปุน ๑.๖ ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) เปนตน หากนําผลการตรวจวัดเฉล่ียรายปในพื้นที่มาบตาพุด ไปเปรียบเทียบกับคามาตรฐานของประเทศญี่ปุน พบวา ป ๒๕๕๐ มีสาร VOCs เกินคามาตรฐานของประเทศญี่ปุนจํานวน ๒ ชนิด ไดแก เบนซีน และ ไดคลอโรอีเทน โดยเกินมาตรฐาน ๒ สถานี ป ๒๕๕๑ สถานการณ VOCs ในบรรยากาศมีแนวโนมดีข้ึนโดยมีเพียง ๑.๒ ไดคลอโรอีเทน บริเวณเมืองใหมมาบตาพุดท่ีมีคาเกินเกณฑมาตรฐานที่กําหนดของประเทศญี่ปุน สวน VOCs ชนิดอื่น พบคาอยูในเกณฑมาตรฐานทั้ง ๖ สถานีที่ตรวจวัด ทั้งนี้ป ๒๕๕๑ กรมควบคุมมลพิษไดทําการตรวจวัด VOCs เพิ่มเติม นอกเหนือจากพื้นที่โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ไดแก บริเวณหมูบานนพเกตุ สาธารณสุขมาบขา วัดปลวกเกตุ และสถานีอนามัยหนองจอก พบวา ป ๒๕๕๑ พบสาร VOCs ที่มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานรายป ๘ ชนิด เกินมาตรฐาน ๑ ชนิด คือ สารเบนซีน ที่หมูบานนพเกตุ สถานการณส่ิงแวดลอมทางนํ้า (ก) คุณภาพน้ําทะเลชายฝง กรมควบคุมมลพิษไดตรวจวัดคุณภาพน้ําทะเลชายฝง จํานวน ๒๒ สถานี บริเวณปากคลองที่สําคัญ ไดแก คลองบางกระพรุน คลองบางเบิด คลองระบายน้ํานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด คลองตากวน และหาดทรายทอง คุณภาพน้ําทะเล ป ๒๕๕๑ สวนใหญมีแนวโนมดีข้ึนเมื่อเปรียบเทียบกับป ๒๕๕๐ ตาม ๘ พารามิเตอร ไดแก ออกซิเจนท่ีละลายในนํ้า ไนเตรท ไนโตรเจน ฟอสเฟต ฟอสฟอรัส แอมโมเนีย ไนโตรเจนในรูปที่ไมมีอิออน ปรอท ตะกั่ว ทองแดง และสารหนู บริเวณปากคลองตากวน ที่น้ําทะเลเคยมีสีแดงปจจุบันมีสีปกติ โดยมีเพียงคาแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและแบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรมเทานั้นที่มีคาเพิ่มข้ึน ทั้งนี้ สาเหตุหลักของการเพิ่มข้ึนมาจากการปนเปอนของน้ําเสียจากชุมชนในคลองสาธารณะที่ระบายลงสูทะเล ซึ่งมีผลมาจากระบบรวบรวมน้ําเสียและสถานีสูบน้ําของเทศบาลเมืองมาบตาพุดขัดของไมสามารถใชการ ไดตามปกติซึ่งอยูในระหวางการแกไข (ข) คุณภาพน้ําในคลองสาธารณะ กรมควบคุมมลพิษตรวจวัดคุณภาพน้ําในคลองสาธารณะโดยมีสถานีตรวจวัด ๑๗ แหง ในคลองสาธารณะ ๙ สาย ไดแก คลองระบายน้ํานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด คลองบางเบิด

Page 12: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๒

คลองตากวน คลองบางกระพรุน คลองน้ําหู คลองพยูน คลองน้ําชา คลองหลอด และคลองหวยใหญ คุณภาพน้ําในคลองทุกสายเทียบเทาคุณภาพน้ําตามมาตรฐานแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ ๔ สามารถใชประโยชนในการอุตสาหกรรมและการอุปโภคบริโภคไดโดยผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ พบวาคุณภาพน้ําโดยรวมมีแนวโนมดีข้ึนในป ๒๕๕๑ เมื่อเทียบกับป ๒๕๕๐ ทั้งคลองที่ผานนิคมอุตสาหกรรมและไมผานนิคมอุตสาหกรรม อยางไรก็ตาม คุณภาพน้ําในคลองสาธารณะทุกสายมีแนวโนมของการปนเปอนแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม เพิ่มข้ึนในป ๒๕๕๑ ซึ่งสาเหตุหลักมาจากการปนเปอนของน้ําเสียจากชุมชนอันเปนผลมาจากระบบการรวบรวมน้ําเสียและสถานีสูบน้ําของเทศบาลเมืองมาบตาพุดขัดของไมสามารถใชการไดมาตั้งแตเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๑ ปจจุบันเทศบาลเมืองมาบตาพุดไดรับงบประมาณตามแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในพื้นที่จังหวัดระยองเพื่อซอมแซมและปรับปรุงระบบตามที่กลาวไปขางตนแลว (ค) คุณภาพน้ําใตดิน (น้ําบอตื้นและ น้ําบาดาล) กรมควบคุมมลพิษไดดําเนินการตรวจสอบคุณภาพน้ําจากบอน้ําใตดินในพื้นที่ ๒๗ ชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และพื้นที่ใกลเคียงในจังหวัดระยองตลอดป ๒๕๕๑ รวมทั้งส้ิน ๘๑ บอ แบงเปน บอน้ําบาดาล ๔๐ บอ และบอน้ําตื้น ๔๑ บอ สารมลพิษที่วิเคราะหเพื่อทําการเฝาระวังประกอบดวยโลหะหนัก ๑๐ ชนิด และสาร VOCs ๑๖ ชนิด เทียบกับคามาตรฐานคุณภาพน้ําใตดิน ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอม ฉบับที่ ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๔๓) และมาตรฐานคุณภาพน้ําบาดาลเพื่อการบริโภค พบวา บอน้ําตื้นมีสารพิษ ที่มีคาเกินมาตรฐาน ๑๐ ชนิด แบงเปนโลหะหนัก ๗ ชนิด ไดแก สารหนู เหล็ก แมงกานีส ตะกั่ว นิเกิล ซีลีเนียม และปรอท และสาร VOCs ๔ ชนิด ไดแก ไดคลอโรมีเทน ไดคลอโรอีเทน และคารบอนเตตระคลอไรด อยางไรก็ตาม สารมลพิษดังกลาวมีแนวโนมความเขมขนลดลงตามลําดับ น้ําบาดาลมีสารมลพิษที่มีคาเกินมาตรฐาน ๙ ชนิด แบงเปนโลหะหนัก ๕ ชนิด ไดแก เหล็ก แมงกานีส ตะกั่ว สังกะสี และสารหนู และสาร VOCs ๔ ชนิด ไดแก ไวนีลคลอไรดโมโนเมอร ไดคลอโรอีเทน เบนซีน และไดคลอโรมีเทน การตรวจวัด ป ๒๕๕๑ พบวา คุณภาพน้ําบาดาลสวนใหญมีแนวโนมไมเปล่ียนแปลงไปจากผล การตรวจวัดป ๒๕๕๐ ทั้งนี้ สารหนู เหล็กและแมงกานีส เปนแรธาตุที่พบมากในดินและปนเปอนน้ําใตดินของประเทศไทยอยูแลว จากขอเท็จจริงสถานการณส่ิงแวดลอมในพื้นที่มาบตาพุดท่ีกลาวมา จึงปรากฏชัดเจนวาโรงงานทั้ง ๑๑๗ โรงงาน ซึ่งตั้งและเปดดําเนินการ

Page 13: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๓

อยูกอนวันประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มานับสิบปไมใชโครงการหรือกิจการหรือกิจกรรมที่สงผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชน ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพใด ๆ เลย ดังนั้น โครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ ซึ่งมีสภาพและประเภทที่ไมแตกตางจากโครงการหรือกิจการหรือโรงงานที่มีอยูเดิมแตกลับมีระบบลด ขจัดมลพิษ โดยอาศัยเทคโนโลยี ที่ทันสมัยดวยการลงทุนเปนคาใชจายที่สูงมาก จึงไมใชโครงการหรือกิจการที่จะสงผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชนไมวาในดานใด ๆ ไมวาจะพิจารณารวมทั้ง ๗๖ โครงการหรือกิจการหรือพิจารณาเปนรายโครงการหรือกิจการก็ตาม เมื่อโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ ไมใชโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จึงไมตองดําเนินการใด ๆ ตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามมิไดจําแนกตามหลักวิชาการวาผลกระทบอยางรุนแรงตางกับผลกระทบปกติธรรมดาอยางไร มิไดอางอิงกฎหมาย กฎ หรือหลักการ ทางวิชาการท่ีทําใหเห็นไดวา โครงการหรือกิจกรรมจํานวน ๗๖ โครงการ เปนโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลกระทบตอชุมชนในพื้นที่พิพาทอยางรุนแรงอยางไร ตามขอเท็จจริงชุมชนและผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไมไดรับผลกระทบเสียหายจากการดําเนินโครงการหรือกิจการใด ๆ ทั้งที่ตั้งอยูกอนและหลังวันประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในพื้นที่ยังมีโรงงานจํานวน ๑๑๗ แหง เปดดําเนินการอยูกอนประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ตางก็เปนโครงการ หรือกิจการที่มีผลกระทบตามปกติ มิไดมีผลกระทบรุนแรงตอชุมชนไมวาในทางใด ในคดีหมายเลขดําที่ ๑๙๒/๒๕๕๐ หมายเลขแดงที่ ๓๒/๒๕๕๒ ศาลปกครองระยองพิพากษาไวแตเพียงวาในพื้นที่มีปญหามลพิษอันสมควรประกาศใหเปนเขตควบคุมมลพิษและวางแผนดําเนินการแกไข อันแสดงวามีมลพิษมากกวาปกติและสามารถแกไขได โดยมิไดพิพากษาวาโครงการหรือกิจการในพื้นที่พิพาทไมวาจะตั้งและเปดดําเนินการ อยูกอนวันประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หรือโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ เปนโครงการที่มีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ในดานตาง ๆ ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

Page 14: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๔

พุทธศักราช ๒๕๕๐ แตเปนโครงการหรือกิจการท่ีไดรับความเห็นชอบรายงาน EIA โดยชอบดวยกฎหมายและไดรับอนุญาตใหตั้งประกอบกิจการหรือดําเนินการโดยชอบดวยกฎหมายแลว ดังนั้น ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามจึงไมมีสิทธิมีคําขอใหศาลเพิกถอนรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการหรือกิจกรรมที่อยูในพื้นที่จังหวัดระยอง ที่ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผูชํานาญการแลว นับตั้งแตวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ เปนตนมา หรือขอใหศาลส่ังผูถูกฟองคดีทั้งแปดดําเนินการใหครบถวนตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยที่ยังไมมีกฎหมายหรือกฎออกมากําหนดฐานอํานาจตามกฎหมายใหผูถูกฟองคดีทั้งแปดดําเนินการเชนนั้นได ไมมีสิทธิขอใหศาลส่ังผูถูกฟองคดีทั้งแปดดําเนินการใหครบถวนตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ เพราะผูถูกฟองคดีทั้งแปดไดดําเนินการตามกฎหมายทั้งสองฉบับตอโครงการหรือกิจการ ทั้ง ๗๖ โครงการ โดยถูกตองครบถวนและชอบดวยกฎหมายแลว ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไมมีสิทธิขอใหศาลพิพากษาหรือส่ังใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ที่ ๕ และที่ ๖ เพิกถอนใบอนุญาตโครงการหรือกิจการที่เขาขายเปนโครงการหรือกิจกรรมท่ีไดจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมที่อยูในพื้นที่มาบตาพุด บานฉาง และพื้นที่ใกลเคียงจังหวัดระยอง ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชนในดานตาง ๆ และไมมีสิทธิขอใหศาลพิพากษาหรือใหส่ังระงับการดําเนินโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการตามคําฟองไวเปนการชั่วคราวเพื่อใหดําเนินการตาง ๆ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ เพราะโครงการหรือกิจกรรมทั้ง ๗๖ โครงการ มิไดกอหรือเพิ่มพูนมลพิษ ใหเกินกวาศักยภาพส่ิงแวดลอมในพื้นที่ที่จะรองรับหรืออาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงในดานตาง ๆ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง รวมทั้งการจะดําเนินการออกระเบียบหรือหลักเกณฑหรือการอื่นใดตามขั้นตอนของกฎหมายเพื่อใหเปนไป ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนอํานาจหนาที่ของฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติและอยูนอกเหนืออํานาจหนาที่ของผูถูกฟองคดีทั้งแปด ที่จะกาวลวงไปออกระเบียบหรือกฎเกณฑโดยที่ยังไมมีพระราชบัญญัติออกตามความ ในมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

Page 15: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๕

บัญญัติใหอํานาจ คําขอน้ีจึงเปนคําขอใหศาลปกครองมีคําส่ังใหผูถูกฟองคดีทั้งแปดกระทําการท่ียังไมมีกฎหมายตราออกมาเปนฐานอํานาจใหปฏิบัติได จึงเปนคําขอที่ ศาลปกครองไมอาจมีคําบังคับใหไดตามมาตรา ๗๒ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สําหรับความประสงคของผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามที่เปนการฟองคดีเพื่อเรียกรองการเขาไปมีสวนรวมตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามอาจมีคําขอใหศาลบังคับใหรัฐบาลตรากฎหมายและกฎ เพื่อดําเนินการใหเปนไปตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได แตไมมีสิทธิมีคําขอใหศาลสั่งระงับ การดําเนินการของโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการอันเปนการกระทําละเมิดตอโครงการหรือกิจการ ทั้ง ๗๖ โครงการ ดังกลาว และไมใชวิธีการเยียวยาความเดือดรอนหรือเสียหายที่ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไมไดมีโอกาสเขาไปมีสวนรวมตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ ดังนั้น คําขอทายคําฟองของผูฟองคดีทั้งส่ี สิบสามจึงเปนคําขอท่ี ศาลปกครองไมอาจมีคําบังคับใหไดตามมาตรา ๗๒ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ปจจุบันยังไมมีพระราชบัญญัติออกตามความในมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เพื่อกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรม ที่มีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงในดานตาง ๆ เพราะยังไมปรากฏชัดเจนวาจะมีโครงการหรือกิจกรรมใดที่จะมีผลกระทบอยางรุนแรงตามบทมาตราดังกลาว โครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ ตามคําฟองจึงไมใชโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอมทรัพยากร ธรรมชาติและสุขภาพตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โครงการหรือกิจกรรมทั้ง ๗๖ โครงการ ตามคําฟองเปนเพียงโครงการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๓โดยความเห็นชอบของผูถูกฟองคดีที่ ๑ อาศัยอํานาจตามมาตรา ๔๖ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกาศกําหนดใหเปนประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมอยูบางอันตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเพื่อเสนอ ขอความเห็นชอบของคณะกรรมการผูชํานาญการตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙

Page 16: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๖

แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน และถือวารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมดังกลาวเปนเงื่อนไขที่กําหนดโดยกฎหมายและเปนเงื่อนไขในการสั่งอนุญาตหรือตออายุใบอนุญาตอันเปนผลกระทบตอส่ิงแวดลอมตามปกติตามประเภทและสภาพของโครงการหรือกิจการ ไมใชโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลกระทบรุนแรงตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ มิไดกอหรือเพิ่มพูนมลพิษใหแกพื้นที่ เนื่องจากตามหลักการประเมินผลกระทบคุณภาพอากาศในพื้นที่มาบตาพุด ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดใหความเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๐ และคณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม (คชก.) ไดนําหลักการนี้มาใชในการพิจารณารายงาน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (รายงาน EIA) มีหลักการท่ีสําคัญวา โครงการท่ีจะตั้งใหมหรือขยายการผลิตในพื้นที่มาบตาพุดตองแสดงใหเห็นวาการมีโครงการจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพอากาศในบรรยากาศในพื้นที่ ดังกลาวอยางมีนัยสําคัญและ ไมกอใหเกิดมลพิษในพื้นที่เพิ่มข้ึน กลาวคือ โครงการจะตองไมทําใหยอดรวมของการระบายมลพิษ (NOx,SOx) ในพื้นที่มาบตาพุดมีคาเพิ่มข้ึนโดยวิธีการที่โครงการหรือกิจการที่จะตั้งใหมหรือขยายการผลิตจะปลอยมลพิษออกมามีจํานวนเทาใด จะตองจัดการใหโรงงานเดิมที่ตั้งอยูกอนลดมลพิษลงเทานั้นเสียกอน และโครงการหรือกิจการตั้งใหมหรือขยายกําลังการผลิตจะปลอยมลพิษออกสูบรรยากาศไดไมเกินรอยละ ๘๐ นําไป ใชประโยชนรอยละ ๒๐ ผลคือโรงงานย่ิงมากข้ึนมลพิษในพื้นที่ย่ิงลดลง เรียกวา หลักการ ๘๐ : ๒๐ ซึ่งเปนหลักการที่มีความเขมงวดกวาหลักการ Emission Trading ที่ใชในตางประเทศ โครงการหรือกิจการ ๗๖ โครงการตามคําฟองเปนโครงการหรือกิจการที่มีลักษณะจําแนกได ดังนี้ (ก) โครงการหรือกิจการที่ไดรับความเห็นชอบในรายงาน EIA ตามหลักการ ๘๐ : ๒๐ จํานวน ๑๒ โครงการ (ข) โครงการหรือกิจการที่ขยายกําลังการผลิต ซึ่งเปนเพียงการเปล่ียนแปลงรายละเอียดของโครงการหรือกิจกรรมที่ไมมีการระบายมลพิษหลักที่เปนอันตรายทั้งสองชนิดคือ NOx และ SOx และฝุนละออง จํานวน ๓๖ โครงการ (ค) โครงการหรือกิจการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งติดตั้งระบบบําบัดมลพิษเพิ่มเติม (ซึ่งเรียกไดวาเปนโครงการลดหรือขจัดมลพิษมิใชเพิ่มพูนมลพิษ) มีจํานวน ๑๐ โครงการ ซึ่งมีทั้งโครงการปรับปรุงระบบหมุนเวียนการนํากาซที่มี

Page 17: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๗

สารระเหยอินทรีย (VOCs) ที่จะระบายออกสูบรรยากาศกลับมาใชใหมทั้งหมด ในกระบวนการผลิตซึ่งแตเดิมปริมาณสารตัวนี้จะถูกนําไปเผาทิ้ง และโครงการติดตั้งหนวยรวบรวมไอน้ําที่หนวยขนถายน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อลดปริมาณการแพรกระจายของสารระเหยอินทรีย (VOCs) ที่หนวยขนถายน้ํามัน (ใชกับรถยนต) ที่คลังน้ํามันเชื้อเพลิง รวมทั้งโครงการปรับปรุงฝุนละอองและน้ําเสียจากกระบวนการผลิต, โครงการปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้งเพื่อนํากลับมาใชใหม, โครงการท่ีขอดําเนินการเพียงแตเปล่ียนแปลง ผังหรือที่ตั้งโครงการ, โครงการที่ขอปรับเปล่ียนแผนผังการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่โครงการ, เพิ่มพื้นที่สาธารณูปโภคหรือพื้นที่สีเขียว (ง) โครงการหรือกิจการที่ คชก. ใหความเห็นชอบตามแนวทางการพิจารณาทั่วไปในรายงาน EIA ซึ่งมีหลักการพิจารณาการควบคุมการระบายมลพิษที่เขมงวดกวามาตรฐานที่เกี่ยวของ เชน การออกแบบ คาปริมาณของสารมลพิษในอากาศที่จะระบายออกตองมีคาไมเกินรอยละ ๙๐ ของปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน (คา Emission Standard) หรือคาความเขมขนของสารมลพิษที่จะระบายออกจะตองไมเกินรอยละ ๙๐ ของคามาตรฐาน จํานวน ๖ โครงการ นอกจากนี้ โครงการหรือกิจการที่ไดรับความเห็นชอบกอนประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แตขอดําเนินการโครงการ สวนขยายโรงงานภายหลังรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวนี้ใชบังคับ ไมถือวาเปนโครงการหรือกิจการที่ดําเนินการภายหลังประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญเพราะโครงการหรือกิจการหลักไดรับความเห็นชอบรายงาน EIA และไดรับอนุญาตให ดําเนินการไดโดยชอบ ดวยกฎหมายอยูกอนวันใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โครงการหรือโรงงานที่จะมาตั้งในนิคมอุตสาหกรรม อัตราการระบายมลพิษตองไมเกินกรอบอัตราการระบายตอพื้นที่ (Allowable Emission Loading) ของนิคมตามท่ีไดรับความเห็นชอบในรายงาน EIA ของนิคมนั้น ซึ่งการคิดอัตราคาระบายตอพื้นที่ของนิคมมีความเขมงวด เปนการกําหนดคาเขมขนของสารมลพิษแตละชนิดท่ีจะระบายออกจากปลองที่ระดับความสูงตาง ๆ และคาอัตราระบายมลพิษตอพื้นที่จะคิดเพียงรอยละ ๘๐ ของคาความเขมขน ที่ยอมใหระบายไดในแตละระดับความสูงของปลองซึ่งการต้ังนิคมมีความเขมงวดมาก ดังนั้น โครงการหรือกิจการที่จะตั้งและเปดดําเนินการเพิ่มข้ึนในนิคมอุตสาหกรรมใด ก็ไมสามารถเพิ่มพูนมลพิษใหเกินกรอบอัตราการระบายตอพื้นที่ตามท่ีกําหนดไวใน

Page 18: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๘

รายงาน EIA ของนิคมอุตสาหกรรมนั้น ๆ ได นอกจากหลักเกณฑการควบคุมการระบายมลพิษที่เขมงวดแลว คณะกรรมการผูชํานาญการ (คชก.) ซึ่งมีอํานาจหนาที่ในการ ใหความเห็นชอบรายงาน EIA ของแตละโครงการหรือกิจการไดนําเทคโนโลยีปจจุบันที่มีการระบายมลพิษต่ํามาใชในการพิจารณาโครงการดวย เชน โครงการโรงไฟฟาที่ใช กาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงกรมควบคุมมลพิษไดกําหนดใหสามารถระบาย NOx ๑๒๐ สวนในลานสวน แตเนื่องจากเทคโนโลยีที่มีการใชในปจจุบันสามารถควบคุมการเกิด NOx ไดดี คชก. ก็ไดพิจารณาใหความเห็นชอบโดยใหมีความเขมขนของ NOx ที่ระบายออกมีคา ๖๐ สวนในลานสวนต่ํากวาคามาตรฐานที่กําหนด นอกจากนี้ ในรายงาน EIA ยังกําหนดใหมีการบริหารจัดการมลพิษมิใหเพิ่มพูนขึ้นอีกหลายวิธีการ ในสวนของโครงการที่มีการใชผลิตกักเก็บสารอินทรียระเหยงาย (สาร VOCs) โดยเฉพาะสารที่กรมควบคุมมลพิษ ไดกําหนดคามาตรฐานและคาเฝาระวังในบรรยากาศ ๑๙ ชนิด นั้น ไดกําหนดมาตรการควบคุมการระบายอยางเขมงวด กลาวคือใชการผลิตและกักเก็บตองเปนระบบปดท้ังหมด เพื่อปองกันการระเหยของสาร VOCs ออกสูบรรยากาศ เชน ถังกักเก็บสารเบนซีนมีการติดตั้งหนวยดูดซับ (Benzine Charcoal - Asorber) ตองมีระบบบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive Maintenance) มาใชเพื่อบํารุงรักษาอุปกรณใหอยูในสภาพที่ดีพรอมใชงานไดตลอดเวลา โดยไมสงผลกระทบตอความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม ตองจัดใหมีการ เฝาระวังการรั่วซึมดวยอุปกรณตรวจจับสาร VOCs (วีโอซี) เชน ระบบตรวจวัดตอเนื่อง ๒๔ ชั่วโมง (GC online) หรือระบบตรวจจับการรั่วซึม (Gas Detector) และโรงงานตองมีแผนการจัดการกรณีที่มีการรั่วซึมของสาร VOCs ดังกลาว กรณีมีความจําเปนตองระบายสาร VOCs อันเนื่องมาจากการหยุดระบบเพื่อซอมบํารุงหรือเกิดความผิดปกติในระบบ เชน ไฟฟาดับ หรืออุณหภูมิความดันสูงเกินกวาปกติ โรงงานจะตองติดตั้งระบบ เผาทําลาย เพื่อปองกันการระบายสาร VOCs ออกจากแหลงกําเนิดสูบรรยากาศโดยตรง นอกจากนี้ผูถูกฟองคดีที่ ๘ ไดกําหนดใหโรงงานที่เริ่มเดินเครื่องจักร (Start Up) ตองมีกระบวนการทบทวนดานความปลอดภัยกอนเดินเครื่องจักร (Pre – Start up Review) โดยใน ๗๖ โครงการตามคําฟองเปนโครงการที่เกี่ยวของกับสาร VOCs ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษอยูจํานวน ๔๖ โครงการ ซึ่งไดมีการดําเนินการตามมาตรการดังกลาวขางตนแลว ในจํานวนนี้เปนโครงการเพื่อดําเนินการปรับปรุงเพื่อลดสาร VOCs ออกสูบรรยากาศ

Page 19: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๙

จํานวน ๘ โครงการดังกลาวมาแลวขางตน สําหรับโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ แบงออกเปนกลุมไดดังนี้ (๑) กลุมที่ไดรับอนุญาต EIA อยูกอนแตขอขยายเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการหลังวันใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จึงตองถือวากลุมนี้มิไดตั้งและดําเนินการภายหลังวันประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จึงไมตองดําเนินการใด ๆ ตามท่ีกําหนดไวในมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญดังกลาว ซึ่งมีโครงการตาง ๆ ดังนี้ (๑.๑) โครงการขอขยาย จํานวน ๔๗ โครงการ (๑.๑.๑) โครงการหรือกิจกรรมที่ไมมีการระบายมลพิษหลัก (มลพิษที่เปนอันตรายตอสุขภาพ) คือ สาร NOx SO2 และ TSP จํานวน ๙ โครงการ (๑.๑.๒) มีการปรับลดมลพิษตามหลักเกณฑ ๘๐ : ๒๐ จํานวน ๑๑ โครงการ เปนโครงการที่มีความเขมงวดกวาระบบ Emission Trading ของตางประเทศ โดยกําหนดเปนเงื่อนไขไวในรายงาน EIA ซึ่งถือเปนเงื่อนไขของกฎหมายวา โรงงานที่ตั้งใหมจะปลอยมลพิษ สูบรรยากาศเทาใด จะตองมีโรงงานที่เปดอยูกอนลดจํานวนมลพิษลงเทากับมลพิษของโรงงานใหม และโรงงานใหมจะปลอยมลพิษออกสูบรรยากาศไดเพียง รอยละ ๘๐ นําไปใชประโยชนรอยละ ๒๐ ผลก็คือ “โรงงานย่ิงมากขึ้นมลพิษย่ิงลดลง” ซึ่งมีจํานวนมาก ถึง ๑๑ โครงการ (๑.๑.๓) เปนไปตามแนวทางการพิจารณาขจัดมลพิษทั่วไป ซึ่งแนวทางการพิจารณาทั่วไปในรายงานผลกระทบตอส่ิงแวดลอมสําหรับโครงการดังกลาวนี้ มีหลักเกณฑการพิจารณาควบคุมการระบายมลพิษที่เขมงวดกวาคามาตรฐานที่เกี่ยวของ จํานวน ๕ โครงการ (๑.๒) โครงการเปล่ียนแปลงรายละเอียดไมมีการระบายมลพิษหลักหรือมลพิษที่มีอันตรายตอสุขภาพ คือ NOx, SO2, TSP จํานวน ๒๒ โครงการ (๒) กลุมโครงการใหม จํานวน ๑๘ โครงการ (๒.๑) ไมมีการระบายมลพิษหลัก NOx, SO2, TSP จึงไมเปนอันตรายตอสุขภาพ จํานวน ๕ โครงการ (๒.๒) มีการปรับลดมลพิษตามหลักเกณฑ ๘๐ : ๒๐ ๑ โครงการ (๒.๓) ใชอัตราการระบายมลพิษตอพื้นที่ จํานวน ๖ โครงการ (๒.๔) เปนไปตามแนวทางการพิจารณาท่ัวไปในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมที่มีหลักเกณฑการพิจารณาควบคุมการระบายมลพิษที่เขมงวดกวาคามาตรฐานที่เกี่ยวของ จํานวน ๖ โครงการ (๓) กลุมโครงการท่ีไมเกี่ยวของ (๓.๑) ไดรับความเห็นชอบรายงาน EIA กอนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประกาศใชบังคับ จํานวน ๘ โครงการ (๓.๒) อยูในระหวางข้ันตอนการพิจารณา ๒ โครงการ (๓.๓) ขอถอนรายงานคืน

Page 20: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๐

๑ โครงการ ซึ่งเห็นไดแจงชัดวาโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ มิไดกอหรือเพิ่มพูนมลพิษจึงไมใชโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ การจะพิจารณาวาโครงการหรือกิจกรรมใดมีผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชนในดานตาง ๆ ตองพิจารณาตามหลักวิชาการ ในป ๒๕๔๙ คณะส่ิงแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเปนที่ปรึกษาดําเนินโครงการศึกษาเพื่อกําหนดโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอส่ิงแวดลอม ไดใหความหมายของคําวาผลกระทบตอสุขภาพและส่ิงแวดลอมอยางรุนแรงวา เปนการเปล่ียนแปลง ที่เกิดข้ึนจากโครงการหรือกิจกรรมขนาดใหญจนทําใหส่ิงแวดลอมทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิตไดรับผลกระทบอยางมากจนทําใหฟนฟูกลับมาอีกไมไดหรือตองใชเวลายาวนานกวาที่จะทําใหกลับมามีสภาพเหมือนเดิมไดอีกครั้ง หรือทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัยของประชาชนหรือชุมชน และเสนอหลักเกณฑไว ๒ ลักษณะ คือ เกณฑผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนอยางรุนแรงซึ่งอาจจําแนกได ๔ ลักษณะ (ก) รุนแรงตอชีวิต คือ พิจารณาจากจํานวนผูเสียชีวิต ผูบาดเจ็บและทุพพลภาพ (ข) รุนแรงตอทรัพยสิน คือ พิจารณาจากปริมาณ ขนาดและความเสียหายของทรัพยสินทุกประเภท (ค) รุนแรงตอส่ิงแวดลอม คือ พิจารณาส่ิงแวดลอมถูกทําลายไปจนไมสามารถฟนฟูกลับมาได หรือสามารถฟนฟูกลับมาไดแตตองใชเวลามากนอยเพียงใด (ง) รุนแรงตอสาธารณะหรือพิจารณาวาชุมชนนั้นไดรับผลกระทบจนไมสามารถดําเนินกิจกรรมหรืออยูอยางปกติไดเหมือนเดิมหรือเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตอยางมาก เกณฑของประเภทและขนาดของโครงการที่กอใหเกิดผลกระทบคุณภาพสิ่งแวดลอมอยางรุนแรง สามารถพิจารณาไดจากหลักเกณฑใดหลักเกณฑหนึ่ง ดังนี้ (ก) พื้นที่ตั้งโครงการ ตั้งอยูในพื้นที่ออนไหวทางดานส่ิงแวดลอมหรือโครงการที่สงผลกระทบตอพื้นที่ออนไหวดานส่ิงแวดลอม (ข) ประเภทและขนาดของโครงการท่ีมีความรุนแรงตอส่ิงแวดลอม จากผลการศึกษาวิจัยตามที่กลาวมา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไดมีคําส่ังเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๔๘ แตงตั้งคณะกรรมการกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งคณะกรรมการ

Page 21: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๑

ไดศึกษาเพิ่มเติมประเด็นผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงใหครอบคลุมทั้งดานทรัพยากร ส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โดยกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรม ที่มีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงหลายประเภท และไดนําผลการพิจารณาไปรับฟงความคิดเห็นจากเจาของโครงการ นิติบุคคลผูมีหนาที่จัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบตอส่ิงแวดลอม คณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมภาคเอกชน องคกรเอกชนตาง ๆ ซึ่งไดจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นรวม ๖ ครั้ง ผลการรับฟงความคิดเห็นมีขอสรุปและมีการเพิ่มประเภทโครงการรวมทั้งส้ิน ๑๙ โครงการ และกระทรวงอุตสาหกรรมไดตั้งคณะทํางานขึ้นพิจารณาและไดหารือกับหนวยงาน ผูอนุญาต ผูชํานาญการ เพื่อพิจารณาวาโครงการหรือกิจกรรมใด ขนาดเทาใดที่อาจมีผลกระทบอยางรุนแรงโดยใชคําจํากัดความและรางรายชื่อโครงการหรือกิจกรรมของสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มาประกอบการพิจารณา แตคัดเลือกเฉพาะโครงการหรือกิจกรรม ที่เกี่ยวของกับภาคอุตสาหกรรมจํานวน ๘ ประเภท เทานั้น กลาวโดยสรุปคือ กระทรวงอุตสาหกรรมไดดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีและความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาเปนแนวทางใชผลการดําเนินการของสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ความเห็นของคณะทํางานและความเห็นของหนวยงานอนุญาต เปนเกณฑพิจารณา และกําหนดประเภทขนาดของโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพออกประกาศในเบื้องตนได ๘ ประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลกระทบอยางรุนแรง ตอชุมชนทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งทั้งตามหลักเกณฑ ทางวิชาการและตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ปรากฏวาโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการตามคําฟองไมมีลักษณะเปนโครงการหรือกิจการที่มีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ดังนั้น ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมซึ่งออก

Page 22: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๒

โดยถูกตองตามหลักวิชาการ ผานการรับฟงความคิดเห็นของผูที่เกี่ยวของและประชาชนมาแลว จึงเปนประกาศที่ชอบดวยกฎหมายไมวาจะพิจารณาตามหลักเกณฑทางวิชาการหรือพิจารณาตามกฎดังกลาว โครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ ก็ไมใชโครงการหรือกิจกรรมที่มีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงในดานตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวในมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เมื่อโครงการหรือกิจการทั้ง ๗๖ โครงการ ไมใชโครงการหรือกิจกรรม ที่อาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง แตเปนโครงการหรือกิจการที่อาจสงผลกระทบ ตอส่ิงแวดลอมตามปกติสภาพของโครงการหรือกิจการดังกลาว โดยทุกโครงการและกิจการไดรับความเห็นชอบรายงาน EIA จากคณะกรรมการชํานาญการตามมาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งมาตรา ๔๙ วรรคสอง บัญญัติวา ในกรณีที่คณะกรรมการผูชํานาญการใหความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ถือวาคณะกรรมการผูชํานาญการใหความเห็นชอบ ใหเจาหนาที่ซึ่งมีอํานาจตามกฎหมาย ส่ังอนุญาตใหแกบุคคลซึ่งขออนุญาตได และผูถูกฟองคดีทั้งแปดเฉพาะผูที่มีอํานาจหนาท่ีอนุญาตใหตั้งและประกอบกิจการหรือดําเนินการโครงการหรือกิจการดังกลาวก็ไดออกใบอนุญาตใหแกโครงการหรือกิจการอันจะตองออกใหตามกฎหมายไปโดยชอบแลว ผูถูกฟองคดีทั้งแปดจึงมิไดกระทําการใดที่ไมชอบดวยกฎหมายตามคําฟองและมิไดละเลยตอหนาที่ที่จะตองปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ปจจุบันสถานการณมลพิษในพื้นที่มาบตาพุดอยูในเกณฑปกติ ไมเปนอันตรายตอคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งปรากฏตามรายงานสถานการณส่ิงแวดลอมและตามสรุปสถานการณโรคในพื้นที่ คําฟองจึงไมมีมูล และศาลปกครองระยองก็ไมไดพิพากษาวาโครงการหรือกิจการใดในพื้นที่พิพาทเปนโครงการหรือกิจการท่ีมีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ซ่ึงผูถูกฟองคดีทั้งแปด ภาคผูประกอบการ และประชาชนในพื้นที่ไดรวมกันแกไขปญหามลพิษตามแผนปฏิบัติการลดและขจัดมลพิษในพื้นที่จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๕๐ จนสภาวะส่ิงแวดลอมในพื้นที่ไมมีเหตุอันควรสงสัยวาเปนอันตรายตอชุมชนไมวาในดานใด ๆ อีกตอไปแลว การท่ีผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามนําเหตุจากการท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ประกาศใหทองที่เขตเทศบาลเมืองมาบตาพุดท้ังหมด รวมทั้งตําบลเนินพระ ตําบลทับมา และ

Page 23: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๓

ตําบลมาบขา อําเภอเมืองระยอง ทั้งตําบลตลอดจนทองที่ตําบลบานฉาง อําเภอบานฉาง ทั้งตําบล เปนเขตควบคุมมลพิษมาอาง เพื่อใหเขาใจวาโครงการทั้ง ๗๖ โครงการที่คณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (คชก.) ที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ แตงตั้งตามมาตรา ๔๘ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดใหความเห็นชอบไปแลวนั้น เปนโครงการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และเปนตนเหตุของการกอใหเกิดปญหามลพิษในพื้นที่มาบตาพุด ทั้ง ๆ ที่ความเปนจริงการประกาศใหทองที่ดังกลาวเปนเขตควบคุมมลพิษ ก็เพื่อกระจายอํานาจใหเจาพนักงานทองถิ่นแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในเขตพื้นที่ของตนเอง เพราะ เจาพนักงานทองถิ่นเปนคนในพื้นที่ยอมทราบถึงปญหามลพิษที่เกิดข้ึนไดดีกวาราชการสวนกลาง และถาหากจําเปนตองกําหนดมาตรการหรือหนาที่อยางใด ๆ ใหประชาชนปฏิบัติก็สามารถที่จะทําความเขาใจกับประชาชนไดโดยงาย ประกอบกับการแกไขปญหามลพิษที่เกิดข้ึนในจังหวัดระยองที่มีแนวโนมจะทวีความรุนแรงเพิ่มข้ึน ทั้ง ๆ ที่ในเวลาที่ผานมาผูถูกฟองคดีที่ ๑ และสวนราชการที่เกี่ยวของไดพยายามอยางเต็มความสามารถในการหาแนวทางในการแกไขปญหาทั้งในสวนของการกําหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อกําหนดมาตรฐานคาสารอินทรียระเหยงาย ๙ ชนิด สําหรับใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปใชเปนกรอบและแนวทางในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ประกาศกําหนด การกําหนดแผนและแนวทางและการใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหาดวยความสมัครใจตามที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการลดและขจัดมลพิษในพื้นที่จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๕๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๔ และการติดตามตรวจสอบ กํากับ ดูแล ใหสวนราชการที่มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายดําเนินการกับผูกระทําความผิดดานส่ิงแวดลอมใหเปนไปตามที่กฎหมายใหอํานาจไวอยางเครงครัด ฉะนั้นเพื่อไมใหปญหาดังกลาวลุกลามออกไปและเพื่อใหประชาชนในจังหวัดระยองไดเขามามีสวนรวมในการกําหนดมาตรการตาง ๆ ที่จะนํามาใชในการแกไขปญหามลพิษในเขตพื้นที่ของตน ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไดประกาศใหพื้นที่ดังกลาวเปนเขตควบคุมมลพิษ ซึ่งตามมาตรา ๖๐ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ เมื่อมีการประกาศใหเปนเขตควบคุมมลพิษแลว เจาพนักงานทองถิ่นมีหนาที่

Page 24: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๔

ตองการทําการสํารวจ เก็บขอมูลเกี่ยวกับแหลงกําหนดมลพิษ จัดทําบัญชีรายละเอียดแสดงจํานวน ประเภท และขนาดของแหลงกําเนิดมลพิษ และทําการศึกษา วิเคราะห และประเมินสถานภาพมลพิษ รวมทั้งขอบเขตความรุนแรงของสภาพปญหาและผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อนํามากําหนดมาตรการท่ีเหมาะสมและจําเปนในการลดและขจัดมลพิษ และหากพบวาปญหามลพิษที่เกิดข้ึนเปนปญหามลพิษที่เกี่ยวกับการเกิดน้ําเสียหรือปญหาของเสีย มาตรา ๖๑ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดบัญญัติใหเจาพนักงานทองถิ่นจะตองเสนอใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวม หรือระบบกําจัดของเสียรวมในการแกไขปญหาดังกลาวไวในแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษดวย และเมื่อมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวมแลว เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษทุกประเภทที่มิไดมีระบบบําบัดกําจัดของเสียรวม เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษทุกประเภทที่ไมมีระบบบําบัดน้ําเสีย ของระบบกําจัดของเสียเปนของตนเอง หรือมีแลวแตไมสามารถบําบัดน้ําเสียหรือของเสียไดตามที่กฎหมายกําหนดไว มีหนาที่ตองสงน้ําเสียหรือของเสียมาบําบัดหรือกําจัด ยังระบบบําบัดน้ําเสียหรือของเสียรวม และตองเสียคาบริการตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๗๑ และมาตรา ๗๒ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ รวมถึงการใหผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจในการกําหนดมาตรฐานใหเขมงวดเปนพิเศษนอกเหนือจากมาตรฐานปกติไดตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๕๘ ซึ่งการประกาศใหเปนเขตควบคุมมลพิษจะสงผลกระทบตอประชาชนในวงกวาง โดยเฉพาะผูที่อยูในพื้นที่ที่มีระบบบําบัดน้ําเสียรวม แตเดิมที่สามารถปลอยทิ้งน้ําเสียลงแมน้ํา คู คลอง ไดอยางเสรี ก็จะตอง มีหนาที่นําน้ําเขาสูระบบบําบัดน้ําเสียและเสียคาบริการตามที่กําหนดไว ซึ่งผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไดแตเรียกรองใหมีการประกาศเขตควบคุมมลพิษ แตกลับไมเคยกลาวถึงหนาท่ีที่ประชาชนจะตองมีเพิ่มข้ึนจากการประกาศใหเปนเขตควบคุมมลพิษใหประชาชนทราบ แตอยางใด การที่เจาพนักงานทองถิ่นยังตองทําการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับแหลงกําเนิดมลพิษ และตองทําการศึกษา วิเคราะห และประเมินสถานภาพมลพิษ ยอมแสดงใหเห็นวาการประกาศใหเปนเขตควบคุมมลพิษเปนเพียงการคาดการณวาในพื้นที่ดังกลาวมีมลพิษดานใดเปนหลัก แตยังไมอาจจะสรุปไดวามลพิษดังกลาวผูใดเปนผูกระทําใหเกิดข้ึน เพราะถาทราบขอมูลดังกลาวแลวก็ไมจําเปนตองทําการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับ

Page 25: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๕

แหลงกําเนิดมลพิษใหม ซึ่งผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามทราบถึงขอกฎหมายดังกลาวเปนอยางดีอยูแลวแตมีเจตนาที่จะใสรายปายสีวามลพิษดังกลาวเกิดข้ึนจากการประกอบกิจการโรงงาน เพื่อที่จะไดใชเปนขออางวาการใหความเห็นชอบของ คชก. ตอโครงการทั้ง ๗๖ โครงการ มิไดทําใหครบถวนตามที่มาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กําหนดไว และเพื่อที่จะไดกลาวอางวาผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ ละเลยในการปฏิบัติหนาที่ในการออก “กฎ” เพื่อนํามาใชในการควบคุมการดําเนินโครงการหรือกิจการดังกลาวทั้ง ๆ ที่โครงการหรือกิจการนั้นมิใชเปนโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ซึ่งถาหากออก “กฎ” เพื่อกําหนดใหเจาของโครงการทั้ง ๗๖ โครงการ ตองทําการประเมินผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนในชุมชน จัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียและตองจัดสงใหองคการอิสระดานส่ิงแวดลอมเพิ่มเติมนอกเหนือจากการใหความเห็นชอบกับการจัดทํารายงาน EIA ยอมเปนการจํากัดเสรีภาพในประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพของบุคคลตามมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประกอบกับโครงการดังกลาวไมใชโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง การใหเจาของโครงการตองดําเนินการตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งใชเฉพาะกับโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงเทานั้น ยอมสรางภาระใหกับผูประกอบการเกินสมควรแกเหตุ เพราะมาตรการตามท่ี ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ประกาศกําหนดไวมีประสิทธิภาพเพียงพอแลวในการแกไขปญหาผลกระทบตอส่ิงแวดลอมที่จะเกิดข้ึนจากโครงการดังกลาว และผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสาม ก็ไมไดแสดงใหปรากฏในคําฟองวามาตรการที่ คชก. กําหนดใหเจาของโครงการทั้ง ๗๖ โครงการจะตองดําเนินการเพื่อปองกันและลดผลกระทบดานส่ิงแวดลอมในสวนใดที่ไมเพียงพอตอการแกไขปญหาผลกระทบที่จะเกิดข้ึนจากโครงการ คําฟองของผูฟองคดี ทั้งส่ีสิบสามจึงเปนเพียงการกลาวอางอยางลอย ๆ และเกิดจากความเชื่อไปเองของผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามวาโครงการทั้ง ๗๖ โครงการ จะสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงฯ ในขณะที่คุณภาพสิ่งแวดลอมสวนใหญอยูในเกณฑมาตรฐานตามที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ประกาศกําหนด จะมีคาเฉพาะ VOCs และคาโลหะหนักในน้ําที่เกินกวาคามาตรฐานตามที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑

Page 26: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๖

ประกาศบางเล็กนอยเปนบางชวง แตมิใชตลอดเวลาและคุณภาพสิ่งแวดลอมก็มีแนวโนม ไปในทางท่ีดีข้ึน สําหรับคา VOCs บางพารามิเตอรที่เกินกวาคามาตรฐานซึ่งเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงสวนหนึ่งนั้นจะมาจากยานพาหนะ โดยเฉพาะในชวงตอนเชาและตอนเย็น และลักษณะดังกลาวจะเกิดเชนเดียวกันในเมืองใหญ ๆ โดยเฉพาะในจังหวัดเชียงใหม กรุงเทพมหานคร เปนตน การท่ีพื้นที่มาบตาพุดเปนเขตอุตสาหกรรมที่สําคัญของประเทศ และผูฟองคดีในลําดับที่ ๑๙ ถึง ๓๑ เปนผูที่พักอาศัยอยูในเขตผังเมืองบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา ยอมเปนธรรมดาที่มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม อาจจะมีบางชวงเกินกวา คามาตรฐานที่กําหนดไปบาง แตก็มิไดเปนเชนนั้นอยูตลอดเวลา จึงอยูในวิสัยที่วิญูชนที่อยูในบริเวณสถานที่เชนนั้นยอมจะคาดการณได เพราะจะคาดหวังใหคุณภาพสิ่งแวดลอมมีลักษณะเชน ริมทะเล ชายปา ชายทุงที่ไมมีแหลงกําเนิดมลพิษตั้งอยูยอมไมอาจท่ีจะเปนเชนนั้นไดอยูแลวตามความเปนจริง นอกจากนี้ การท่ีผูฟองคดีกลาวอางวาชายทะเลของจังหวัดระยองเกิดการกัดเซาะและพังทลายเนื่องจากการที่ผูถูกฟองคดีทั้งแปดอนุญาต ใหมีการประกอบกิจการโครงการท้ัง ๗๖ โครงการก็มิไดเปนผลโดยตรงจากการอนุญาตของผูถูกฟองคดีทั้งแปด แตอยางใด เพราะเปนที่ทราบกันทั่วไปวาภาวะโลกรอนมีสาเหตุมาจากประเทศที่พัฒนาแลวไดมีการปลอยกาซเรือนกระจกออกสูบรรยากาศ เปนจํานวนมาก จึงทําใหอุณหภูมิของโลกสูงข้ึนและมีกระแสน้ํารุนแรงขึ้น แมแต เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ไมมีการประกอบกิจการโรงงานแตที่ดินชายทะเล ในบริเวณดังกลาวก็ถูกกัดเซาะไปแลวนับเปนพัน ๆ ไร โครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มิไดใหความหมายของคําวา “รุนแรง” ไววามีความหมายเชนใด คณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญไดใหความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ในการประชุมครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๐ วา หากเขียนใหกวางมากไปจะกระเทือนปญหาทางดานเวลา ปญหาทางดานคาใชจายตนทุน โอกาสในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศจะสูญเสียใหกับคูแขงในตางประเทศโดยไมจําเปน เพราะวาจะทําอะไรสักอยางหนึ่งก็จะตองรับฟงทําความคิดเห็น ประเมินผล

Page 27: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๗

ทุกอยางทุกเรื่องจะตองมีคนที่โตแยงคัดคานอยางนี้ตลอด เมื่อรัฐธรรมนูญมิไดใหความหมายเฉพาะไวตองแปลความหมายของคําวา “รุนแรง” ตามความหมายทั่วไป ซึ่งตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใหความหมายของคําวา “รุนแรง” วาหมายถึง หนักมาก แรงมาก เกินปกติ ซึ่งความเห็นดังกลาวสอดคลองกับความเห็นของนายสัญชัย สูติพันธวิหาร คณะส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งไดทําการศึกษาวิจัย เรื่อง รูปแบบและกฎหมายวาดวยองคการอิสระดานส่ิงแวดลอม ใหกับผูถูกฟองคดีที่ ๓ และเปนผูหนึ่งที่เรียกรองใหมีการจัดตั้งองคการอิสระดานส่ิงแวดลอมวา โครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอคุณภาพสิ่งแวดลอม วัดไดจากมาตรฐานสากลของเรื่องนั้น ๆ เชน ดิน น้ํา อากาศ เปนตน หากมีผลกระทบเกินคามาตรฐาน เรียกวา เกินควร แตระดับที่เรียกวา รุนแรงจนตองใหองคการอิสระใหความเห็นจะตอง เกินคามาตรฐานไปอยางมาก (ไมใชแคเกินควร) จนอาจกระทบตอส่ิงซึ่งไดรับความคุมครองตามวรรคหนึ่งของมาตรานี้ โดยเฉพาะอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพหรือคุณภาพชีวิตของคนอยางมาก ซึ่งกระบวนการพิจารณาใหความเห็นชอบกับรายงาน การวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมทั้ง ๗๖ โครงการของ คชก. จะตองตรวจสอบและวิเคราะหเนื้อหาสาระของรายงานตั้งแตในสวนที่เกี่ยวกับประเภทของโครงการ สถานที่ตั้ง วิธีการดําเนินการโครงการสภาพแวดลอมในปจจุบันทั้งทางดานกายภาพ ชีวภาพ ไมวาจะเปนสวนที่ฟนฟูไดและท่ีฟนฟูไมได รายละเอียดคุณคาการใชประโยชนของมนุษย คุณคาคุณภาพชีวิต ตลอดจนสภาพปญหาปจจุบันในพื้นที่โครงการ แลวจึงนํามา ชั่งน้ําหนักกับมาตรการเพื่อปองกันและลดผลกระทบที่จะเกิดข้ึนจากโครงการดังกลาว โดยเฉพาะในเรื่องการควบคุมการระบายมลพิษออกสูส่ิงแวดลอม คชก.จะยึดเปนแนวปฏิบัติวาโครงการหรือกิจการดังกลาวจะตองไมระบายน้ําเสีย อากาศ หรือของเสียออกสูส่ิงแวดลอมเกินกวามาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนดไว และในขณะเดียวกัน ก็จะตอง ไมสงผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมที่อยูในบริเวณใกลเคียงดวย ในกรณีเรื่องใด ในประเทศไทยยังไมมีวิธีการตามกฎหมายที่กําหนดมาตรการหรือวิธีการดังกลาวไวก็จะนําเอามาตรการซึ่งเปนที่ยอมรับในตางประเทศวาสามารถจัดการแกไขปญหาผลกระทบส่ิงแวดลอมไดมาบรรจุไวในมาตรการทายรายงานเพื่อใหเจาของโครงการยึดถือปฏิบัติและหนวยงานท่ีมีอํานาจในการอนุมัติหรือนุญาตตามกฎหมายจะตองนํามาตรการ

Page 28: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๘

ดังกลาวไปกําหนดเปนเงื่อนไขในการสั่งอนุญาต หรือตออายุใบอนุญาตดวยตามที่มาตรา ๕๐ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ บัญญัติไว ไมเชนนั้น คชก. ก็จะไมใหความเห็นชอบกับรายงานดังกลาว ซึ่ง คชก. ที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ แตงตั้งลวนแตเปนผูที่มีความรูความชํานาญและมีประสบการณยอมทราบวาส่ิงที่ตนเองใหความเห็นชอบไปนั้นสามารถปองกันหรือสามารถนําไปใชลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมไดจริงหรือไม หาก คชก. เห็นวามาตรการที่เจาของโครงการเสนอมายังไมเหมาะสม ก็พรอมที่จะยืนหยัดในขอเท็จจริงและพรอมที่จะตอสูคดีกับเจาของโครงการ ซึ่งผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามมิไดมีความรูความเขาใจในเรื่องนี้อยางลึกซึ้งแตอยางใด และนําเหตุจากการท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ประกาศใหบริเวณมาบตาพุดเปนเขตควบคุมมลพิษมาใชเปนฐาน เพื่อฟองคดีวาโครงการหรือกิจกรรมทั้ง ๗๖ โครงการ อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรายแรง การกลาวอางจึงเปนการกลาวอางที่เล่ือนลอยไรพยานหลักฐานที่จะพิสูจนขอเท็จจริงวาโครงการทั้ง ๗๖ โครงการ เปนโครงการที่อาจสงผลกระทบตอชุมชน อยางรุนแรง รวมทั้งยังมีความสับสนเกี่ยวกับการพิจารณารายงานของ คชก. โดยเฉพาะกรณีที่ คชก. กําหนดเงื่อนไขใหเจาของโครงการท่ี คชก. ใหความเห็นชอบไปแลว หากจะมีการแกไขเปล่ียนแปลงอยางใดเกี่ยวกับมาตรการที่ คชก. ไดใหความเห็นชอบจะตองจัดทํารายงานเสนอมาให คชก. พิจารณาใหมกอนที่จะมีการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงมาตรการดังกลาว ซึ่งเปนไปตามมาตรา ๓๙ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อควบคุมใหเจาของโครงการตองปฏิบัติตามที่ คชก.ไดใหความเห็นชอบ การท่ีมีขอเท็จจริงอยางหนึ่งอยางใดเปล่ียนแปลงในชวงระหวางที่คําส่ังทางปกครองยังมีผลใชบังคับยอมสงผลกระทบตอการใหความเห็นชอบ คชก. จึงมีสิทธิสงวนเงื่อนไขการใหความเห็นชอบดังกลาว และถาหากเห็นวาขอเท็จจริงที่เกิดข้ึน ในภายหลังเปล่ียนแปลงไปอยางมากซึ่งหากเกิดข้ึนในขณะที่ใหความเห็นชอบ คชก. จะไมใหความเห็นชอบดวยแลว คชก. ก็สามารถที่จะใชสิทธิตามมาตรา ๕๓ (๓) แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เพิกถอนคําส่ังดังกลาวเสียก็ได การพิจารณากรณีดังกลาวจึงมิใชเปนการพิจารณาโครงการที่เสนอใหมีการพิจารณาใหมแตอยางใด แตผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามก็ยังกลาวอางวาโครงการดังกลาวเปนโครงการที่เกิดข้ึนใหม เพื่อจะไดสอดคลองกับคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๓/๒๕๕๒ ที่วา รัฐธรรมนูญมีเจตนารมณ

Page 29: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๒๙

ใหสิทธิและเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญฉบับนี้รับรองไวมีสภาพบังคับใชทันทีที่รัฐธรรมนูญประกาศใหมีผลใชบังคับโดยไมตองรอใหมีการบัญญัติอนุวัติการมาใชบังคับกอน ทั้งที่โครงการหรือกิจกรรมดังกลาวมิไดเขาขายเปนโครงการหรือกิจกรรมที่อาจสงผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ แตอยางใด และอาจกอใหเกิดการบังคับใชกฎหมายที่ไมเสมอภาคเปนธรรมเกิดข้ึนไดหากใชระยะเวลาในการมีผลใชบังคับของรัฐธรรมนูญแตเพียงอยางเดียวเปนเครื่องแบงแยกวาโครงการใดรุนแรงหรือไมรุนแรง เชน กรณีโครงการโรงงานผลิตเหล็กโครงสรางรูปพรรณและเข็มพืดเหล็กกลารีดรอนของบริษัท เหล็กสยาม ยามาโตะ จํากัด เปนโครงการหรือกิจกรรมที่ไดรับอนุญาตเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๐ อันเปนวันกอนประกาศ ใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ แตถาหากโครงการดังกลาวไดรับอนุญาตเลยจากวันดังกลาวออกมาอีก ๓ วัน กลาวคือเปนวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๐ โครงการดังกลาวกลับกลายเปนโครงการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ เห็นวา การท่ีโครงการหรือกิจกรรมใดจะเขาขายเปนโครงการหรือกิจกรรมท่ีสงผลกระทบรุนแรงตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มิไดข้ึนอยูท่ีเวลาของการอนุญาตแตเพียงอยางเดียว แตจะตองข้ึนอยูกับการที่โครงการหรือกิจกรรมนั้นไดสรางผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพของประชาชนเกินสมควรที่ประชาชนจะพึงคาดหมาย และเกินปกติวิสัยที่เกิดข้ึนจากการประกอบกิจการดังกลาวหรือไม การใชเวลาในการมีผลบังคับใชของรัฐเปนเครื่องแบงแยกวาโครงการนั้นรุนแรงหรือไมรุนแรงจึงอาจสรางความไมเสมอภาคและความไมเปนธรรมข้ึนได ทั้งนี้ ตามท่ีศาลปกครองสูงสุดไดเคยมีคําพิพากษาที่ อ.๑๔๒/๒๕๔๗ ไวสรุปสาระสําคัญไดวา ฝายปกครองตองปฏิบัติตอบุคคลที่เหมือนกันในสาระสําคัญอยางเดียวกัน และปฏิบัติตอบุคคลที่แตกตางกันในสาระสําคัญแตกตางกันออกไปตามลักษณะเฉพาะของแตละคน การปฏิบัติการตอบุคคลที่ เหมือนกัน ในสาระสําคัญแตกตางกันก็ดี หรือการปฏิบัติตอบุคคลที่แตกตางกันในสาระสําคัญ อยางเดียวกันก็ ดียอมขัดตอหลักความเสมอภาค ซึ่ งมาตรา ๓๐ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บังคับใหตองปฏิบัติตอบุคคลที่แตกตางกัน

Page 30: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๐

ในสาระสําคัญแตกตางกันออกไปตามลักษณะเฉพาะของแตละคน เฉพาะแตบุคคล ที่ เหมือนกันในสาระสําคัญเทานั้นที่องคกรของรัฐตองปฏิบัติตอบุคคลเหลานั้น อยางเดียวกัน การเลือกปฏิบัติใหแตกตางกันออกไปหากเปนไปโดยไมเปนธรรมก็ยอมถือวาเปนการเลือกปฏิบัติตอบุคคลโดยไมเปนธรรมเชนกัน สําหรับการที่ชุมชนจะอางสิทธิตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดจะตองปรากฏขอเท็จจริงวาโครงการหรือกิจกรรมนั้นเปนโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ แตจากขอเท็จจริงโครงการท้ัง ๗๖ โครงการ เปนโครงการหรือกิจการซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดอาศัยอํานาจ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ .ศ . ๒๕๓๕ ออกประกาศกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการเพื่อกําหนดให สวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่เปนเจาของโครงการดังกลาวจะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเสนอตอผูถูกฟองคดีที่ ๒ ตรวจสอบและใหความเห็นเบื้องตนกอนที่จะนําเสนอให คชก. พิจารณาใหความเห็น โดยผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดออกประกาศในเรื่องดังกลาวมาทั้งส้ิน ๓ ฉบับ ในป พ.ศ. ๒๕๓๕ สองฉบับ และในป พ.ศ. ๒๕๓๙ หนึ่งฉบับ รวมเปน ๒๒ ประเภทโครงการหรือกิจการ ซึ่งประเภทและขนาดของ โครงการหรือกิจการตามที่ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ออกประกาศกําหนดดังกลาวเปนเพียงโครงการหรือกิจการที่อาจสงผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมทั่ว ๆ ไป มิใชโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๖๗ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และตลอดระยะเวลา ที่ผานมาจนกระทั่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีผลใชบังคับ คชก. ไดพิจารณาใหความเห็นชอบกับรายงานของโครงการหรือกิจการตาง ๆ ตามที่กําหนดไวในประกาศของผูถูกฟองคดีที่ ๓ มาเปนจํานวนมาก แตก็มิไดปรากฏวาโครงการ ที่ปฏิบัติตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมตามที่ คชก. กําหนดไวอยางถูกตองและครบถวนไดกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพแตอยางใด ในป พ.ศ. ๒๕๔๖ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดมีคําส่ังที่ ๑๔๓/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๖ แตงตั้งคณะอนุกรรมการดานเทคนิค

Page 31: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๑

และแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเพื่อศึกษาและเสนอ แนวทางการจัดทํารายงานสําหรับโครงการประเภทตาง ๆ เพื่อใหความสําคัญตอผลกระทบทางสังคม สุขภาพและสิทธิมนุษยชน ปรับปรุงการจัดทํารายงานเพื่อใหความสําคัญกับการประเมินทางเลือกในการดําเนินการผลกระทบสะสม และการฟนฟูหลังปดโครงการ ทบทวนประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการที่ตองจัดทํารายงานการรับฟง ความคิดเห็นของสาธารณะเพื่อใชมาปรับปรุงเทคนิคและแนวทางในการจัดทํารายงานฯ โดยคณะอนุกรรมการดังกลาวมีทั้งในสวนของนักวิชาการนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน และผูแทนองคกรเอกชนดานสิ่งแวดลอม และเมื่อมีการจัดทําเสร็จแลวก็ไดมีการนําไปรับฟงความคิดเห็นจากผูที่มีสวนไดเสีย เมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๙ และผานทางเว็บไซตของผูถูกฟองคดีที่ ๒ เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙ กอนที่จะนําเสนอใหคณะกรรมการพัฒนากฎหมายของผูถูกฟองคดีที่ ๓ พิจารณาใหความเห็นชอบการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๔๙ และผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดลงนามในประกาศดังกลาวเมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒ ซึ่งประกาศฉบับดังกลาว ยังคงเปนไปตามหลักการเดิมคือการกําหนดประเภทและขนาดของโครงการที่อาจมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมโดยทั่ว ๆ ไปโดยใหยกเลิกประกาศเดิมทั้งหมด ๗ ฉบับ โครงการหรือกิจการตามประกาศเดิมที่ไดย่ืนเสนอรายงานไวแลวก็ให คชก. พิจารณาตามหลักเกณฑวิธีการเดิมตอไปจนกวาจะมีมติอยางใดอยางหนึ่ง และใหประกาศฉบับใหมมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแต วันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อมิใหกระทบกับเจาของโครงการหรือกิจการ ที่มีการกําหนดข้ึนมาใหมนอกเหนือจากที่มีอยูในประกาศฉบับเดิมซึ่งไดมีการดําเนินการไปแลวในชวงเวลาดังกลาวจนกระทั่งไดรับใบอนุญาตใหดําเนินโครงการหรือกิจการ ใหตองจัดทํารายงานโดยประกาศฉบับใหมมีประเภทโครงการหรือกิจการ รวมทั้งส้ิน ๓๔ ประเภทของโครงการหรือกิจการ ซึ่งในขณะที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นก็มิไดมีผูใดหยิบยกประเด็นที่วาโครงการหรือกิจการดังกลาว เปนโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ตามมาตรา ๖๗ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จึงยอมเปนเหตุทําให ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ เชื่อโดยสุจริตใจเนื่องจากกระบวนการกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการดังกลาวผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ มิไดกระทําตามอําเภอใจ

Page 32: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๒

คณะอนุกรรมการท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๓ แตงตั้งก็มาจากนักวิชาการซึ่งมีชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับทั่วไป มีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน และผูแทนจากองคกรเอกชนดานสิ่งแวดลอม ที่ใหความเห็นปกปองคุมครองสิทธิของประชาชนอยูดวย รวมท้ังไดเปดรับฟงความคิดเห็นจากผูที่มีสวนไดเสีย เมื่อคณะอนุกรรมการและผูที่เขารวมแสดงความคิดเห็นมีความเห็นตรงกันวาโครงการหรือกิจการทั้ง ๓๔ ประเภทมิใชเปนโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรง ประกอบกับการจัดทํารายงานตามที่กําหนดไวในประกาศของ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ครอบคลุมเพียงพอกับการปองกันและแกไขผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ทั้งในสวนของทรัพยากรส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย (ไดรวมการรับฟงความเห็นของผูที่ไดอาจไดรับผลกระทบจากโครงการหรือกิจการไวดวยแลว) และคุณคาตอคุณภาพชีวิต (ไดรวมการประเมินผลกระทบตอสุขภาพอนามัยไวดวยเชนกัน) รวมทั้งผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดพิจารณาแลวเห็นวา การออกประกาศดังกลาว ไดสัดสวนเพียงพอและสมเหตุสมผลกับการแกไขปญหาผลกระทบที่คาดวาจะเกิดจากโครงการหรือกิจการตามท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๓ ออกประกาศไปแลว ผูถูกฟองคดีที่ ๓ จึงมิไดกระทําการอันใดที่ขัดตอบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และมิไดละเลยตอการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติตามท่ีผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามกลาวอาง เพราะโครงการทั้ง ๗๖ โครงการท่ี คชก.ใหความเห็นชอบไมใชโครงการที่อาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงฯ และมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ก็มิไดมีเจตนารมณที่จะใชบังคับกับโครงการที่ไมมีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง นอกจากนี้ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ เห็นวา การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๓ จะกําหนดใหโครงการหรือกิจการประเภทและขนาดใดจะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม และกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทํารายงาน ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวของจะตองประกอบ ไปดวยเอกสารประเภทใดบาง เปนกรณีที่ฝายนิติบัญญัติไดมอบอํานาจใหกับผูถูกฟองคดีที่ ๓ โดยความเห็นชอบของผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนผูประกาศกําหนดตามมาตรา ๔๖ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยมิไดบัญญัติวาจะตองเปนโครงการหรือกิจการที่รุนแรงหรือไม จึงข้ึนอยูกับดุลพินิจของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ที่จะดําเนินการออก “กฎ” ใหผูที่มีสวนเกี่ยวของนําไปยึดถือปฏิบัติ และมิใชเปนการออกคําส่ัง

Page 33: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๓

ทางปกครองที่ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามจะขอศาลปกครองสั่งใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ ออก “กฎ” ในเรื่องนี้ได เพราะเปนกรณีที่ฝายนิติบัญญัติกําหนดใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ และประธานของ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีอํานาจดุลพินิจในการดําเนินการและตองรับผิดชอบโดยตรงอยูแลว ในการทําหนาที่ รวมท้ังยังถูกตรวจสอบจากฝายนิติบัญญัติไดอยูแลว การที่ผูฟองคดี ทั้งส่ีสิบสามย่ืนฟองเพื่อใหศาลสั่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ ใหทําหนาที่ดังกลาว จึงเปนการใหศาลเขามาใชอํานาจในการบริหารราชการแผนดินแทนฝายบริหาร ซึ่งขัดตอหลักการแบงแยกอํานาจตามมาตรา ๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และตามคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ ๓/๒๕๕๒ ไมมีขอความที่กลาววา ถาผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไมออกประกาศกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงแลว ผูฟองคดีจะไมมีสิทธิในการขอใหศาลปกครองตรวจสอบวาโครงการหรือกิจกรรมใดบางที่อาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรายแรง โดยศาลรัฐธรรมนูญไดกลาววาในกรณีที่มีการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหก็ดีหรือเปนโครงการที่ไมตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมตามมาตรา ๔๖ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติดังกลาวก็ดี หากปรากฏวาการดําเนินโครงการหรือกิจการอาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชนทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพตอบุคคลหรือชุมชน บุคคลหรือชุมชนยอมมีสิทธิฟองตอศาลปกครองได ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๗ วรรคสาม เพื่อขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ดําเนินโครงการหรือกิจการนั้น จัดใหมีการศึกษาและประเมินคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน หรือการใหองคการอิสระดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ และสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพใหความเห็นกอนดําเนินโครงการหรือกิจการนั้น แสดงวาศาลปกครองจะตองพิจารณาเปนรายโครงการหรือกิจการไปวาโครงการหรือกิจการนั้นกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงจริงหรือไม มิใชการนําขอเท็จจริงที่มีการกลาวอางเปนการทั่ว ๆ ไปมาใชกับทุกโครงการหรือกิจการโดยอัตโนมัติ สวนศาลปกครองจะมีคําบังคับ ตามมาตรา ๗๒ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดหรือไม ข้ึนอยูกับขอเท็จจริงที่ปรากฏในขณะนั้น อยางไรก็ตาม ผูถูกฟองคดีที่ ๓

Page 34: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๔

ไดออกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ และมีผลใชบังคับแลวตั้งแตวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๒ โดยการจัดทํารางดังกลาวผูฟองคดีที่ ๓ ไดเขารวมพิจารณาและเห็นดวยกับการจัดทํารางดังกลาว จึงไมมีเหตุอันใดที่ศาลปกครองกลางจะรับคําฟองของผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไวพิจารณาอีกตอไป สําหรับการจัดใหมีองคการอิสระดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ มิไดนิ่งนอนใจกับ การดําเนินในเรื่องดังกลาว โดยผูถูกฟองคดีที่ ๓ เห็นวา ควรจัดในรูปของพระราชบัญญัติเพื่อความชัดเจนและเพื่อเปนหลักประกันกับผูที่เกี่ยวของเนื่องจากเปนกฎหมายที่เกิดจากการแสดงเจตนาของตัวแทนของประชาชนทั้งประเทศ และในระหวางที่ยังไมมีกฎหมาย ก็จะไดจัดใหมีระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีบังคับใชเปนการชั่วคราวไปกอน โดยประธานของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดแตงตั้งคณะกรรมการสี่ฝายซึ่งประกอบไปดวยตัวแทนจากภาครัฐ เอกชน ตัวแทนองคกรเอกชนดานส่ิงแวดลอม และตัวแทนของสถาบันอุดมศึกษา อยางไรก็ตาม เมื่อโครงการทั้ง ๗๖ โครงการมิใชโครงการท่ีอาจสง ผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๓ ยังมิไดจัดใหมีองคการอิสระดานส่ิงแวดลอมในขณะนี้ จึงมิไดเปนการละเลยในการปฏิบัติหนาที่แตอยางใด รวมทั้งผูฟองคดีเองก็ไมอาจขอใหศาลปกครองกลางมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ เรงเสนอ รางพระราชบัญญัติวาดวยองคกรอิสระใหกับรัฐสภาได ทั้งนี้ตามนัยคําส่ังศาลปกครองสูงสุด ที่ ๑๐/๒๕๔๖ เนื่องจากการพิจารณาใหความเห็นชอบกับรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมเปนคําส่ังทางปกครองและเปนอํานาจหนาที่ของ คชก. มิใชเปนอํานาจหนาท่ีของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ รวมทั้งโครงการทั้ง ๗๖ โครงการที่ คชก. ชุดตาง ๆ ไดให ความเห็นชอบไปแลวนั้น มิไดเปนโครงการหรือกิจกรรมท่ีเขาขายอาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ซึ่ง คชก. ไดกระทําตามอํานาจหนาที่ตามมาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ถูกตองครบถวนแลว ประกอบกับผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ มิไดมีอํานาจในการพิจารณาเพื่อใหความเห็นชอบกับรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมดังกลาว ศาลปกครองกลาง

Page 35: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๕

จึงไมอาจมีคําส่ังบังคับตามคําขอทายฟองของผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๗๒ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ได

ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามคัดคานคําใหการวา เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมถือเปนทรัพยสินของชุมชนเปนสมบัติรวมกันของประชาชน เชน อากาศ พื้นน้ํา แผนดิน ปาไม และแรธาตุอันเปนทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเรียกวา ทรัพยสินของแผนดินทั่วไป และทรัพยสินของแผนดินท่ีสงวนไวเพื่อสาธารณประโยชนหรือเพื่อประโยชนรวมกันของพลเมือง การจัดการควบคุมดูแลและใชสอยไวเปนเรื่อง ๆ ไป โดยจะกําหนดให รัฐ รัฐบาล มีหนาที่ตองเก็บรักษาไวเปนกองทรัพยสินสวนรวมไวใหประชาชนในรัฐ ซึ่งหลักการเรื่องทรัสตตอมหาชน (Public Trust Doctrine) ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติไวในหมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ สวนที่ ๘ แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมมาตรา ๘๕ (๕) สงเสริมบํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยประชาชน ชุมชนทองถิ่น และองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีสวนรวมในการกําหนดแนวทาง การดําเนินการ รากฐานสําคัญในเรื่องการคุมครองสิทธิ ข้ันพื้นฐานในสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ก็คือ การคุมครองสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานในฐานะที่เปน สิทธิในชีวิตรางกาย ทรัพยสินและรากฐานแหงการดํารงชีพของบุคคล และในแงรับรอง ใหความจําเปนในการบํารุงรักษาหรือไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ซึ่งอาจเปนขอจํากัดสิทธิเสรีภาพในทรัพยสินและในการประกอบอาชีพหรือการแขงขันทางการคาก็ตาม การคุมครองรักษาคุณคาแหงความสมดุลและความยั่งยืนในการใชประโยชนจากส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมุงตอผลอยางนอย เพื่อคุมครองการดํารงชีพและคุณภาพชีวิตในสิ่งแวดลอมที่ปลอดภัยและมีคุณภาพอยางหนึ่งและเพื่อคุมครองประโยชนอันพึงไดจากการใชทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนฐานแหงการดํารงชีพอยางปกติสุขอยางย่ังยืนและตอเนื่อง ศาลปกครองสูงสุดไดรับรองไวในคําส่ัง ที่ ๕๙๒/๒๕๕๒ วาสิทธิ ตามมาตรา ๖๗ ยอมไดรับความคุมครอง แมจะไมมีบทบัญญัติแหงกฎหมายกําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไขและวิธีการใชสิทธิดังกลาว ไมใชเหตุที่ผูถูกฟองคดีทั้งแปดจะยกขึ้นมาเปนขออาง

Page 36: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๖

เพื่อปฏิเสธไมใหความคุมครองสิทธิ เพราะโดยหลักการใชและการตีความกฎหมาย เจตนารมณตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ จะมีผลตามท่ีบัญญัติโดยทันทีไมวาจะมีบทบัญญัติใหตองมีการตรากฎหมายกําหนดรายละเอียดเรื่องดังกลาวหรือไม และศาลรัฐธรรมนูญไดเคยมีคําวินิจฉัยที่ ๓/๒๕๕๒ ตั้งแตวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๒ วางหลักไวในทํานองเดียวกัน ดังนั้น ผูถูกฟองคดีทั้งแปดในฐานะคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ หนวยงานของรัฐ และเจาหนาที่ของรัฐซึ่งเปนกลุมงานภารกิจ ตามพระราชบัญญัติวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินที่เกี่ยวของกับการบํารุง รักษา มีหนาที่ปกปองคุมครอง ควบคุม ดูแลรักษา แทนประชาชนในรัฐ และรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติใหเปนหนาที่ของรัฐตองดําเนินการ เมื่อผูถูกฟองคดี ทั้งแปดไมดําเนินการหรือดําเนินการไปแลวแตไมตลอดไมครบถวน หรือไมใหเปนไปตามหนาที่ที่จะตองปฏิบัติตามที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติ ยอมถือวาผูถูกฟองคดีทั้งแปด กระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมาย และละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควรกอใหเกิดความเสียหาย จึงเปนผลกระทบกระเทือนถึงสุขภาพ ทรัพยสินของมหาชน และตอมหาชนและหรือผูฟองคดี ทั้งส่ีสิบสาม ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามยอมมีสิทธิที่จะฟองเปนคดีไดในนามของตนเอง และหรือแทนมหาชนในรัฐ เพื่อใหปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย คือ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๓๗ และพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖ (๓),๙๖ พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๐ ประกอบมาตรา ๖๖ มาตรา ๖๗ มาตรา ๗๓ และมาตรา ๘๕ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกลาว เปนการรับรองความมีสวนไดเสียของประชาชนวามีสิทธิสวนรวม ในการจัดการ ใช หรือไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมีสวนรวม ในการบํารุง รักษา สิทธิของบุคคล และชุมชนในการฟองหนวยราชการ คือ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายในการบํารุง รักษา เพื่อใหบุคคลไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิบัติหนาที่ในการคุมครอง ปกปอง สงเสริม รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพ เพื่อความสมดุลและย่ังยืนในการดํารงชีพในฐานะผูเสียหายและเปนผูมีอํานาจฟองบังคับใหหนวยงานของรัฐ คือ ผูถูกฟองคดีทั้งแปด

Page 37: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๗

ปฏิบัติหนาที่ ในการบํารุง รักษา และคุมครองทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เพื่อประโยชนในการดํารงชีพและคุมครองคุณภาพชีวิตของประชาชนเปนการทั่วไป สําหรับผูฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ เปนนิติบุคคลตามกฎหมายไทย ผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ ในฐานะบุคคลในพื้นที่จังหวัดระยอง อยูภายใตการปกปองคุมครองตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ยอมมีสิทธิทันทีที่ประกาศใชในราชกิจจานุเบกษา การท่ีผูถูกฟองคดีทั้งแปดมีฐานะเปนหนวยงานหรือองคกรของรัฐที่มีหนาที่สงเสริม สนับสนุน ปกปอง คุมครอง รักษา ทรัพยากรธรรมชาติ น้ํา น้ําใตดิน อากาศ แทนมหาชน ยอมอนุญาต อนุมัติใหมีใหเกิดมลพิษในนํ้า น้ําใตดิน อากาศ ซึ่งโดยหนาที่ผูถูกฟองคดีทั้งแปดจะตองดําเนินการทุกวิถีทางเพื่อไมใหมลพิษในน้ํา น้ําใตดิน อากาศ ตามหลักกฎหมายมหาชนแลว เปนความรับผิดของรัฐ คือ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดจะตองดําเนินการเพื่อไมใหมลพิษ ในน้ํา น้ําใตดิน อากาศ และดําเนินการเพื่อใหฝายผูกอใหเกิดมลพิษในการเยียวยากําหนดคาชดเชยคาสินไหมทดแทนเพื่อเปนคาชดเชย โดยไมผานข้ันตอนของศาลได ดังนั้น การท่ีผูถูกฟองคดีทั้งแปด อนุมัติ อนุญาต ใหผูมีสวนไดเสียซึ่งเปนโรงงานในเขตชุมชนมาบตาพุดและเขตตําบลใกลเคียงเปดโรงงานประกอบกิจการโรงงาน โดยไมผานข้ันตอนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญตามหลักประกันไวกอนลวงหนา และเกิดความเสียหายตอทรัพยากร ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม คือ มลพิษทางเสียง น้ํา แผนดิน อากาศ ตามขอพิพาทในคดีนี้รัฐ หนวยงานของรัฐ คือ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดในขณะนี้ ตองเขามารับผิดชอบไมวาจะออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับใดตามที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติ เพื่อใหผูประกอบกิจการหรือโครงการท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงทั้งทางคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ รับภาระหรือมีคําส่ังหยุดโครงการหรือกิจกรรม และหากจะดําเนินโครงการหรือกิจกรรมตอไปจะตองดําเนินการแกไขปองกันใหครบถวนตามกฎหมายกอนจึงจะดําเนินการตอไป ในประเด็นขอพิพาทคดีนี้หากศาลไดพิจารณาและพิพากษาใหตามคําขอจะเปนผลใหออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับใด ตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายบัญญัติ อันมีผลบังคับใชทั่วประเทศ จึงเปนการฟองคดีปกครองที่เกี่ยวกับการคุมครองประโยชนสาธารณะตามคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ ๕/๒๕๔๙ คําสั่งศาลปกครองสูงสุดท่ี ๒๓๕/๒๕๔๙ และคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด

Page 38: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๘

ที่ ฟ ๒๖/๒๕๔๖ อันเปนใชสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้น ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามจึงมีสิทธิฟองคดีนี้ ในพื้นที่มาบตาพุด บานฉางและใกลเคียงจังหวัดระยอง เปนที่ตั้งของ นิคมอุตสาหกรรมหลายแหง ประกอบดวย นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรม ผาแดง นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย นิคมอุตสาหกรรมไออารแอล และนิคมอุตสาหกรรมเหมราช และเปนที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญกวา ๒๐๐ โรงงาน นับตั้งแตมีการจัดตั้งอุตสาหกรรมในจังหวัดระยองไดมีการปลอยมลพิษออกสูบรรยากาศ ซึ่งมีรายงานผลการปฏิบัติงานของหนวยงานราชการและผลงานวิจัยของนักวิชาการส่ิงแวดลอมศึกษาผลกระทบมลพิษ ในพื้นที่จังหวัดระยอง โครงการตรวจสอบการปนเปอนสารอินทรียระเหยในดินและน้ําใตดินบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ซึ่งเปนหนวยงานราชการในบังคับบัญชาของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดชี้ชัดถึงสภาพความรุนแรงของปญหามลพิษในพื้นที่มาบตาพุดท่ีเกินมาตรฐานในการตรวจสอบขอมูลเมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๐ และ ๒๕๕๑ โดยพบวา มีการปนเปอนสารอินทรียระเหย (สารกอมะเร็ง) ในไอสารในดินในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมจากการสุม ๑๘๐ จุดสุมตัวอยาง และจากการสุมสํารวจการปนเปอนสารอินทรียระเหยในน้ําใตดินในบอน้ําใตดิน ในพื้นที่โรงงานในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จํานวน ๕๑ บอ พบการปนเปอนที่มีคาเกินมาตรฐานน้ําใตดินในบางบอ โดยสารอินทรียระเหยที่พบเกินคามาตรฐาน ไดแก Trichloroethytene, Tetrachloroethylene, cisdichloroethylene, 1,1-ichloroethylene, และ Benzene และบางบอในพื้นที่โรงงานในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด มีการปนเปอนสารอินทรียระเหยที่เกินคามาตรฐานน้ําใตดินในบอชาวบาน ๑ บอ ผลการศึกษาปริมาณสารอินทรียระเหยในบรรยากาศ พบสารอินทรียระเหยทุกจุดเก็บตัวอยางบริเวณรอบนอกนิคมอุตสาหกรรม จํานวน ๒๘ ชนิด และบริเวณในนิคมอุตสาหกรรม จํานวน ๓๑ ชนิด ฯลฯ ขอมูลของหนวยงานภาครัฐดังกลาวชี้ใหเห็นถึงความรุนแรงของปญหามลพิษที่เกิดข้ึนอยางตอเนื่อง และมีสภาพความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ดังที่กลาวแลวเอกสารสรุปการดําเนินงานโครงการแกไขปญหามลพิษและเสริมสรางคุณภาพชีวิตในพื้นที่จังหวัดระยอง (มาบตาพุด) ป ๒๕๕๐ – ๒๕๕๑ ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเปนหนวยงานในบังคับบัญชาของผูถูกฟองคดีที่ ๗ ไดตรวจ

Page 39: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๓๙

สุขภาพประชาชนและตรวจวิเคราะหระดับความเขมขนของสารเมตาโบไลทของสารประกอบอินทรียระเหย(VOCs) ๓ ชนิด ไดแก เบนซีน สไตรีน และโทลูอีน ในปสสาวะของประชาชนจํานวน ๒,๑๗๗ คน ที่อยูอาศัยใน ๒๕ ชุมชน พรอมเก็บพิกัดทางภูมิศาสตร พบวา รอยละ ๑๕.๘ ของประชาชน (๓๒๙ คน) มีระดับความเขมขนของ t,t-muconic acid (เมตาโบไลทในปสสาวะของเบนซีน) สูงเกินคาดัชนีนี้วัดการสัมผัสทางชีวภาพของสมาคมนักสุขศาสตรแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (ACGIH, ๒๐๐๕ ไดกําหนดคามาตรฐานความปลอดภัยของ t,t-muconic acid ในปสสาวะเทากับ ๕๐๐ ไมโครกรัมตอกรัม ครีอะตินีน) ซึ่งแสดงผลเบื้องตนในการประเมินผลกระทบของความเสี่ยงภัยตอสุขภาพประชาชนใหเห็นวา ประชาชนที่อยูในชุมชนดังกลาวอยูในสิ่งแวดลอมที่มีผลพิษและอยูในภาวะที่เส่ียงภัยสุขภาพ นอกจากนี้จากการนําผลการวิเคราะหปสสาวะของประชาชน ที่มีสารเมตาโบไลทในปสสาวะเกินคาดัชนีชี้วัดการสัมผัสทางชีวภาพ ACGIH,๒๐๐๕ มาวิเคราะหดวยวิธีสนเทศภูมิศาสตรเบื้องตน พบวา มีการกระจายตัวของผูที่มี ความเสี่ยงตอโรคพิษเบนซีนไกลจากแหลงอุตสาหกรรมมาบตาพุด เนื่องจากผลของกระแสลมมรสุมและลมประจําถิ่น และผลการศึกษาของ ดร .อาภา หวังเกียรติ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต บงชี้วาน้ําบอตื้นในพื้นที่มาบตาพุดมีการปนเปอนโลหะหนักเกินคามาตรฐานน้ําอุปโภคบริโภคในชนบท และพบการปนเปอนของ สารโลหะหนักชนิด Fe,Mn, Pb และ Cd เกินระดับมาตรฐานในน้ําบอตื้น ๒๕ ชุมชน รอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด รายงานการตรวจหาเซลลที่ ผิดปกติเนื่องจาก สารพันธุกรรมที่ถูกทําลายของ รศ.ดร.เรณู เวชรัชตพิมล คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร พบวาประชาชนในพื้นที่มาบตาพุดท่ีเปนกลุมตัวอยาง ๕๐ รายแรก จาก ๔๐๐ ราย มีจํานวนเซลลที่มีความผิดปกติของสารพันธุกรรมสูง นอกจากการตรวจพบความผิดปกติ ในคนแลว แมแตในสิ่งมีชีวิต เชน ปลา กบ ไสเดือนดิน และพืชที่ไดรับสารพิษก็ตรวจพบความผิดปกติของสารพันธุกรรมสูงดวย กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเปนหนวยงานในบังคับบัญชาของผูถูกฟองคดีที่ ๗ ไดเคยเผยผลการตรวจปสสาวะของประชาชนใน ๒๕ ชุมชน รอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด พบวา ๓๐๐ คน มีสารเบนซีนซึ่งอาจกอมะเร็งเม็ดเลือดขาวสูงเกินมาตรฐาน จากเอกสารของหนวยงานราชการบางสวนที่ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามแสวงหามายืนยันตอศาลชี้ใหเห็นและยืนยันไดวา สถานการณมลพิษในพื้นที่พิพาท

Page 40: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๐

ในภาพรวม กอใหเกิดปญหาการแพรกระจายของมลพิษประเภทตาง ๆ กอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อยูเสมอ ตามหลักฐานของทางราชการขางตน ความรุนแรงของปญหามลพิษขางตนสงผลใหญาติ ๆ ของผูฟองคดีหลายรายตองมาเจ็บปวยลมตายไปกอนวัยอันสมควร อันมีสาเหตุสัมพันธมาจากการไดรับมลพิษในพื้นที่ในมาบตาพุด บานฉางและใกลเคียงมาอยางตอเนื่อง เมื่อโครงการดังกลาวเปดดําเนินการซึ่งอยูในพื้นที่ใกลชิดกันและมีชุมชนอยูโดยรอบยอมสรางปญหากระทบตอสวัสดิภาพความเปนอยูของชาวบานและผูฟองคดีโดยมิอาจหลีกเล่ียงได ทั้งนี้ ขอมูลการศึกษาวิจัยจากหนวยงานหรือองคกรหลาย ๆ แหงทั้งภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษา นักวิชาการอิสระ ยืนยันสอดคลองกันวาโครงการหรือกิจกรรมดังกลาว เปนปจจัยหลักของการเกิดปญหาที่มีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพของประชาชนหรือชุมชนในพื้นที่มาบตาพุด บานฉางและใกลเคียง โดยเฉพาะพื้นที่โดยรอบในและนอกเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมบานฉาง นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก นิคมอุตสาหกรรมผาแดง นิคมอุตสาหกรรมอารไอแอล ซึ่งอยูใกลชิดติดกันในเขตพื้นที่ของจังหวัดระยอง ซึ่งมีชุมชน สถานที่ราชการ ศูนยการคา โรงเรียน สถานศึกษา วัด มัสยิด ฯลฯ รายลอมรอบนิคมอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนพื้นที่ที่มีปญหาการแพรกระจายของมลพิษหลายประเภท เชน ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) ไนตรัสออกไซด (NOx) สารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) จากโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ในพื้นที่เหลานั้น จนเกินมาตรฐานที่กฎหมายกําหนดแลวเกินกวาศักยภาพของพื้นที่ที่จะรองรับได (Over Carrying Capacity) สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในบริเวณชุมชนของผูฟองคดีที่เคยสมบูรณใสสะอาดปราศจากมลพิษกลับถูกทําลาย เพราะโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวขางตน โดยอาจพิจารณาแยกประเภทของมลพิษได ดังนี้ มลพิษทางน้ําและน้ําใตดิน เชน น้ําในคลองตากวน น้ําทะเลในบริเวณหาดแสงจันทร หาดตากวน หาดพลา และพื้นที่บริเวณใกลเคียงเปนพิษมีสารเคมีเจือปน ทําทะเลมีสีขุนขน น้ําในแมน้ําลําคลองเนาเสียทางน้ําถูกทับถม น้ําใตดินและในบอน้ําตื้นบริเวณใกลเคียงโครงการที่ไดรับอนุมัติอนุญาตจากผูถูกฟองคดีที่เกี่ยวของ มีสารพิษเจือปนจนไมสามารถนํามาใชอุปโภคบริโภคได

Page 41: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๑

อันเนื่องมาจากมีมลพิษจากกากของเสียอุตสาหกรรม มลพิษทางอากาศ เชน การปลอยหรือแพรกระจายสารมลพิษออกมาจากโครงการ อาทิ สารอินทรียระเหยงาย (VOCs) สารไนตรัสออกไซต (NOx) สารซัลเฟอรไดออกไซต (So2) กระทบตอชาวบานและ เด็กนักเรียนที่ตองมาเรียนในโรงเรียนที่มีที่ตั้งใกลโครงการดังกลาวจนในที่สุดตองยายโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคารไปยังสถานท่ีแหงใหม มลพิษทางเสียง เชน เสียงดังจากการเดินเครื่องจักร และความสั่นสะเทือนที่เกินกวาคามาตรฐานที่กฎหมายกําหนด ทําใหชาวบานและประชาชนที่อาศัยอยูบริเวณใกลเคียงเกิดภาวะเดือดรอนรําคาญ ไมสามารถดํารงชีวิตไดอยางเปนปกติ ปาชายเลนบริเวณใกลเคียงที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรมถูกทําลาย ชายฝงทะเลถูกกัดเซาะเสียหายเปนบริเวณกวางหลายสิบกิโลเมตร ตั้งแตชายหาดทะเลบานฉางไลมาจนถึงชายหาดในตัวเมืองระยอง สงผลกระทบตอสัตวที่เปนหวงโซอาหารซึ่งอาศัยอยูในบริเวณดังกลาวไมสามารถดํารงชีวิตอยูได นอกจากนี้การอนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวเกิดข้ึนในพื้นที่ดังกลาวมากมาย ย่ิงทําใหปญหาที่มีสะสมอยูแลวมากมายในพื้นที่ดังกลาวรุนแรงเพิ่มมากข้ึน พื้นที่ของมาบตาพุด บานฉาง และพื้นที่ใกลเคียงกําลังจะเปนแหลงของอุตสาหกรรมมลพิษที่สงผลตอวิถีชีวิตของประชาชนและผูฟองคดีทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม ทองฟาเต็มไปดวยมลพิษ ขยะพิษ ถูกลอบนําไปท้ิงในที่อื่น ตองยายโรงเรียน ยายวัด บานเรือนแวดลอมไปดวยกล่ินสารเคมี สารอินทรียระเหยงาย VOCs รั่วไหลแพรกระจายเสมอ ๆ แตหาตนตอไมเจอ โรงพยาบาล มีไมเพียงพอ แพทยอาชีวเวชศาสตร ขาดแคลน ภาคเกษตรลมสลาย ภาคบริการถดถอย นักทองเที่ยวไมมาทองเที่ยว ชายหาดถูกกัดเซาะ น้ําทะเลปนเปอนมลพิษมีสีคลํ้าขุนขน สัตวทะเลมีดีเอนเอผิดปกติ บอน้ําใต ดินกินไมได ใชคลองเปนทอน้ําทิ้ง ปูปลา หากินลําบาก กากสารพิษกองเปนภูเขา น้ํากินน้ําใชมีส่ิงปนเปอน และถูกแยงชิงไปใหภาคอุตสาหกรรม น้ําประปาไมทั่วถึง ชุมชนแออัดเกิดข้ึนดาษด่ืนไรการควบคุมและพัฒนา ประชากรแฝงมีมากกวาคนทองถิ่น ผังเมืองเดิมถูกแปรเปล่ียนไดตามใจผูประกอบการ ฯลฯ การเพิ่มข้ึนของโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการดังกลาวไดกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของชาวบานมาอยางตอเนื่องและเพิ่มมากข้ึนนับตั้งแต มีการใหความเห็นชอบอนุมัติ อนุญาต ใหโรงงานอุตสาหกรรมหนักหรือโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญตามบัญชีโครงการเอกสารทายฟองเขามาดําเนินการในพื้นที่ โดยผูฟองคดี

Page 42: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๒

และประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนและพื้นที่ใกลเคียงที่ไดรับมลพิษหลายรายตองลมปวย และเสียชีวิตไปดวยโรคอันเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ อาทิ โรคมะเร็ง โรคปอด เปนตน ซึ่งปรากฏตามรายงานการดูแลสุขภาพประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ใกลเคียงชุมชนอุตสาหกรรมในจังหวัดระยองของนายแพทยกฤษณ ปาลสุทธิ์ ผูเชี่ยวชาญดานเวชกรรมปองกัน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง เมื่อชุมชนชาวบานระยองไมสามารถ ทนมลพิษไดอีก ประกอบกับรัฐจะมีแนวนโยบายในการสงเสริมอุตสาหกรรมในประเทศมากกวาที่จะคํานึงถึงผลกระทบทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพของชุมชนบริเวณใกลเคียง จึงไดรวมตัวกันฟองผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตอศาลปกครองระยอง เพื่อใหปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยการประกาศใหพื้นที่ตําบลมาบตาพุดและเทศบาลเมืองมาบตาพุด ตลอดจนพื้นที่ขางเคียงเปนเขตควบคุมมลพิษ เพื่อดําเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษตามกฎหมาย ระหวางการพิจารณาคดีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ ไดใหการยอมรับวาไดประชุมพิจารณาหลายคร้ังเกี่ยวกับการประกาศเขตควบคุมมลพิษในบริเวณพื้นที่มาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตนมา โดยมีมติการประชุม ครั้งที่ ๑๐/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๘ มอบหมายใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ พิจารณาความเปนไปไดของการประกาศ เขตควบคุมมลพิษ เนื่องจากมีแนวโนมที่จะกอใหเกิดปญหาตอส่ิงแวดลอมและสุขภาพอนามัยของประชาชนที่อยูอาศัยโดยรอบ ประกอบรายงานของกรมควบคุมมลพิษ พบวา มีสารอินทรียระเหยมากกวา ๔๐ ชนิด เปนสารกอมะเร็ง ๒๐ ชนิด ใน ๒๐ ชนิดเปนสารกอมะเร็งที่มีคาเกินระดับการเฝาระวังอากาศในบรรยากาศของ us-epa [epa region 6 screening level] จํานวน ๑๙ ชนิด และผลการตรวจวัดแสดงใหเห็นวา ไมวาจะเก็บตัวอยางในชวงสั้น ๆ หรือเก็บตัวอยางแบบเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง ก็จะพบสารกอมะเร็งเชนเดียวกัน และมีมติการประชุม ครั้งที่ ๑๑/๒๕๔๘ (นัดพิเศษ) เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๘ กําหนดใหพื้นที่ตําบลมาบตาพุดเปนเขตควบคุมมลพิษ และปรากฏตามคําชี้แจงของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ตอศาลปกครองระยองวาน้ําคลองสาธารณะในพื้นที่มาบตาพุด ป พ.ศ. ๒๕๕๑ อยูในระดับเส่ือมโทรม น้ํามีสีดําคลํ้า กล่ินเหม็น พบสารปนเปอนของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด คอนขางสูง คลองซากหมากชวงที่ผานเขาเขตนิคมอุตสาหกรรมพบการปนเปอนโลหะจัดอยูในระดับคุณภาพแหลงน้ํา

Page 43: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๓

ผิวดินเสื่อมโทรมมากในประเภทที่ ๕ คลองตากวน คลองบางกระพรุน จัดอยูในระดับคุณภาพเสื่อมโทรมในประเภทที่ ๔ มีแนวโนมที่เส่ือมลง และตามคําชี้แจงของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๑ ตอศาลปกครองระยองยอมรับวา ผลการดําเนินการปรับลดมลพิษ ณ ส้ินเดือนมีนาคม ๒๕๕๑ ควบคุมการระบายสารสารอินทรียระเหยงาย VOCs จากแหลงรั่วซึมที่มีนัยสําคัญจํานวน ๓๗๓ จุด จาก ๑๐๐ โรงงาน มีการแกไขแลวเสร็จ ๓๗๑ จุด ศาลปกครองระยองวินิจฉัยวา โรงงานอุตสาหกรรมหนักและอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่กอมลพิษสูง เชน โรงกลั่นน้ํามัน โรงแยกกาซธรรมชาติ โรงผลิตเหล็กและเหล็กกลา โรงงานเคมีและปุยเคมี โรงงานไฟฟาถานหิน ตั้งอยูในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมผาแดงและนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก โดยมีโรงงานตั้งอยูในเขตทองที่นี้ไมนอยกวา ๑๐๐ โรงงาน ขอเท็จจริงจากการศึกษาวิเคราะหและการตรวจสอบพื้นที่ของผูเกี่ยวของเปนเวลาหลายประบุวา ปญหามลพิษในทองที่มาบตาพุดกระทบกับส่ิงแวดลอมและสุขภาพของประชาชน และมีแนวโนมที่จะรายแรงถึงขนาดเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยของประชาชนหรืออาจกอใหเกิดผลกระทบเสียหายตอคุณภาพส่ิงแวดลอม แมจะมีแผนแกไขปญหามลพิษก็เปนเพียงแผนปฏิบัติการลดและขจัดมลพิษ แตไมมีแนวโนมลดนอยลงกวาเดิมตรงกันขามกลับมากข้ึนกวาเดิม จึงพิพากษาให ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ประกาศเขตควบคุมมลพิษ เพื่อดําเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษ ตอมาผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดประกาศใหพื้นที่เขตเทศบาลเมืองมาบตาพุดท้ังหมดรวมท้ังตําบลเนินพระ ตําบลมาบขา และตําบลทับมา อําเภอเมืองระยองทั้งตําบล ตลอดจนทองที่ตําบลบานฉาง อําเภอบานฉาง เปนเขตควบคุมมลพิษ เพื่อดําเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษ โดยมีแผนการควบคุม ลด หรือขจัดมลพิษ แตจากการไตสวนผูถูกฟองคดีทั้งแปดก็ไมไดนําผลการลด ขจัดมลพิษ มาแสดงตอศาลแตอยางใด โดยเฉพาะไดมีการยืนยันวาโครงการ ๗๖ โครงการ ตั้งอยูในเขตพื้นที่ที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ประกาศใหเปนเขตควบคุมมลพิษ ยอมแสดงใหเห็นวา โครงการ ๗๖ โครงการดังกลาวที่ไดรับอนุญาตจาก ผูถูกฟองคดีทั้งแปดนั้น เปนโครงการที่กอหรืออาจกอใหเกิดมลพิษเพิ่มเติมจากมลพิษที่โครงการเดิมที่มีอยูในพื้นที่ซึ่งเปนเขตควบคุมมลพิษ อันจะเปนการซ้ําเติมความเสียหายที่จะเกิดข้ึนตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน ชุมชน ใหมากย่ิงข้ึนกวาเดิม โดยมลพิษที่มีอยูแตเดิมยังไมไดลดหรือขจัดมลพิษใหเห็นเปนรูปธรรมก็มีการ

Page 44: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๔

เพิ่มเติมเขาอีกเกือบ ๑๐๐ โรงงาน ในเดือนตุลาคม ๒๕๕๒ คณะกรรมาธิการวุฒิสภา ประกอบดวย คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมวุฒิสภา คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและคุมครองผูบริโภควุฒิสภา ฯลฯ มีมติวามลพิษในพื้นที่มาบตาพุดเกินกวามาตรฐาน ๓๐ เทา ดังนั้น คําฟองของผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามจึงเปน คําฟองที่มีมูล สําหรับโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงนั้นตามหนังสือสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ นร ๐๙๐๑/๒๐๗๕ ลงวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๒ เรื่อง นําสงคําชี้แจงและพยานหลักฐานประกอบการพิจารณาของศาลปกครองตามคํารองเลขที่ ๕๘๖/๒๕๕๒ และตามบันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ (เรื่องเสร็จที่ ๔๙๑ – ๔๙๓/๒๕๕๒) ในรายงานการประชุมคณะกรรมการกฤษฎีกาดังกลาวสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานซึ่งเปนหนวยงานในบังคับบัญชาของผูถูกฟองคดีที่ ๕ ไดมีหนังสือที่ สกพ. ๕๕๐๒/๔๐ ลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ รวมทั้งหนวยงาน ในบังคับบัญชาของผูถูกฟองคดีที่ ๔ มีหนังสือดวนที่สุด ที่ อก. ๐๓๐๔/๗๙๒ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๒ และหนวยงานในบังคับบัญชาของผูถูกฟองคดีที่ ๘ มีหนังสือ ดวนที่ สุด ที่ อก.๕๑๐๒.๑/๑๘๑๐ ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒ หารือสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในเวลากอนที่ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามจะย่ืนฟองคดีนี้ตอศาลปกครองกลาง ตามรายงานการประชุม ตัวแทนของผูถูกฟองคดีที่ ๔ และท่ี ๘ ไดชี้แจงวา โดยผลของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ ที่กําหนดใหหนวยงานของรัฐนํากรอบภารกิจในสวนที่เกี่ยวของไปดําเนินการในสวนของภารกิจตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดกําหนดใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ในฐานะหนวยงานผูรับผิดชอบหลักรวมกับสวนราชการอื่นทุกหนวยงาน กําหนดมาตรการและกระบวนการรองรับการใชสิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการดําเนินการตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําหนดโรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ใหโรงงานตามบัญชี

Page 45: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๕

ทายประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ที่ตองจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม ออกตามความในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนโรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๘ ไดนําประกาศฯ ดังกลาว มาประกอบการพิจารณา ระงับการอนุญาตการประกอบกิจการโรงงาน โรงงานประเภท ที่ถูกกําหนดใหเปนโรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมดังกลาวไวกอน จากการชี้แจงของผูแทนผูถูกฟองคดีที่ ๔ และท่ี ๘ เปนการยอมรับวาไดมีมติของคณะรัฐมนตรีใหดําเนินการอนุวัตตามรัฐธรรมนูญมาตรา ๖๗ วรรคสอง และผูถูกฟองคดีทั้งแปดไดพยายามที่จะดําเนินการใหเปนไปตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แตไมดําเนินการหรือมีการดําเนินการไปบางแตไมดําเนินการใหเสร็จส้ิน มีการประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมไปแลว ก็ไมนํามาปฏิบัติใหเห็นเปนรูปธรรม อันแสดงใหเห็นถึงวาผูถูกฟองคดีทั้งแปด ไมดําเนินการใหเปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ไมถูกตองตามรูปแบบข้ันตอน หรือวิธีการอันเปนสาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการนั้น ละเลยหนาท่ีตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ลาชาเกินสมควรตามรัฐธรรมนูญที่บัญญัติใหตองปฏิบัติ ดังนั้น แสดงใหเห็นวาหนวยงานของรัฐ เชน ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดประกาศใหโรงงานตามบัญชีทายประกาศกระทรวง วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่ตองจัดทํารายงานผลกระทบส่ิงแวดลอม ออกตามความในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนโรงงานท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง โดยความเห็นชอบของหนวยงาน กลุมภารกิจที่เกี่ยวของแลวเปนโครงการหรือกิจกรรมตามฟองจํานวน ๖๕ โครงการ นอกเหนือจากท่ีศาลปกครองสูงสุด มีคําวินิจฉัย เปนโรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ซึ่งศาลปกครองสูงสุดไดวินิจฉัยรับรองไววา โครงการหรือกิจกรรมตามที่ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ประกาศไวจํานวน ๑๙ โครงการแลว ในสวนที่เหลือซึ่งประกอบดวยโครงการปโตรเคมีและทอสง โครงการเหล็ก นิคมอุตสาหกรรม และสวนอุตสาหกรรม ทาเทียบเรือ โรงไฟฟา โรงบําบัดกําจัดของเสีย

Page 46: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๖

อันตรายจากอุตสาหกรรม ตามฟองเปนโครงการนาเชื่อวาเปนโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ

ตามความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาและคําชี้แจงของผูแทน ผูถูกฟองคดีที่ ๔ และท่ี ๘ ที่กลาวมา เปนการยอมรับวายังไมไดจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายเพื่ออนุวัตตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง แตอยางใด โครงการท้ัง ๖๕ โครงการ ดําเนินการเพียงศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมเทานั้น แตผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนในชุมชนไมมีการศึกษา มีการจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียตามกฎหมาย กฎ ประกาศกระทรวง ที่มีอยู ดังนั้น กระบวนตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยยังไมไดมีการศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ และไมจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวน ไดเสีย รวมทั้งไมมีการจัดตั้งองคการอิสระซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ และผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาดานส่ิงแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพ ใหความเห็นประกอบกอนดําเนินการโครงการหรือกิจกรรมเพื่อเปนการคุมครองสิทธิบุคคลใหดํารงชีพอยูอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ สวัสดิภาพหรือคุณภาพชีวิตของตน ดังนั้น โครงการหรือกิจการท้ัง ๖๕ โครงการ ตามคําฟองจึงเปนโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดตองมีคําส่ังใหโครงการหรือกิจกรรมดําเนินการตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๗ วรรคสอง ใหถูกตองครบถวนกอนอนุมัติอนุญาต แตไมมีขอเท็จจริงวาผูถูกฟองคดีทั้งแปดไดดําเนินการตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๗ วรรคสอง ครบถวน โดยมีรายงานการศึกษาผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม รายงานการศึกษาผลกระทบตอสุขภาพผานกระบวนรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย มีองคการอิสระซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพและผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัด

Page 47: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๗

การศึกษาดานส่ิงแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานส่ิงแวดลอมใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการออกคําส่ังมาแสดงตอศาลปกครองกลางทั้งที่รัฐธรรมนูญประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาแลวเมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และยอมมีผลบังคับใชทันที ทั้งนี้โดยศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัยที่ ๓/๒๕๕๒ และศาลปกครองสูงสุดไดมีคําส่ังรับรองยืนยันไวเชนเดียวกัน โดยเฉพาะผลของคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลผูกพันผูถูกฟองคดีทั้งแปดวาตองปฏิบัติตาม ซึ่งหนวยงานทางปกครองและหรือผูถูกฟองคดีและผูมีสวนไดเสียจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยเฉพาะมาตรา ๖๗ วรรคสอง แตผูถูกฟองคดีและผูมีสวนไดเสีย ผูอุทธรณทั้งหมด กลับเพิกเฉยเปนการละเลยตอหนาที่ตามท่ีรัฐธรรมนูญกําหนดใหปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ลาชาเกินสมควร ถือวาผูถูกฟองคดีทั้งแปดยังไมปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๗ วรรคสอง เปนคําส่ังที่ไมชอบดวยกฎหมายแตเนื่องจากใบอนุญาตใหดําเนินโครงการหรือกิจกรรมของผูถูกฟองคดีทั้งแปดเปนคําส่ังทางปกครองซึ่งสามารถบังคับไดทันที เจาพนักงานที่ตองปฏิบัติตามคําส่ัง หากไมปฏิบัติตามอาจมีความผิดฐานขัดคําส่ังเจาพนักงานได ดังนั้น หากคําส่ังทางปกครองออกโดยไมมีกฎหมายรองรับแลว ผูรับคําส่ังดังกลาวนําไปปฏิบัตผิลยอมเปนการไมชอบดวยกฎหมายไปดวย ดังนั้น ผลที่ออกอาจทําใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงที่ยากแกการเยียวยาในภายหลัง เพราะผลเสียหายยอมเกิดกับผูไดรับคําส่ังอนุญาตคือผูอุทธรณหรือผูมีสวนไดเสีย ตลอดจนผูฟองคดีและชาวบานที่อยูในเขตชุมชน ประกอบกับความเสียหายดังกลาวเปนผลกระทบดานมลพิษ ที่เกิดข้ึนมายาวนานจนศาลปกครองระยองไดมีคําพิพากษา คดีหมายเลขดําที่ ๑๙๒/๒๕๕๐ และคดีหมายเลขแดงที่ ๓๒/๒๕๕๒ วาพื้นที่ที่ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามมาฟองเปนคดีมีการกอและแพรกระจายมลพิษสูง จึงส่ังใหเปนเขตควบคุมมลพิษเพื่อดําเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษ ตามพระราชบัญญัติส งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ตอไป แมรัฐบาลโดยผูถูกฟองคดีที่ ๑ จะประกาศใหพื้นที่ตําบลมาบตาพุดและพ้ืนที่ใกลเคียงเปนเขตควบคุมมลพิษแลวตั้งแตประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ แตเจาพนักงานทองถิ่นเพิ่งจะไดเริ่มมีการจัดทําแผนปฏิบัติการลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ และแผนดังกลาวยังไมไดนําไปปฏิบัติใหเห็นเปนรูปธรรมชัดเจนวาไดมีการควบคุม ลด และขจัดมลพิษ ออกไปบางหรือแตเพียงบางสวน

Page 48: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๘

แตกลับมีความพยายามที่จะอนุมัติอนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมขนาดใหญประเภทรุนแรงที่มีความเสี่ยงและมีความเปนอันตรายสูงตอการเกิดและแพรกระจายของมลพิษเพิ่มเติมเพิ่มมากข้ึนในพื้นที่มาบตาพุดและใกลเคียง ซึ่งการกระทําดังกลาวจะเปนการเพิ่มหรือกอใหเกิดมลพิษเพิ่มเติมเขามาอีกจนอาจจะยากตอการแกไขเยียวยา คํารองคัดคานคํารองคุมครองชั่วคราวทั้งของผูถูกฟองคดีหรือผูมีสวนไดเสียไมปรากฏหลักฐานยืนยันตอศาลปกครองกลางขณะที่ไตสวนวามลพิษที่เกิดข้ึนในพื้นที่ไดรับการแกไขเยียวยาอยางไรเพื่อใหเปนไปตามคําพิพากษาของศาลปกครองระยอง

ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามเห็นวา การฟองคดีนั้นเปนการอางสิทธิตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติรับรองสิทธิไววา ประชาชนมีสิทธิ มีสวนรวมในการจัดการใช หรือไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีสวนรวมในการบํารุงรักษา ใหสิทธิของบุคคลและชุมชนในการฟองหนวยราชการคือ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดใหปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายในการบํารุง รักษาเพื่อใหบุคคล ไดประโยชนจากทรัพยากร ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิบัติหนาที่ ในการคุมครอง ปกปอง สงเสริม รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพ เพื่อความสมดุลและย่ังยืนในการดํารงชีพในฐานะผูเสียหาย และเปนผูมีอํานาจฟองบังคับใหหนวยงานของรัฐคือผูถูกฟองคดีทั้งแปดปฏิบัติหนาที่ในการบํารุง รักษา และคุมครองทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เพื่อประโยชนในการดํารงชีพและคุมครองคุณภาพชีวิตของประชาชน เปนการทั่วไป

ศาลแสวงหาขอ เท็จจริ ง โดยตรวจสํ านวนคดีศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดําที่ ๑๕๗๕/๒๕๔๕ คดีหมายเลขแดงที่ ๑๐๖๘/๒๕๔๗ และคดีหมายเลขดําท่ี ๑๔๕๑/๒๕๔๕ คดีหมายเลขแดงที่ ๔๗๔/๒๕๔๙ ศาลปกครองระยอง คดีหมายเลขดําท่ี ๑๙๒/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ ๓๒/๒๕๕๒ และใหสําเนาเอกสารซึ่งเปนขอเท็จจริง ที่เกี่ยวของกับคดีนี้รวมไวในสํานวนเพื่อเปนพยานหลักฐานในคดี และมีคําส่ังให ผูครอบครองเอกสาร ไดแก ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดระยอง และคณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติราชการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย สงสําเนาและรับรองเอกสารที่อยูในความครอบครอง

Page 49: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๔๙

ตอศาลเพื่อรวมไวในสํานวนเปนพยานหลักฐานในคดี รวมทั้งมีคําส่ังใหนําเอกสารในชั้น การกําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเปนการชั่วคราวกอนการพิพากษาคดีเปนพยานหลักฐานในคดี ทั้งนี้ ไดแจงใหคูกรณีเพื่อทราบ ตรวจดู และแสดงพยานหลักฐานเพื่อยืนยันหรือหักลางแลว ศาลออกนั่งพิจารณาคดีครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ โดยรับฟงตุลาการเจาของสํานวนสรุปขอเท็จจริงและประเด็นของคดี คําแถลงดวยวาจาของคูกรณี และคําชี้แจงดวยวาจาประกอบคําแถลงการณของตุลาการผูแถลงคดีแลว ศาลไดตรวจพิจารณาเอกสารทั้งหมดในสํานวนคดี กฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับที่เกี่ยวของประกอบแลว ขอเท็จจริงรับฟงไดวา ในป ๒๕๒๕ เมื่อประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๒๙) ไดกําหนดใหพื้นที่ติดตอระหวางจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยองซึ่งครอบคลุมพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่อง เปนพื้นที่เปาหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยนโยบายหลักของแผนพัฒนาฯฉบับดังกลาวไดกําหนดการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกใหเปนศูนยกลางความเจริญแหงใหมของประเทศ เพื่อพัฒนาเปนศูนยอุตสาหกรรมหลักและอุตสาหกรรมตอเนื่องอื่น ๆ และกําหนดพื้นที่เปาหมายบริเวณระหวางอําเภอสัตหีบ ถึงเขตเทศบาลเมืองระยอง เนื้อที่ประมาณ ๑๒๓,๗๕๐ ไร ใหเปนเมืองอุตสาหกรรม ที่ทันสมัยและเปนที่ตั้งของอุตสาหกรรมหลัก ไดแก อุตสาหกรรมแยกกาซ อุตสาหกรรม ปโตรเคมี อุตสาหกรรมโซดาแอช อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา อุตสาหกรรมปุยเคมี เปนตน และกําหนดแผนการสงเสริมอุตสาหกรรม คือ สงเสริมใหลงทุนโครงการอุตสาหกรรมหลักบรเิวณพื้นที่หนองแฟบ – มาบตาพุด เชน โครงการโซดาแอช โครงการปุยเคมี โครงการเหล็กและเหล็กกลา

ในป ๒๕๓๐ เมื่อประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๔) ไดกําหนดวัตถุประสงคมุงยกระดับการพัฒนาประเทศ ใหเจริญกาวหนาตอไปโดยมีเปาหมายทําใหเศรษฐกิจของประเทศไทยขยายตัวสูงกวาในชวงระยะเวลาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๕ เพื่อเปล่ียนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจของประเทศเขาสูประเทศอุตสาหกรรมใหม และกําหนดแผนพัฒนาที่สําคัญประการหน่ึง คือ

Page 50: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๐

แผนพัฒนาเมืองและพื้นที่เฉพาะ โดยพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกซึ่งเปนพื้นที่เปาหมายเพื่อการพัฒนาไดกําหนดพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง เปนจุดท่ีทอสงกาซธรรมชาติจากอาวไทยมาขึ้นฝง เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมหลักจากการใชกาซธรรมชาติเปนวัตถุดิบ

ในป ๒๕๓๑ ไดประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๖ (พ.ศ.๒๕๓๑) ใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๓๑ ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๓๑ ตามแผนผังการใชประโยชนที่ดินไดกําหนดการใชประโยชนที่ดินในอนาคตไวดังนี้ ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) มี ๓ บริเวณ ไดแก ชุมชนบานฉาง ชุมชนมาบตาพุด และชุมชนเมืองใหมมาบตาพุด ยานอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) มีบริเวณเดียว ไดแก นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

ในป ๒๕๓๔ ดําเนินการปรับปรุงผังเมืองรวมตามประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๖ (พ.ศ.๒๕๓๑) ซึ่งจะหมดอายุการใชบังคับในวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๓๖ และประกาศกฎกระทรวงใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๓๔ กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐๒ (พ.ศ. ๒๕๓๔) (ปรับปรุงครั้งที่ ๑ ) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๔ โดยมีการกําหนดท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) เพิ่มข้ึนไปบริเวณดานเหนือถนนสุขุมวิทฝงตะวันออกของทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๙๒ (ถนนปกรณสงเคราะหราษฎร) และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๑๙๑ (ถนนไปอําเภอปลวกแดง) และกําหนดที่ดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไมเปนมลพิษ ตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอมและคลังสินคา (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีมวง) บริเวณดานใตชุมชนเมืองใหมแหลมฉบัง

ในป ๒๕๓๕ ประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๓๙) สรุปผลการพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๖ วา การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยที่ผานมา ดานเศรษฐกิจมีการขยายตัว ในระดับสูงและเปดกวางเขาสูระบบเศรษฐกิจนานาชาติมากข้ึน ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๖ เศรษฐกิจของประเทศไทยไดฟนตัวและขยายตัวอยางตอเนื่องในอัตราเฉล่ียรอยละ ๑๐.๕ ตอป

Page 51: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๑

ซึ่งสูงกวาเปาหมายที่ตั้งไวในถึงหนึ่งเทาตัว และเปนอัตราการขยายตัวเฉล่ียสูงสุดของการพัฒนาเศรษฐกิจในชวง ๒๕ ปที่ผานมา แตพบวาการขยายตัวนั้นไดกอใหเกิดความไมสมดุลในการพัฒนาที่สําคัญ ๆ หลายดาน เกิดปญหามลพิษในดานตาง ๆ เชน น้ําเนา อากาศเสีย เสียงรบกวน กากของเสียและสารอันตรายซึ่งเพิ่มปริมาณมากขึ้น คุณภาพน้ําในแมน้ําสายหลักและคุณภาพน้ําทะเลชายฝงเส่ือมโทรมและมีคุณภาพต่ํากวามาตรฐาน ที่กําหนดไว ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และปญหาสิ่งแวดลอมเหลานี้สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชนและชุมชน ดังนั้น เมื่อทบทวนประเด็นการพัฒนา ที่ผานมาจึงสรุปวา การพัฒนาประเทศไทยในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ จําเปนตองใหมีความสมดุลระหวางการพัฒนาในเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเปนธรรมในสังคมควบคูกันไปเพื่อนําไปสูการพัฒนาที่มีคุณภาพและย่ังยืน

เมื่อเริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๗ คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๓๕ อนุมัติใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ ดําเนินโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ มีความกวาง ๑,๐๐๐ เมตร ความยาว ๒,๔๐๐ เมตร พื้นที่ถมทะเลประมาณ ๑,๔๕๐ ไร ซึ่งเปนการขยายพื้นที่ออกไปในทะเลตอจากโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๑ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๘ ไดมีหนังสือ ที่ อก ๐๘๐๗.๒/๖๖๕ ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ สงรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓ ใหสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมพิจารณา และย่ืนคํารองลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ ขออนุญาตทําส่ิงลวงลํ้าลําน้ําดวยการถมทะเลตออธิบดีกรมเจาทาตามพระราชบัญญัติ การเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ คณะกรรมการพิจารณากล่ันกรอง การปลูกสรางส่ิงลวงลํ้าลําน้ําตามคําส่ังกรมเจาทา ที่ ๘๔๙/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๔๐ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณากล่ันกรองการปลูกสรางส่ิงลวงลํ้าลําน้ํา ไดประชุมพิจารณาคํารองขอทําส่ิงลวงลํ้าลําน้ําดวยการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะท่ี ๓ ในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๔๐ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๐ คณะกรรมการพิจารณาแลวพบวา ตามรายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมเสนอใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ แกไขผลกระทบส่ิงแวดลอมบริเวณ หาดทรายทองโดยวิธีนําทรายมาถม แตไดทําการกอสรางเข่ือน(บางสวน) ซึ่งไมตรงตาม

Page 52: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๒

รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม และการกอสรางเข่ือนเรียงหินตามแนวชายหาด หาดทรายทองเปนระยะ ๑.๕๐๐ กิโลเมตร จะทําใหเกิดการกัดเซาะอยางรุนแรง และการ กัดเซาะชายหาดฝงทะเลตะวันออกจะมีระยะประมาณ ๖.๓๐๐ กิโลเมตร และเห็นวา ไมมีมาตรการท่ีแนชัดในการปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะและการทับถมของตะกอนบริเวณชายหาด นอกจากนี้ ผูถูกฟองคดีที่ ๘ ไมไดใหคําตอบทั้งในเรื่องแนวความคิดและวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการชดเชยความเสียหายที่จะตองใหกับชุมชนหาดทรายทอง จึงมีมติใหดําเนินการจัดทํารายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อเสนอใหคณะกรรมการนโยบายสิ่งลวงลํ้าลําน้ําพิจารณา

ในป ๒๕๓๙ คณะกรรมการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก (กพอ.) มีมติที่ประชุม ครั้งที่ กพอ. ๓/๒๕๓๙ เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ใหยกเลิกการวางผังเมืองเฉพาะพื้นที่ชุมชนเมืองใหมมาบตาพุดซึ่งไดดําเนินการวางผังเมืองเฉพาะและดําเนินการเวนคืนอสังหาริมทรัพยสําหรับกอสรางโครงขายคมนาคม ศูนยราชการ สวนสาธารณะ ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เพื่อรองรับการเปนที่อยูอาศัย ในอนาคตเรียบรอยแลว และใหเปล่ียนประเภทการใชประโยชนที่ดินตามประกาศกฎกระทรวงใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชนจังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๓๔ กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐๒ (พ.ศ. ๒๕๓๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติ การผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งกําหนดการใชประโยชนที่ดินของบริเวณชุมชนเมืองใหมมาบตาพุดเปนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) ใหเปล่ียนเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ทั้งหมด

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมมีหนังสือ ดวน ที่ วว ๐๘๐๒/๑๕๙๖๕ ลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๓๙ แจงมติคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เรื่อง รายงาน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ ใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ ทราบวา ในการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๓๙ เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๓๙ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีมติดังนี้ (๑) เห็นชอบในหลักการ แตใหลดขนาดพื้นที่โครงการจากที่เสนอ (๒) ในการดําเนินการกําหนดเง่ือนไขใหดําเนินการดังนี้ (๒.๑) ใหทําแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ทั้งในชวงการกอสรางและชวงดําเนินการ ซึ่งตองระบุบริเวณที่จะทําการตรวจสอบและระบุคาใชจายที่จะตองจัดสรรเพื่อการนี้ใหชัดเจน

Page 53: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๓

(๒.๒) ใหดําเนินการเรงรัดแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงบริเวณหาดทรายทองซึ่งเปนผลกระทบท่ีเกิดจากการดําเนินโครงการทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดระยะท่ี ๑ โดยระบุคาใชจาย และแผนการดําเนินการใหชัดเจน ทั้งนี้ จะตองเรงรัดดําเนินการใหเสร็จกอนดําเนินการสวนขยาย ระยะที่ ๒ (๒.๓) จัดใหมีระบบรองรับและกําจัดน้ํามันจาก การลาง ถังน้ําถวงเรือและของเสียจากเรือ โดยใหประมาณคาใชจายที่จะตองจัดสรรเพื่อการนี้ ใหชัดเจน (๒.๔) เรื่องปะการังบริเวณเกาะสะเก็ด ใหทําการศึกษาปะการัง ทําแผนสงเสริมวิจัยและสนับสนุนการอนุรักษและฟนฟูปะการังพรอมงบประมาณที่จะตองจัดสรรเพื่อการนี้ ใหชัดเจน (๓) ใหเสนอรายละเอียดของแผนปฏิบัติการมาตรการลดผลกระทบ และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมทั้งเงื่อนไขที่กําหนดในขอ ๒ ใหพิจารณาใหความเห็นกอนดําเนินโครงการ โดยในรายละเอียดควรประกอบดวยแผนคาใชจายทางดานสิ่งแวดลอมเปรียบเทียบกับคาใชจายของโครงการทั้งหมด (๔) ใหเสนอรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมตามประเด็นความเห็นของคณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมดานโครงการโครงสรางพื้นฐาน และปรับปรุงรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมในสวนที่ลดขนาดโครงการแลวเสนอเพื่อพิจารณาใหความเห็นกอนเริ่มดําเนินโครงการ สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม มีหนังสือดวน ที่ วว ๐๘๐๒/๑๖๖๙๙ ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ แจงผลการพิจารณาเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ ใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ ทราบวาในการประชุมครั้งที่ ๒๐/๒๕๓๙ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ คณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงาน การวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ดานโครงการโครงสรางพื้นฐานไดมีมติเห็นชอบ ในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ โดยใหปฏิบัติตามมาตรการลดผลกระทบและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมที่เสนอมาในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒

วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบใหยกเลิก การวางผังเมืองเฉพาะบริเวณชุมชนเมืองใหมมาบตาพุดซึ่งไดดําเนินการวางผังเมืองเฉพาะ และใหเปล่ียนแปลงประเภทการใชประโยชนที่ดินบริเวณชุมชนเมืองใหมมาบตาพุดจาก

Page 54: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๔

ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) ใหเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)

อธิบดีกรมเจาทามีหนังสือที่ คค ๐๕๐๕/๐๐๐๑๘๖ ลงวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๐ แจงผูถูกฟองคดีที่ ๘ วา ขอมูลประกอบคํารองขอทําส่ิงลวงลํ้าลําน้ําดวยการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓ ยังไมครบถวน จึงใหสงขอมูลเพิ่มเติม ดังนี้ (๑) คํายินยอมของเจาของที่ดินในบริเวณท่ีถมทะเล (๒) การศึกษาดานสมุทรศาสตร อุทกศาสตร และอุตุนิยมวิทยา (๓) ขนาดความกวางความยาวของพื้นที่ที่จะถมตามโครงการทั้งหมด (๔) ผลเสียหายและผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนตอการเปล่ียนแปลงของกระแสน้ํา การเปล่ียนแปลงขอบชายฝงและบริเวณขางเคียงหลังจากที่มีการถมทะเลตามโครงการดังกลาว (๕) มาตรการการปองกันและแกไขผลเสียหายและผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ําการเปล่ียนแปลงขอบชายฝงและบริเวณขางเคียงหลังจากที่มีการถมทะเลตามโครงการดังกลาว ตอมาคณะกรรมการ นโยบายสิ่งลวงลํ้าลําน้ําไดประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๔๐ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๐ มีมติเห็นชอบใหกรมเจาทาอนุญาตใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ ทําส่ิงลวงลํ้าลําน้ําเพื่อถมทะเล ตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓

วันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๐ คณะกรรมการผังเมืองมีมติในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๔๐ วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๐ ใหถอนรางพระราชบัญญัติผังเมืองเฉพาะบริเวณ เมืองใหมมาบตาพุดจากสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ในป ๒๕๔๐ ประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๔) ไดสรุปสถานการณเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง ๓ ทศวรรษ ที่ผานมาวา สังคมไทยประสบความสําเร็จเปนอยางดีในการพัฒนาเศรษฐกิจ แตไดเกิดสภาวะแวดลอมที่เส่ือมโทรมลงซึ่งมากับกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ และไดสงผลใหภาวะการเจ็บปวยของคนไทยเปล่ียนแปลงไปสูโรคสมัยใหม เชน โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง รวมท้ังการบาดเจ็บลมตายจากอุบัติเหตุและอุบัติภัยที่มีแนวโนมเพิ่มข้ึนตามการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและรายไดที่สูงข้ึน การพัฒนาที่ไมไดคํานึงถึงตนทุนและการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติ รวมท้ังมองขามการพัฒนาคุณคาของความเปนคน ละเลยภูมิปญญา และวิถีชีวิตความเปนอยูบนพื้นฐานของความเปนไทย

Page 55: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๕

จะสงผลตอการพัฒนาที่ย่ังยืนในอนาคต ดังนั้น เพื่อแกปญหาการพัฒนาที่ขาดความสมดุล คือ เศรษฐกิจดี สังคมมีปญหา การพัฒนาไมย่ังยืน และเพื่อกาวไปสูวิสัยทัศนการพัฒนาที่พึงปรารถนาในระยะยาว แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ จึงไดกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายหลักของการพัฒนา ไดแก การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหเจริญเติบโตอยางมีเสถียรภาพ มั่นคงและสมดุล การเสริมสรางโอกาสการพัฒนาศักยภาพของคนในการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาและไดรับผลจากการพัฒนาที่เปนธรรม การใชประโยชนและดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหมีความสมบูรณสามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและคุณภาพชีวิตไดอยางย่ังยืน และการปรับระบบบริหารจัดการเปดโอกาสใหองคกรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชน ชุมชน และประชาชน เขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาประเทศมากขึ้น เปนตน

วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๐ เจาของที่ดินที่อยูใกลเคียงโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ ย่ืนหนังสือรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขวา การถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ เปนการถมทะเลบังหนาท่ีดินทําใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศนและส่ิงแวดลอม และเปนเหตุใหชายฝงทะเลบริเวณหาดทรายทองและหาดแสงจันทรถูกกัดเซาะเสียหาย ขอใหส่ังหยุดการถมทะเลไวกอน สํานักงานเจาทาภูมิภาคท่ี ๖ สาขาระยอง มีหนังสือที่ คค ๐๕๑๗.๒/๔๒๔ ลงวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๐ มอบหมายใหเจาหนาที่แจงความรองทุกขตอผูกํากับการสถานีตํารวจภูธรตําบลหวยโปรง อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง เพื่อใหดําเนินคดีกับผูถูกฟองคดีที่ ๘ วา ดําเนินการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓ โดยไมไดรับอนุญาต ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐ ผูถูกฟองคดีที่ ๖ เดินทางไปตรวจสภาพชายหาดในเขตอําเภอเมืองระยอง เนื่องจากมีราษฎรรองเรียนวาไดรับความเดือดรอนจากแนวชายฝงทะเลถูกกัดเซาะ และเห็นวาจากสภาพขอเท็จจริงอาจเกิดจากการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ จึงส่ังการใหเรียกประชุมผูที่เกี่ยวของเพื่อพิจารณาหาสาเหตุและแนวทางการแกไขปญหาการกัดเซาะของน้ําทะเล โดยจัดใหมีการประชุมเมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๑ สรุปผลการประชุมวาการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรม มาบตาพุดระยะที่ ๑ ที่ผานมา กอใหเกิดผลกระทบตอบริเวณพื้นที่ขางเคียงมาก

Page 56: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๖

โดยเฉพาะการพังทลายของชายฝงทะเลที่เปนหาดทราย และการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓ ไปกอนไดรับอนุญาต เนื่องจากเปนการถมทะเลไกลออกไปจากชายฝงมากข้ึนจึงอาจกอใหเกิดผลกระทบเพิ่มข้ึน

ในป ๒๕๔๑ ไดเกิดปญหาส่ิงแวดลอมจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง ซึ่งเปนนคิมอุตสาหกรรมที่ดําเนินงานโดยผูถูกฟองคดีที่ ๘ ทําใหประชาชนจํานวนมากที่อาศัยอยูในชุมชนบานฉางและชุมชนที่อยูโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดไดรับความเดือดรอน ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมีมติ เรื่อง แผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาส่ิงแวดลอมจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๑ เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๑ ใหหนวยงานราชการที่เกี่ยวของไปดําเนินการตามมติของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติในกรณีตาง ๆ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จึงมีหนังสือ ที่ วว ๐๘๐๒/๑๓๐๔๐ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๔๑ แจงผูถูกฟองคดีที่ ๘ ใหดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของ ดังนี้ (๑) ใหปลูกตนไมยืนตนบนคันดินโดยกําหนดความสูงเมื่อเริ่มปลูกประมาณ ๒ เมตร ใชพันธุไมที่มีลักษณะมีใบหนาทึบ เจริญเติบโตเร็ว ไมผลัดใบ ทนความรอนไดดี ความสูงเมื่อโตเต็มที่ ประมาณ ๑๕ เมตรขึ้นไป ปลูกเปนแนวหนาทึบกวาง ๒๐ เมตร ภายในพื้นที่ของโรงงานเอง โดยใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ เปนผูรับผิดชอบ (๒) ใหกันพื้นที่ระหวางแนวเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดกับชุมชนโดยรอบเปนพื้นที่สีเขียว (Green Area) โดยใหดําเนินการปลูกตนไมเปนแนวกันชน (Buffer Zone) รอบนิคมอุตสาหกรรม (๓) ใหกระทรวงศึกษาธิการพิจารณาดําเนินการยายโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร โดยใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ ใหการสนับสนุน สําหรับคาใชจายในการยายโรงเรียนใหยึดหลัก ผูกอมลพิษเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย

ในป ๒๕๔๑ เริ่มดําเนินการแกไขปรับปรุงกฎกระทรวงใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๓๔ กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐๒ (พ.ศ. ๒๕๓๔) (ปรับปรุงครั้งที่ ๑ ) ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งตามรางกฎกระทรวงใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง (ปรับปรุงครั้งที่ ๒) ที่นําเสนอในการประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

Page 57: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๗

มีการเปล่ียนแปลงประเภทการใชประโยชนที่ดินตามที่กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐๒ (พ.ศ. ๒๕๓๔) กําหนดไวเดิมหลายบริเวณ โดยมีการเพิ่มพื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) หลายบริเวณ ไดแก พื้นที่บริเวณดานทิศตะวันตกของทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๙๒ และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๑๙๑ โดยเฉพาะนิคมอุตสาหกรรมเอเซียซึ่งเปนพื้นที่ ที่อยูใกลกับชุมชนบานฉางอยูหางจากเขตเทศบาลตําบลบานฉาง ประมาณ ๕๐๐ เมตร ในวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ ตัวแทนประชาชนอําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง จึงเขาไปชี้แจงขอมูลและปญหาของประชาชนเกี่ยวกับรางผังเมืองรวมฉบับดังกลาวตออธิบดีกรมการผังเมืองและคณะกรรมการผังเมือง ตอมาคณะกรรมการผังเมืองมีมติเห็นชอบตามสรุปความเห็นของคณะอนุกรรมการผังเมืองในคราวพิจารณาคํารองขององคการบริหารสวนตําบลบานฉาง บริษัท เอเชีย อินดัสเตรียล พารค (มาบตาพุด) จํากัด และบริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ที่ย่ืนขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เปนประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) โดยคณะกรรมการผังเมืองมีมติเห็นชอบใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินเปนพื้นที่อุตสาหกรรมตามคํารองแตหามสรางโรงงานประเภทที่จะเกิดมลพิษสูง โดยใหกรมการ ผังเมืองประสานงานกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมและกรมควบคุมมลพิษ เพื่อระบุประเภทอุตสาหกรรมใหชัดเจน กําหนดระยะถอยรนในพื้นที่อุตสาหกรรมตามขอกําหนดผังเมืองรวม ตอมา นายพิศิษฐ เจียมอนุกูลกิจ กับพวก ไดมีหนังสือลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ แจงวา ตามท่ีคณะกรรมการผังเมืองมีขอสรุปกําหนดเขตอุตสาหกรรมในเขตอําเภอบานฉางตามที่นายทุนซื้อที่ดินไว และชาวบานฉางไดคัดคานมาโดยตลอดนั้น ชาวบานฉาง ไดประชุมหารือกันแลว ไดขอสรุปวา ชาวบานฉางไมขัดของสําหรับการกอสรางโรงงาน ที่จะสรางเพื่อความเจริญแตจะตองเปนโรงงานที่ปลอดมลพิษ การกําหนดพื้นที่เปนพื้นที่สําหรับอุตสาหกรรมหนักชาวบานฉางไมเห็นดวย จึงขอใหกําหนดเปนพื้นที่สําหรับโรงงานท่ีไมมีมลพิษตามรายการที่ชาวบานฉางเสนอมาใหพิจารณา จังหวัดระยองไดมีหนังสือ ดวนที่สุด ที่ รย ๐๐๒๖/๒๔๖๒๑ ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๑ แจงกรมการผังเมือง

เพื่อดําเนินการตามความประสงคของชาวบานฉาง ดังนี้ (๑) กําหนดการใชประโยชนที่ดิน

ใหเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ (๒) การกําหนดประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมใหเปนไปตามบัญชีแนบทายหนังสือของประชาชนชาวบานฉาง ตอมาในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ

Page 58: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๘

๒๕๔๒ กรมการผังเมืองไดจัดประชุมหารือ เรื่อง แนวทางการรางขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคาของผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง (ปรับปรุงครั้งที่ ๒) โดยมีหนวยงานที่เขารวมประชุม ไดแก กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ และกรมการผังเมือง สรุปผลในทางปฏิบัติเกี่ยวกับ “อุตสาหกรรมที่มีมลพิษ” ซึ่งคณะกรรมการผังเมืองมีมติใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เปนประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) คือ การกําหนดประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมตองผานการพจิารณาของสภาตําบล

ในป ๒๕๔๒ นายพิศิษฐ เจียมอนุกูลกิจ กับพวก มีหนังสือลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๔๒ แจงจังหวัดระยองวา การรวมประชุมหารือระหวางตัวแทนชาวบานฉาง กับผูแทนเจาของโครงการ บริษัท เอเชีย อินดัสเตรียล พารค (มาบตาพุด) จํากัด เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๒ มีความเห็นรวมกันเกี่ยวกับการกําหนดประเภทอุตสาหกรรมและขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินบริเวณดังกลาวควรมีการปรับปรุงรายละเอียด ใหถูกตองตามเจตนารมณของหนังสือคัดคานของตัวแทนประชาชนชาวบานฉาง โดยมี

สาระสําคัญสรุปได ดังนี้ (๑) ใหกําหนดการใชประโยชนที่ดินพื้นที่หมูที่ ๒ ตําบลบานฉาง

เปนสีพิเศษ เชน สีมวงออน (๒) การกําหนดประเภทของอุตสาหกรรมใหเพิ่มเติมประเภท

โรงงานที่หามตั้ง จํานวน ๘ รายการ (๓) ใหเพิ่มเติมประเภทโรงงานอุตสาหกรรมที่หามตั้ง ในขอ ๓.๑๔ ไดแก โรงงานปโตรเคมี โดยขอใหหามเฉพาะโรงงานปโตรเคมีข้ันตน (UpStream) เทานั้น ตอมาจังหวัดระยองไดแจงผลดังกลาวใหกรมการผังเมืองพิจารณาตามหนังสือจังหวัดระยอง ที่ รย ๐๐๒๖/๑๐๑๙๕ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ซึ่งกรมการผังเมืองไดมีหนังสือ ที่ มท ๐๔๐๘.๑/๒๒๙๙ ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๔๒ แจงผลการประชุมรวมระหวางกรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ และกรมการผังเมือง เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๔๒ ที่ประชุมไมขัดของตอขอหามเพิ่มเติมตามที่ผูแทนประชาชนของ บานฉางแจงมาจํานวน ๘ รายการ สําหรับความเห็นซึ่งเสนอแนะขอหามเฉพาะโรงงานปโตรเคมีข้ันตน (UpStream) นั้น ในรางขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ขอ ๘.๒ ไดระบุไวอยางชัดเจนแลวสวนความเห็นของจังหวัดระยองเห็นควรใหกําหนดการใชประโยชนที่ดินพื้นที่หมูที่ ๒

Page 59: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๕๙

ตําบลบานฉาง เปนสีพิเศษ เชน สีมวงออนนั้น กรมการผังเมืองมีนโยบายใหกําหนดเปนพื้นที่ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ตามเดิม

ตอมาสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีหนังสือที่ นร ๐๖๐๕/ร.๖๕๙๒ ลงวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๒ แจงเจาของที่ดินกับพวกที่มีหนังสือรองเรียนลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๐ ที่กลาวมาขางตนวา นายกรัฐมนตรีได ส่ังการตามคําวินิจฉัยคณะกรรมการ วินิจฉัยรองทุกขที่ ๑๐๘/๒๕๔๒ และขอสังเกตของเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหหยุดการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓ ไวเปนการชั่วคราว จนกวาจะไดมีการอนุญาตทําส่ิงลวงลํ้าลําน้ําใหถูกตองตามท่ีกฎหมายวาดวยการเดินเรือในนานน้ําไทย กฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยกําหนดไว และใหกรมเจาทา และผูถูกฟองคดีที่ ๘ รวมกันรับผิดชอบในการเยียวยาความเสียหายที่ เกิดข้ึน ตอประชาชน และแกไขปญหาผลกระทบที่เกิดข้ึนทั้งในขณะนี้และในอนาคตอันเกิดจากการถมทะเลที่กระทําไปกอนไดรับอนุญาตดวย

ในป ๒๕๔๓ ผูถูกฟองคดีที่ ๘ ทําสัญญาวาจางบริษัทที่ปรึกษาตามสัญญาวาจางเลขท่ี กพด. ๒๐/๒๕๔๓ เพื่อติดตามตรวจสอบลักษณะการเปล่ียนแปลงของชายฝงบริเวณทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๔๔ ซึ่งเปนการดําเนินการติดตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงชายฝงอยางตอเนื่องประจําปเปนปที่ ๓ ในจํานวน ๕ ป หลังจากการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ เสร็จส้ินลงใน ป พ.ศ. ๒๕๔๒ ปรากฏตามรายงานฉบับสุดทายโครงการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมบริเวณทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๔๔ บทที่ ๓ การติดตามตรวจสอบการเปล่ียนแปลงของลักษณะชายฝงวา เมื่อมีการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๑ แลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๕ โครงสรางทาเรือไดปดก้ันมวลทรายที่มีการเคล่ือนตัวไปทางทิศตะวันออกตามชายฝงเปนผลใหชายฝงเกิดการทับถมของมวลทรายในบริเวณ ทางฝงตะวันตกของทาเรือและเกิดการกัดเซาะทางชายฝงทางดานทิศตะวันออกของทางเรือ (บริเวณบานหาดทรายทอง)มากข้ึน และเมื่อมีการขยายทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ แลวเสร็จลงในป พ.ศ. ๒๕๔๒ การกัดเซาะทางชายฝงทางดานทิศตะวันออกของ

Page 60: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๐

ทางเรือ (บริเวณบานหาดทรายทอง) ไดขยายระยะการกัดเซาะออกไปทางทิศตะวันออกจนถึงบริเวณหาดแสงจันทร

ในป ๒๕๔๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๘ มีหนังสือ ที่ อก ๐๘๐๗.๒/๖๘๙ ลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๔ ถึงสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แจงวา ไดลงนามในสัญญารวมดําเนินงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมเอเซียกับบริษัท นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด เนื้อที่จํานวน ๒,๕๓๕ ไร แลว ในสัญญารวมดําเนินงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมเอเซียมีขอความในสัญญาขอ ๑๖ วา หากรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการมิไดรับความเห็นชอบยินยอมใหบอกเลิกสัญญาได และในขอ ๒๑ วา จะตองปฏิบัติตามมาตรการแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโครงการนิคมอุตสาหกรรมเอเซียโดยเครงครัด จึงขอใหแจงผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมใหทราบ ตอมาคณะกรรมการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยประชุมครั้งที่ ๑๔/๒๕๔๔ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ มีมติอนุมัติใหทําการจัดสรรท่ีดินนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย สวนที่ ๑ ไดตามแผนผังโครงการและวิธีการจัดสรรที่ดินที่เสนอ โดยในการประชุมครั้งนี้มีรายงานตอที่ประชุมวาคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาเปล่ียนแปลงสภาพที่สาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันในเขตอุตสาหกรรมทั่วไป นิคมอุตสาหกรรมเอเซียในทองที่ตําบลบานฉาง อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง ซึ่งเมื่อ มีการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาดังกลาวแลวที่ดินสาธารณประโยชนในเขตโครงการเนื้อท่ีประมาณ ๕๐ – ๓ – ๗๒.๖ ไร จะตกเปนของผูถูกฟองคดีที่ ๘ ซึ่งจะไดโอนกรรมสิทธิ์ ในที่ดินดังกลาวใหแกโครงการนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย เพื่อนําไปแบงแปลงท่ีดินตามแผนผังโครงการจัดสรรตอไป และเมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๘ ไดนําเงิน คาที่ดินที่เปล่ียนแปลงสภาพ จํานวน ๑๙,๔๔๑,๑๒๕ บาท ตามราคาที่กระทรวงมหาดไทยกําหนดซึ่งเปนเงินของบริษัทนิคมอุตสาหกรรมเอเซียจํากัด ไปชําระใหแกกระทรวงการคลัง

ในป ๒๕๔๕ อธิบดีกรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี ไดออกใบอนุญาตเลขที่ ๓๒/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕ อนุญาตใหผูถูกฟองคดีที่ ๘ ปลูกสรางส่ิงลวงลํ้าลําน้ําดวยการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรม มาบตาพุด ระยะที่ ๒

Page 61: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๑

ในป ๒๕๔๖ ประกาศกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลมที่ ๑๒๐ ตอนที่ ๔๑ ก วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๖ เพื่อใชบังคับตอจากกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๓๔ กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐๒ (พ.ศ. ๒๕๓๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ขอ ๑๐ วรรคหนึ่ง กําหนดวา ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ใหใชประโยชนที่ ดินเพื่ออุตสาหกรรม คลังสินคา การทาเรือหรือกิจการที่เกี่ยวของกับ การทาเรือ สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเปนสวนใหญ สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่น ใหใชไดไมเกินรอยละสิบหาของแปลงที่ดินที่ย่ืน ขออนุญาต วรรคสาม กําหนดวา ที่ดินประเภทนี้ ในบริเวณหมายเลข ๔.๕ หามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ (๘) การประกอบกิจการเกี่ยวกับเคมีภัณฑ สารเคมี หรือวัตถุเคมี ซึ่งมิใชปุย ดังตอไปน้ี (๘.๑) การประกอบกิจการอุตสาหกรรม คลอ – แอลคาไลน (Chlor-alkaline Industry) ที่ใชโซเดียมคลอไรด (NaCL) เปนวัตถุดิบในการผลิตโซเดียมคารบอเนต (Na2 Co3) โซเดียมไฮดรอกไซด(NaOH) กรดไฮโดรคลอริก (HCL) คลอรีน (CL2) โซเดียมไฮโพคลอไรด (NaOCL) และปูนคลอรีน(Bleaching Powder) (๘.๒) การประกอบกิจการอุตสาหกรรมเปโตรเคมีที่ใชวัตถุดิบซึ่งไดจากการกล่ันน้ํามันปโตรเลียมหรือการแยกกาซธรรมชาติ

ในป ๒๕๔๗ ปรากฏตามเอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการ ผังเมือง ของสํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดระยอง ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ เรื่อง การขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ของกฎกระทรวงผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ (กรณีบริษัทนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด) สรุปวา กฎกระทรวงผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ มีอายุการบังคับใช ๕ ป นับตั้งแตวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ถึงวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ และขณะนี้ยังคงมีผลการบังคับใชอยู บริษัท นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด ไดมีหนังสือที่ AIE/๐๔๑/๔๗ ลงวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗ แจงจังหวัดระยองขอปรับปรุง

Page 62: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๒

ขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินของผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยแสดงเหตุผลและความจําเปน ดังนี้ (๑) บริษัท นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด เปนเจาของที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งโครงการนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย ตั้งอยูบริเวณหมูที่ ๒ ตําบลบานฉาง อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง และเปนโครงการที่ทางบริษัทฯ ไดดําเนินงานรวมกับผูถูกฟองคดีที่ ๘ โดยบริษัทฯ เปนผูปรับปรุงและพัฒนาที่ ดิน ภายใตการบริหารดูแลของผูถูกฟองคดีที่ ๘ และปจจุบันผูถูกฟองคดีที่ ๘ ไดประกาศใหที่ดินของบริษัทฯ เปนเขตนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย ตามพระราชบัญญัติ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ (๒) ผูถูกฟองคดีที่ ๘ ไดประกาศใหเขตนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคาในลักษณะเชนเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมตะวันออก และนิคมอุตสาหกรรมผาแดง ซึ่งไดจัดพื้นที่ไวรองรับกลุมโรงงานอุตสาหกรรมปโตรเคมี ทั้งนี้ เนื่องจากกระบวนการผลิตของกลุมโรงงานอุตสาหกรรมปโตรเคมีมีความตอเนื่องและเชื่อมโยงกันในทุกข้ันตอน โดยเริ่มตั้งแตการนํากาซธรรมชาติที่สูบข้ึนมาจากอาวไทย ไปแยกที่โรงแยกกาซ แลวสงตอไปยังกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตน เชน โรงงานปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยโอเลฟนส จํากัด (มหาชน) แลวสงตอไปยังกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันกลางและขั้นปลาย ซึ่งอยูในบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมตะวันออก และนิคมอุตสาหกรรมผาแดง ซึ่งการที่โรงงานอุตสาหกรรม ปโตรเคมีอยูรวมกัน (Cluster) จะทําใหลดตนทุนในการผลิตอันจะกอใหเกิดการแขงขันกับตลาดโลก และสะดวกในการดูแลเรื่องส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย (๓) ปจจุบันมีนักลงทุนจากในประเทศและตางประเทศ ไดแสดงความประสงคจะมาลงทุนทางดานอุตสาหกรรม ปโตรเคมีในพื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย โดยดําเนินโครงการแบบครบวงจรของอุตสาหกรรมปโตรเคมี เริ่มตั้งแตโรงแยกกาซ โรงงานอุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตน ข้ันกลางและข้ันปลาย แตไมสามารถดําเนินการได เนื่องจากมีขอจํากัดในการใชพื้นที่ ตามขอกําหนดของกฎกระทรวงผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งหามใชประโยชนที่ดินในการประกอบกิจการอุตสาหกรรมปโตรเคมีคัล ที่ใชวัตถุดิบซึ่งไดจากการกล่ันน้ํามันปโตรเคมีหรือการแยก กาซธรรมชาติทําให การใชประโยชนที่ดินของนิคมอุตสาหกรรมเอเซียแตกตางจากพื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรม

Page 63: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๓

อื่น ๆ อันเปนการตัดวงจรการผลิตอุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตนที่จะเกิดข้ึนในนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย ทั้งที่อุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตนสามารถกํากับดูแลมิใหเกิดปญหาส่ิงแวดลอม และการจัดตั้งโรงงานที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตนจะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม (EIA) ตามกฎหมายเพื่อใชเปนมาตรการกํากับดูแลในเรื่องส่ิงแวดลอม

ในป ๒๕๔๘ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดมีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๘ มอบหมายใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไปพิจารณาความเปนไปไดในการประกาศเขตควบคุมมลพิษในพื้นที่ตําบล มาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง เนื่องจากมีแนวโนมที่จะกอใหเกิดปญหาตอส่ิงแวดลอมและสุขภาพอนามัยของประชาชนที่อยูอาศัยในบริเวณโดยรอบ และใหนําเสนอผูถูกฟองคดีที่ ๑ พิจารณาตอไป และไดมีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๔๘ (นัดพิเศษ) เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๘ ใหศึกษาความเปนไปไดของการประกาศ เขตควบคุมมลพิษในพื้นที่ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง ภายใน ๖๐ วัน โดยใหเชิญสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ประธานกลุมปโตรเคมี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ผูถูกฟองคดีที่ ๘ และหนวยงานที่เก่ียวของมารวมประชุม และปรากฏตามรายงาน การประชุม เรื่อง การกําหนดเขตควบคุมมลพิษพื้นที่ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ณ หองประชุมสํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรและส่ิงแวดลอมวา หากจําเปนตองประกาศเขตควบคุมมลพิษควรจัดทําประชาสัมพันธ เชิงบวก เพื่อใหผูประกอบการที่จะมาลงทุนในพื้นที่ไดทราบถึงผลดีที่จะเกิดข้ึนจากการประกาศเขตควบคุมมลพิษ ในแงของการบริหารจัดการส่ิงแวดลอม อยางบูรณาการเพื่อใหเกิดความย่ังยืนในการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ควบคูไปกับ การรักษาส่ิงแวดลอมและสุขอนามัยของประชาชน ซึ่งในอนาคตอาจมีการนําปญหาส่ิงแวดลอมมาเปนขอกีดกันทางการคาระหวางประเทศได และนําเสนอขอมูลเพื่อใชประกอบการพิจารณาการดําเนินงานกําหนดพื้นที่ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง เปนเขตควบคุมมลพิษวา สถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอมและผลกระทบตอสุขอนามัยในพื้นที่ เมื่อพิจารณาตามคาดัชนีคุณภาพน้ําที่ประเมินไวในป ๒๕๔๗ – ป ๒๕๔๘ แนวโนมของคุณภาพน้ําทะเลชายฝงในบริเวณนี้มีแนวโนมเส่ือมโทรมลง ปญหามลพิษ

Page 64: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๔

ทางอากาศในพื้นที่ตําบลมาบตาพุด สวนใหญมีสาเหตุสําคัญเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมีกระบวนการผลิตโดยใชเชื้อเพลิงเผาไหมและปญหากล่ินที่เกิดจากผลิตภัณฑหรือสารเคมีที่ใชภายในโรงงาน ปญหามูลฝอยและของเสียอันตราย พื้นที่ฝงกลบมูลฝอย ไมเพียงพอกับปริมาณมูลฝอยที่ เกิดข้ึนในพื้นที่ ทําใหเกิดการลักลอบทิ้งมูลฝอย ในสถานที่สาธารณะตาง ๆ โครงการตาง ๆ ที่อยูในนิคมอุตสาหกรรมไมไดสงของเสียอันตรายใหเจนโกกําจัดท้ังหมด เนื่องจากปจจุบันมีโรงงานกําจัดของเสียหลายแหง หากไมมีการควบคุมอาจมีปญหาตกคาง หรือปนเปอนในพื้นที่ออกสู ส่ิงแวดลอมได หรืออาจมีการลักลอบนําขยะไปทิ้งตามบอดินตาง ๆ

ในป ๒๕๔๘ ประกาศกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ ออกตามความ ในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลมที่ ๑๒๒ ตอนที่ ๑๑๖ ก วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ เพื่อแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินของกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ ในขอ ๔ ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่งของขอ ๑๐ ของกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใชขอความตอไปน้ีแทน “ขอ ๑๐ ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา ใหใชประโยชนที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม คลังสินคา การทาเรือหรือกิจการที่เกี่ยวของกับการทาเรือ สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเปนสวนใหญ สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่น ใหใชไดไมเกินรอยละสี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ”

ในป ๒๕๔๙ มีการดําเนินงานเกี่ยวกับการประกาศเขตควบคุมมลพิษตามมติที่ประชุมของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๔๘ ซึ่งปรากฏตามรายงานการประชุม การดําเนินงานประกาศเขตควบคุมมลพิษในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง วันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๙ ณ หองประชุม ๒๐๒ ชั้น ๒ กรมควบคุมมลพิษวา กรมควบคุมมลพิษ ไดศึกษาปญหามลพิษและผลกระทบสิ่งแวดลอมในพื้นที่ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง สถานการณมลพิษคาดวาจะมีแนวโนมในระดับรุนแรงและอาจสงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชนและคุณภาพสิ่งแวดลอม ดังนี้ (๑) แนวโนมของคุณภาพน้ําทะเลชายฝงบริเวณพื้นที่มาบตาพุดอยูในเกณฑที่เส่ือมโทรมลง เนื่องจากนํ้าทิ้งจากโรงงาน

Page 65: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๕

อุตสาหกรรมในเขตนิคมอุตสาหกรรมและนอกเขตนิคมอุตสาหกรรม แมวาภายในนิคมฯ จะมีระบบบําบัดน้ําเสียแลวก็ตาม แตหากพิจารณาปริมาณน้ําเสียที่เกิดข้ึนในปริมาณท่ีมาก รวมทั้งน้ําเสียจากชุมชนบางสวนแลว ยอมจะสงผลกระทบตอคุณภาพน้ําทะเลชายฝง และจากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําโดยกรมควบคุมมลพิษ พบวา ปริมาณตะกอนแขวนลอยของน้ําทิ้ง ณ จุดปลอยน้ําทิ้งบางจุด ปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและ ฟคอลโคลิฟอรม โลหะหนัก ฟอสเฟต และแอมโมเนียที่ปนเปอนบริเวณชายฝงทะเล มีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึน และมีคาเกินมาตรฐานในบางจุดท่ีทําการตรวจวัด (ฝงตะวันตกจากบานหนองแฟบถึงฝงตะวันออกบริเวณหาดทรายแกว) (๒) ปริมาณขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองมาบตาพุด และในนิคมอุตสาหกรรมใกลเคียงในป ๒๕๔๘ จํานวนทั้งส้ิน ๑๒๗.๒๔ ตัน/วัน โดยมีพื้นที่กําจัดมูลฝอย จํานวน ๓๓ ไร ซึ่งสามารถรองรับปริมาณ มูลฝอยในเขตเทศบาลไดจํานวน ๖๐ ตัน/วัน และท่ีองคการบริหารสวนตําบลเนินพระ ทับมาและเชิงเนิน สามารถรองรับปริมาณมูลฝอยไดอีกประมาณ ๑๐ ตัน/วัน ซึ่งปจจุบันใชพื้นที่ในการกําจัดมูลฝอยไปแลว ๑๓.๗ ไร และคาดวาจะเหลือพื้นที่รองรับมูลฝอย ไดอีกประมาณ ๑ ป สําหรับการจัดการปริมาณของเสียอันตรายจากนิคมอุตสาหกรรมและ นอกพื้นที่นิคมฯ ซึ่งไดขออนุญาตนําออกนอกโรงงานในป ๒๕๔๘ รวมทั้งส้ิน ประมาณ ๕๒๒.๓๔ ตัน/วัน หรือ ๑๙๐,๕๖๔ ตัน/ป ซึ่งบริษัทบริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษส่ิงแวดลอม จํากัด (มหาชน) หรือ เจนโก ปจจุบันสามารถรองรับและกําจัดของเสียอันตรายได ๔๘๐,๐๐๐ ตัน/ป (ดวยวิธีการเผา/ฝงกลบ/ปรับเสถียร/ผลิตเชื้อเพลิง) และสามารถรองรับของเสียอันตรายไดทั้งหมด ประมาณ ๘๕๐,๐๐๐ ตัน โดยคาดวาจะสามารถรองรับของเสียอันตรายจากนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ตาํบลมาบตาพุดไดอีกประมาณ ๔ – ๕ ป อยางไรก็ตาม ของเสียอันตรายจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและบริเวณใกลเคียงไมไดสงกําจัดท่ีเจนโกที่เดียวเทานั้น แตยังสงไปกําจัดในท่ีอื่น ๆ ดวย (๓) การดําเนินการเก็บตัวอยางอากาศบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดเพื่อตรวจวัดปริมาณสารอินทรียระเหย (VOCs) โดยกรมควบคุมมลพิษ ใหผลการตรวจวัดสอดคลองกับผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากรายงานของกรีนพีช ประเทศไทย ที่ไดตรวจวัดในเดือนตุลาคม ๒๕๔๘ กลาวคือ ตรวจพบสารอินทรียระเหยมากกวา ๔๐ ชนิด ซึ่งเปนสารกอมะเร็ง ๒๑ ชนิด และมีคาเกินระดับการเฝาระวังคุณภาพอากาศในบรรยากาศของ US-EPA (EPA Region

Page 66: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๖

๖ Screening Level) จํานวน ๒๐ ชนิด โดยสูงกวาระดับการเฝาระวังฯ ตั้งแต ๑.๓ – ๖๙๓ เทา เมื่อเปรียบเทียบระหวางพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบวาคาความเขมขนเฉล่ีย ๒๔ ชั่วโมงของสารอินทรียระเหยโดยเฉพาะกลุม Benzene Toluene Ethylbenzene และ Xylene ในพื้นที่มาบตาพุด และพื้นที่กรุงเทพมหานครมีคาไมตางกันมากนัก โดยในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีแหลงกําเนิดจากยานพาหนะ แตในพื้นที่มาบตาพุดมีแหลงกําเนิดจากอุตสาหกรรม และยังพบสารอินทรียระเหยซึ่งเปนสารกอมะเร็ง เชน Vinly Chloride, Trichloroethylene และ Isoprene ที่มีคาสูงเกินระดับการเฝาระวังฯ มาก ซึ่งชี้ใหเห็นวาสถานการณสารอินทรียระเหยในบรรยากาศในพื้นที่มาบตาพุดมีแนวโนม ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และจากสถิติจํานวนผูปวย และการเกิดอุบัติการณของโรคมะเร็งในพื้นที่โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ และโรคมะเร็ง พบในอัตราที่สูง แมวาจะไมมีขอสรุปของสาเหตุที่แทจริงของการเกิดโรคก็ตาม ก็นาจะนํามาพิจารณาถึงความเกี่ยวพันไดในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ผลการศึกษาศักยภาพการรองรับมลพิษทางอากาศ บริเวณพื้นที่มาบตาพุดดวยแบบจําลองทางคณิตศาสตร พบวากาซซัลเฟอรไดออกไซด และไนโตรเจนไดออกไซดมีแนวโนมเกินคามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศในบางบริเวณ ในขณะที่ผลการตรวจวัดจริงระดับความเขมขนของกาซทั้ง ๒ ชนิดยังคงอยูในระดับมาตรฐาน ทําใหการกําหนดมาตรการในการแกไขปญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่มาบตาพุดขาดความชัดเจนสําหรับขอมูลสถิติสาเหตุของการปวยดวยโรคท่ีเกี่ยวของกับส่ิงแวดลอมในพื้นที่มาบตาพุด ป พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๘ จากสํานักงานสาธารณสุข จังหวัดระยอง พบวา โรคระบบทางเดินหายใจในพื้นที่มาบตาพุดเพิ่มข้ึนรอยละ ๘๘ ในขณะท่ีจังหวัดระยองมีการเพิ่มข้ึนรอยละ ๑๖ โรคผิวหนังและเนื้อเย่ือใตผิวหนังในพื้นที่มาบตาพุดเพิ่มข้ึนรอยละ ๕๗ ในขณะที่ตัวเลขของจังหวัดระยองเพิ่มข้ึนรอยละ ๑๘ และโรคจากการประกอบอาชีพในพื้นที่มาบตาพุด เพิ่มข้ึน ๔ เทา ในขณะท่ีจังหวัดระยองเพิ่มข้ึน ๑.๓ เทา

ในป ๒๕๔๙ มีการแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินของกฎกระทรวง ใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ อีกครั้งโดยกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๙ ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘

Page 67: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๗

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลมที่ ๑๒๓ ตอนที่ ๗๘ ก วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๙ โดยอางเหตุผลในการแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามประกาศกฎกระทรวงฉบับนี้วา โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมขอกําหนดเกี่ยวกับการใชประโยชนที่ดิน ในเขตผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง ตามกฎกระทรวง ใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อกําหนดการใชประโยชนที่ดินในท่ีดินในท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา บริเวณหมายเลข ๔.๕ ใหประกอบกิจการบางประเภทไดเหมาะสมย่ิงข้ึนจึงจําเปน ตองออกกฎกระทรวงนี้ โดยใหยกเลิกความใน (๘) ของวรรคสามของขอ ๑๐ กําหนด แหงกฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๔๖ และใหใชความตอไปนี้แทน “ (๘) การประกอบกิจการเกี่ยวกับเคมีภัณฑ สารเคมี หรือวัตถุเคมี ซึ่งมิใชปุย ไดแก การประกอบกิจการอุตสาหกรรม คลอ-แอลคาไลน (Chlor-alkaline Industry) ที่ใชโซเดียมคลอไรด (NaCL) เปนวัตถุดิบ ในการผลิตโซเดียมคารบอเนต (Na2 Co3) โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) กรดไฮโดรคลอริก (HCL) คลอรีน(CL2) โซเดียมไฮโพคลอไรด (NaOCL) และปูนคลอรีน (Bleaching Powder)”

วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ผูอยูอาศัยในชุมชนมาบตาพุดและใกลเคียงไดย่ืน คําฟองลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ตอศาลปกครองระยองเปนคดีหมายเลขดําที่ ๑๙๒/๒๕๕๐ ขอมีคําส่ังใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดําเนินการประกาศเขตควบคุมมลพิษ

ในป ๒๕๕๑ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ มีสาระสําคัญวา ตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติใหการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพจะกระทํามิได เวนแตจะไดศึกษา และประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและ ผู มีสวนไดเสียกอน ดังนั้น เพื่ออนุวัตใหการขออนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนไปตามบทบัญญัติดังกลาว จึงเห็นสมควรใหประกาศไว ดังนี้ (๑) ใหโรงงานตามบัญชีทายประกาศของกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอม

Page 68: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๘

เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ออกตามความ ในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนโรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง (๒) กอนพิจารณาคําขออนุญาตของโรงงานตามขอ ๑ ตองจัดใหมีการศึกษาผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนและจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน โดยวิธีการใหเปนไปตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมตามมาตรา ๔๖ และ ๕๑ ของพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ (๓) ในการพิจารณาคําขออนุญาตโรงงานตามขอ ๑ ใหผูอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ พิจารณาเฉพาะโรงงานที่ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผูชํานาญการตามมาตรา ๔๙ ของพระราชบัญญัติสงเสรมิและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ แลวเทานั้น

ในป ๒๕๕๒ ศาลปกครองระยองมีคําพิพากษาคดีหมายเลขแดงที่ ๓๒/๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๒ ส่ังใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดําเนินการประกาศเขตควบคุมมลพิษ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดออกประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ ๓๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒) เรื่อง ใหทองที่ในตําบลมาบตาพุด ตําบลหวยโปง ตําบลเนินพระ และตําบล ทับมา อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ทั้งตําบล ตําบลมาบขา อําเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง ทั้งตําบล และตําบลบานฉาง อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง ทั้งตําบล รวมทั้งพื้นที่ภายในแนวเขตเปนเขตควบคุมมลพิษ เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒ โดยมีวัตถุประสงคของการออกประกาศดังกลาววา เพื่อดําเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษ ตามท่ีกําหนดไวในกฎหมายตอไป

วันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยใหเหตุผลวาเนื่องจากการดําเนินการตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรมดังกลาว ยังขาดความชัดเจนเก่ียวกับวิธีปฏิบัติ

Page 69: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๖๙

บางประการ จึงใหยกเลิกประกาศฉบับดังกลาว ตอมา วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ ซึ่งตามบัญชีทายประกาศ เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพดังกลาว กําหนดกิจกรรมหรือโครงการ ไว ๘ ประเภท ดังนี้ ลําดับที่ (๑) การทําเหมืองใตดินเฉพาะดวยวิธีออกแบบใหโครงสรางยุบตัว ภายหลังการทําเหมือง โดยไมมีค้ํายันและไมมีการใสคืนวัสดุทดแทนเพื่อปองกันการยุบตัวทุกขนาด ลําดับที่ (๒) เหมืองแรตะกั่ว และสังกะสี ทุกขนาด ลําดับที่ (๓) การถลุงแร (๓.๑) การถลุงแร ดวยสารละลายเคมีในชั้นดิน (In-Situ Leaching) ทุกขนาด (๓.๒) อุตสาหกรรมการผลิตเหล็กข้ันตน กรณีตั้งโรงงานกําลังการผลิตตั้งแต ๒๐,๐๐๐ ตันตอวันข้ึนไป กรณีขยายโรงงานเพิ่มกําลังการผลิตเกินกวารอยละ ๓๕ สําหรับโรงงานเดิมที่มีกําลังการผลิตตั้งแต ๒๐,๐๐๐ ตันตอวันข้ึนไป หรือเพิ่มกําลังการผลิตรวมเปนตั้งแต ๒๐,๐๐๐ ตันตอวันขึ้นไป ทั้งนี้การต้ังหรือขยายโรงงานในโครงการหรือกิจกรรมลําดับที่ ๕ ไมตองดําเนินการ ตามประกาศนี้ในกรณีท่ีโครงการหรือกิจกรรมลําดับที่ ๕ นั้นไดดําเนินการตามประกาศนี้รองรับไวกอนแลว ลําดับที่ (๔) อุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตนหรือข้ันกลางที่มีการใชหรือผลิตสารอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้ (๔.๑) สารท่ีกอใหเกิดมลสาร ทางอากาศท่ีเปนอันตราย (Hazardous Air Pollutant) ไดแก (๑) Asbestos (๒) Benzene (๓) Benzidine (๔) Bis (chloromethyl) ether (๕) Beryllium and beryllium compounds (๖) ๑,๓-Butadiene (๗) Cadmium and cadmium compounds (๘) Chromium (VI) (๙) Ethylene Oxide (๑๐) Formaldehyde (๑๑) Nickel compounds (๑๒) Phosphorus-๓๒, as phosphate (๑๓) Radionuclides ( including radon) (๑๔) Vinyl chloride (๔ .๒ ) สารท่ีมีพิษรุนแรง (Highly Toxic) ไดแก (๑) สารท่ีมีคา LD๕๐ นอยกวาหรือเทากับ ๕๐ มิลลิกรัมตอกิโลกรัมของน้ําหนักตัวเมื่อทดสอบในหนูขาว (ทางปาก) ที่มีน้ําหนักตัวระหวาง ๒๐๐ – ๓๐๐ กรัม (๒) สารท่ีมีคา LD๕๐ นอยกวาหรือเทากับ ๒๐๐ มิลลิกรัมตอกิโลกรัมของน้ําหนักตัวเมื่อทดสอบในกระตายขาว (ทางผิวหนัง) ที่มีน้ําหนักตัวระหวาง

Page 70: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๐

๒ – ๓ กิโลกรัม โดยสัมผัสสารติดตอกันเปนเวลา ๒๔ ชั่วโมง หรือนอยกวา แลวมีการตายเกิดข้ึนภายใน ๒๔ ชั่วโมง (๓) สารท่ีมีคา LC๕๐ นอยกวาหรือเทากับ ๒๐๐ สวนในลานสวน โดยปริมาตรสําหรับกาซหรือไอหรือนอยกวาหรือเทากับ ๒ มิลลิกรัมตอลิตร สําหรับละอองฟูมหรือฝุน เมื่อทดสอบในหนูขาว (ทางการหายใจ) ที่มีน้ําหนักตัวระหวาง ๒๐๐ – ๓๐๐ กรัม โดยสูดดมสารอยางตอเนื่องเปนเวลา ๑ ชั่วโมง หรือนอยกวา แลวมีการตายเกิดข้ึนภายใน ๑ ชั่วโมง ทั้งนี้คา LD๕๐ หมายถึง ปริมาณของสารที่ใหกับสัตวทดลองทั้งหมดเพียงครั้งเดียวแลวทําใหสัตวทดลองตายลงรอยละ ๕๐ คา LC๕๐ หมายถึง คาความเขมขนของสารในอากาศ หรือในน้ําที่ทําใหสัตวทดลองตายลงรอยละ ๕๐ กรณีตั้งโรงงานมีการใชหรือผลิตสารตาม (๔.๑) หรือ (๔.๒) ตั้งแต ๑,๐๐๐ ตันตอวันข้ึนไป กรณีขยายโรงงานเพิ่มการใชหรือผลิตสารตาม (๔.๑) หรือ (๔.๒) รวมกันเกินกวารอยละ ๓๕ สําหรับโรงงานเดิมที่มีการใชหรือผลิตสารดังกลาวตั้งแต ๑,๐๐๐ ตันตอวันขึ้นไป หรือเพิ่มการใชสารตาม (๔.๑) หรือ (๔.๒) รวมเปนตั้งแต ๑,๐๐๐ ตันตอวันขึ้นไป ทั้งนี้ การต้ังหรือขยายโรงงานในโครงการหรือกิจกรรมลําดับที่ ๕ ไมตองดําเนินการ ตามประกาศนี้ในกรณีที่โครงการหรือกิจกรรมลําดับที่ ๕ นั้น ไดดําเนินการตามประกาศนี้รองรับไวกอนแลว ลําดับที่ ๕ นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยหรือโครงการที่มีลักษณะเชนเดียวกันกับนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งจัดตั้ง เพื่อรองรับอุตสาหกรรมผลิตเหล็กข้ันตนหรืออุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตนหรือข้ันกลางขนาดเกินกวาที่กําหนดไวในโครงการหรือกิจกรรมลําดับที่ ๓ หรือลําดับที่ ๔ แลวแตกรณีทุกขนาด ลําดับที่ (๖) โรงงานฝงกลบของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม หรือเตาเผา ที่จัดสรางเพื่อกําจัดของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม ทุกขนาด ลําดับที่ (๗) โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล ยกเวนกาซธรรมชาติ กาซธรรมชาติสังเคราะห มีกําลังผลิตไฟฟาตั้งแต ๑๐๐ เมกะวัตตข้ึนไป และลําดับที่ (๘) โรงไฟฟานิวเคลียร ทุกขนาด

วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ นายกรัฐมนตรีมีคําส่ังสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๕๐/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติราชการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งมีนายอานันท ปนยารชุน เปนประธานกรรมการ มีหนาที่ (๑) ศึกษาความคิดเห็นและ

Page 71: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๑

ความตองการของประชาชน ผูประกอบการ นักวิชาการ และผูมีสวนไดเสีย (๒) ประสานแนวทางแกไขปญหาเพื่อใหเกิดประโยชนกันทุกภาคสวน ทั้งในดานส่ิงแวดลอม สุขอนามัย สังคม เศรษฐกิจ และการลงทุน และ (๓) จัดทําขอยุติเพื่อเสนอใหนายกรัฐมนตรีพิจารณาดําเนินการตามอํานาจหนาที่ในการแกไขปญหากรณีพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียง ในจังหวัดระยอง และการปฏิบัติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๗ วรรคสอง โดยกําหนดวิธีดําเนินการไว ดังนี้ (๑) การจัดทําขอยุติเพื่อเสนอรัฐบาลดําเนินการใหสอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๗ วรรคสอง ที่เกี่ยวของกับ (๑.๑) การกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรม ที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (๑.๒) ศึกษาการจัดตั้งองคกรอิสระท้ังในสวนของรูปแบบการดําเนินงาน โครงสรางองคกร บทบาท และอํานาจหนาที่ในการใหความเห็นประกอบการดําเนินการ (๒) จัดทําขอยุติเพื่อใหรัฐบาลสามารถดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการลดและขจัดมลพิษไดอยางมีประสิทธิภาพและปฏิบัติไดจริงอยางเปนรูปธรรม สําหรับเขตควบคุมมลพิษ ในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียงในจังหวัดระยอง (๓) จัดทําขอยุติใหรัฐบาลแกไขปญหาเฉพาะหนาสําหรับโครงการ จํานวน ๗๖ โครงการ ที่ถูกระงับการดําเนินการ โดยใหเปนที่ยอมรับกันของทุกภาคสวนและเพื่อใหชุมชนและอุตสาหกรรมอยูรวมกันได อยางย่ังยืน ฯลฯ

วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ประกาศใชบังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ คณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติราชการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มีคําส่ัง ที่ ๒/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๓ ที่ ๔/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๓ ที่ ๖/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ และท่ี ๑๕/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ เรื่อง แตงตั้งคณะอนุกรรมการศึกษาและเติมเต็มทางเทคนิคเพื่อลดและขจัดมลพิษในมาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียง มีอํานาจ

Page 72: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๒

หนาที่ (๑) ศึกษาและประเมินสถานการณมลพิษปจจุบันและแนวโนมในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียง (๒) นําเสนอแนวทางและ/หรือเทคนิคในการแกปญหามลพิษในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียง ทั้งระยะส้ันและระยะยาว ฯลฯ

ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีหนังสือลงวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๓ และผูถูกฟองคดี ทั้งแปดมีหนังสือลงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ชี้แจงวา โครงการหรือกิจกรรม ตามเอกสารทายคําฟองหมายเลข ๗ ทั้งหมด ๗๖ โครงการ มีรายละเอียดของโครงการหรือกิจกรรมซึ่งคณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม (คชก.) มีมติเห็นชอบรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและไดรับใบอนุญาตจากผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะ ดังนี้ (๑) โครงการสวนขยายโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกชนิดความหนาแนนสูง (BPEX) ของบริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขท่ี สนพ. ๐๐๔/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๒) โครงการขยายสวนผลิตเหล็กแผนปรับสภาพผิว ของบริษัท จี สตีล จํากัด (มหาชน) คชก.มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (๓) โครงการโรงงานผลิตสารเอทานอลเอมีนของบริษัท ไทยเอทานอล เอมีน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ช.หอ.๐๒/๒๕๕๐ ลงวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๐ (๔) โครงการโรงงานผลิตอีพอกซี่เรซิน (สวนขยาย) ของบริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตสวนขยายครั้งที่ ๑ เลขที่ สนพ. ๑๑๗/๒๕๕๐ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๐ (๕) โครงการโรงงานเหล็กโครงสรางรูปพรรณและเข็มพืดเหล็กกลารีดรอน ของบริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๑๓๙/๒๕๕๐ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๐ (๖) โครงการโรงงานผลิตแผนเหล็กเคลือบผิวสวนขยาย ของบริษัท สยามแผนเหล็กวิลาส จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตขอขยายครั้งที่ ๓ เลขที่ สนพ. ๐๗๐/๒๕๕๐ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐ (๗) โครงการโรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ ๖ ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๐ (๘) โครงการขยายโรงงานผลิตเหล็กแผน ไรสนิมรีดเย็น ระยะที่ ๓ ของบริษัท ไทยนอคซ สแตนเลส จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติ

Page 73: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๓

เห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๐ (๙) โครงการขยายการผลิตเหล็กลวดสลักเกลียวและเหล็กเสนกลม ของบริษัท ไทยคูณเวิลดไวดกรุป จํากัด (ประเทศไทย) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๐ (๑๐) โครงการโรงงานผลิตเอทธิลีนออกไซดและเอทธิลีนไกลคอล (สวนขยาย) ของบริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ส.หอ.๐๕/๒๕๕๐ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๐ (๑๑) โครงการโรงงานผลิตสารอะคริโลไนไตรลและสารเมทิลเมตะคริเลต ของบริษัท พีทีที อาซาฮีเคมิคอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๑๐๒/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๑ และใบอนุญาต ขอใชพื้นที่เพิ่มเติม เลขที่ ๑๒๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๒ (๑๒) โครงการโรงงานผลิตบิสฟนอลเอ ของบริษัท พีทีที ฟนนอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๑๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ (๑๓) โครงการขยายกําลังการผลิตโพลีคารบอเนตของโรงงานที่ ๒ ของบริษัท ไทยโพลีคารบอเนต จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๐ (๑๔) โครงการผลิตเมธิลเมตา คลีเลต โรงงานที่ ๒ ของบริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตขอขยายครั้งที่ ๓ เลขท่ี สนพ. ๐๒๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ (๑๕) โครงการขยายกําลังการผลิตโพลีเอททีลีน ของบริษัท สยามโพลีเอททีลีน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตขอขยายครั้งที่ ๒ เลขท่ี สนพ. ๐๐๑/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๑ (๑๖) โครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ ของบริษัท โรงกล่ันน้ํามันระยอง จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตขอขยายครั้งที่ ๑ เลขที่ ๑๗๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๒ (๑๗) โครงการขยายกําลังการผลิตผงพลาสติกโพลีไวนิลคลอไรด สายการผลิตที่ ๘ และสายการผลิตที่ ๙ ของบริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๑ (๑๘) โครงการขยายกําลังการผลิต ไวนิลคลอไรดโมโนเมอรของโรงงานท่ี ๑ และโรงงานที่ ๒ ของบริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๐ (๑๙) โครงการโรงงานผลิตสารโพรพิลีน ออกไซดและสารโพรพิลีนไกลคอล ของบริษัท เอ็มพีที เอชพีพีโอ

Page 74: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๔

แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๓๑๔/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (๒๐) โครงการขยายกําลังการผลิตโพลิเอทิลีน ของบริษัท ปตท.เคมีคอล จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ สนพ. ๐๔๐/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๒ (๒๑) โครงการนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) สวนขยาย ของการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยรวมกับบริษัท อิสเทิรน อินดัสเตรียลเอสเตท จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๑ โครงการสวนขยายฯไดรับการประกาศเขตฯลงในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๑ (๒๒) โครงการปรับปรุงระบบหมุนเวียนกาซกลับคืนของโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกชนิดโพลีโพรพิลีน ของบริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอรส จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม ฉบับตออายุครั้งที่ ๕ เลขท่ี ๐๖๓/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๓ โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการ โพลีโพรพิลีนหนวยที่ ๑ และหนวยที่ ๒ ซึ่งใชใบอนุญาตใบเดียวกัน (๒๓) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการโรงงานผลิตสารฟนอล ของบริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๑๒๙/๒๕๔๘ ลงวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ (๒๔) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการหนวยผลิตอีพิคลอโร ไฮดรินนํารอง (ECH Pilot Plant) ของบริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) คชก. มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตขอขยายครั้งที่ ๒ เลขที่ ส.หอ.๐๑/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑ (๒๕) โครงการโรงงานผลิต สารอะคริโลไนไตรลและสารเมทิลเมตะคริเลต(เปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการ) ของบริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๐ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๑๐๒/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๑ และใบอนุญาต ขอใชพื้นที่เพิ่มเติม เลขที่ ๑๒๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๒ (๒๖) โครงการโรงงานผลิตโพลิเอททีลีน ของบริษัท สยามโพลิเอททีลีน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๒๐๘/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ (๒๗) โครงการขยายกําลังการผลิตบิสฟนอลเอ ของบริษัท ไบเออรไทย จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาต

Page 75: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๕

ขอขยาย ครั้งที่ ๑๔ เลขที่ สนพ.๑๑๔/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๑ (๒๘) โครงการนิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิรนซีบอรด (สวนขยาย) ของการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย รวมกับ บริษัท เหมราช อีสเทิรนซีบอรด อินดัสเตรียล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑ โครงการสวนขยายไดรับการประกาศเปล่ียนแปลงเขตลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๙ (๒๙) โครงการสวนขยายโรงงานคลอรอัลคาไลและปรับปรุงการผลิตโรงงานไวนิล ของบริษัท วีนิไทย จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ (๓๐) โครงการขยายกําลังการผลิตโพลิเอทิลีน (การติดตั้งหนวยผลิต Compound Production Unit) ของบริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ (๓๑) โครงการโรงงานผลิต บิสฟนอลเอ ของบริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๑๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ (๓๒) โครงการโรงงานผลิตเหล็ก ถลุงหลอมเหลวและโรงงานผลิตเหล็กแทง ของบริษัท AISCO RESOURCES PTE จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑ (๓๓) โครงการโรงผลิต NBR LATEX ของบริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ ยกเลิกโครงการ (๓๔) โครงการเพิ่มกําลังการผลิตไนลอน ของบริษัท อูเบะ ไนลอน (ประเทศไทย) จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๑ (๓๕) โครงการเปล่ียนแปลงรายละเอียดวิธีการจัดการ PTA และ CTA ของโครงการผลิต พีทีเอ สายการผลิตที่ ๓ ของบริษัท สยามมิตซุย พีทีเอ จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตเดิมเลขที่ ๑๐๒/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ อยูระหวางตรวจสอบการไมตองขออนุญาตใหม (๓๖) โครงการโรงงานผลิตเหล็กเสน (สวนขยาย) ของบริษัท บี อาร พี สตีล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๑ (๓๗) โครงการผลิตเชื้อเพลิงสะอาด ติดตั้งหนวยควบคุมไอน้ํามันเชื้อเพลิงและเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ ไบโอดีเซล ของบริษัท สตาร ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตสวนขยาย ครั้งที่ ๒ เลขท่ี ๐๐๑/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๓ และไดรับใบอนุญาตสวนขยาย ครั้งที่ ๓ เลขท่ี ๐๐๒/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๓ (๓๘) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโรงงาน

Page 76: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๖

อะโรเมติกส (มหาชน) หนวยที่ ๑ ระยะที่ ๓ ของบริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกล่ัน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ (๓๙) การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการติดตั้ง DME Removal Unit และ Hydrocarbon Scrubber ของบริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด Bangkok Synthetics Co.,Ltd. คชก. มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ และอยูระหวางตรวจสอบการไมตองขออนุญาตใหม โครงการเดิมไดรับใบอนุญาต เลขที่ ๓๒๙/๒๕๓๗ ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๓๗ (๔๐) โครงการขยายกําลังการผลิตฟอรมัลดีไฮดและยูเรียฟอรมัลดีไฮด ของบริษัท วนชัยเคมีคอล อินดัสทรี่ส จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ส.หอ.๐๔/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒ (๔๑) โครงการติดตั้งระบบควบคุมไอน้ํามันเชื้อเพลิงและเพิ่มประเภทผลิตภัณฑไบโอดีเซล ของบริษัท ปตท.อะโรเมติกสและการกล่ัน (มหาชน) จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตขอขยาย ครั้งที่ ๑ เลขที่ ๑๗๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน๒๕๕๒ (๔๒) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการโรงงานผลิต สารโพรพิลีนออกไซดและสารโพรพิลีนไกลคอล ของบริษัท เอ็มทีพี เอชพีพีโอ แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๒ และไดรับใบอนุญาตเดิมเลขที่ ๓๑๔/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ เปนการเปล่ียนแปลงรายละเอียดของโครงการที่ ๑๙ (๔๓) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการโรงงานผลิตโพลิเอททีลีน ของบริษัท สยามเลเทกซสังเคราะห จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๒ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๒๕๘/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๑ (๔๔) การขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก โพลิเอททีลีน ชนิดความหนาแนนสูง โดยการเพิ่มเติมหนวยเตรียมคะตะลิสต C – 1 ของบริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ และไดรับใบอนุญาตขอขยาย ครั้งที่ ๒ เลขที่ สนพ. ๐๔๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๒ (๔๕) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและระบบบําบัดมลพิษทางอากาศโรงงานผลิต Purified Terephthalic Acid (PTA) ของบริษัท อินโดรามา ปโตรเคม จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ (๔๖) การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงโรงผลิตสารโอเลฟนส สาขา ถนนไอ – ส่ี (กอสรางเตาแครกก้ิงสํารอง) ของบริษัท

Page 77: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๗

ปตท.เคมิคอล จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ (๔๗) โครงการโรงงานผลิตสารอะคริโลไนไตรลและสารเมทิลเมตะคริเลต ของบริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒ และไดรับใบอนุญาตเลขท่ี ๑๐๒/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๑ และใบอนุญาตขอใชพื้นที่เพิ่มเติม เลขที่ ๑๒๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๒ (๔๘) โครงการโรงงานผลิตสารอะคริโลไนไตรลและสารเมทิลเมตะคริเลต ของบริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒ และไดรับใบอนุญาตเลขที่ ๑๐๒/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๑ และไดรับใบอนุญาตขอใชพื้นที่เพิ่มเติม เลขท่ี ๑๒๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๒ เปนโครงการเดียวกับโครงการ ๔๗ (๔๙) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการสวนขยายโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกชนิดความหนาแนนสูง (BPEX) (จากการติดตั้งหนวยผลิต Compound Production Unit สายการผลิตที่ ๒ ของบริษัท บางกอกโพลิเอททีลีน จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๒ (๕๐) โครงการโรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ ๖ (การเพิ่มประสิทธิภาพระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้งเพื่อหมุนเวียนกลับมาใชใหม) ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๒ (๕๑) โครงการเพิ่มกําลังการผลิตโรงงานผลิต Polyethylene Terephthalate (PET) ของบริษัท ไทย เพ็ท เรซิน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๒ (๕๒) โครงการขยายกําลังการผลิตโพลีคารบอเนต ของบริษัท ไบเออรไทย จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๒ (๕๓) โครงการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโรงงานโอเลฟนส ของบริษัท เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๒ (๕๔) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโรงงานผลิตคลอ – อัลคาลี และอีพิคลอโรไฮดรินภายใตโครงการติดตั้ง Chlorine Vaporizer, Wet Scrubber ของ HCL Section และการปรับเปลี่ยนขนาดถังบรรจุคลอรีนเหลว ของบริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (คลอ อัลคาลี ดีวิชั่น) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ (๕๕) โครงการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน โดยเพิ่มประเภทผลิตภัณฑโพลิโพรไพลีนและนําสารอินทรียระเหยงายกลับมาใชใหม ที่โรงงาน HDPE#๑ ของบริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ (๕๖) โครงการนิคมอุตสาหกรรม อาร ไอ แอล (สวนขยาย) ของการนิคม

Page 78: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๘

อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รวมกับ บริษัท อาร ไอ แอล ๑๙๙๖ จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๒ โครงการสวนขยายไดรับการประกาศเปล่ียนแปลงเขตลงในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๐ (๕๗) โครงการเปล่ียนแปลงขนาดพื้นที่โครงการผลิตเหล็กแผนรีดเย็น เหล็กแผนเคลือบโลหะ และเหล็กแผนเคลือบสังกะสี ของบริษัท บูลสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๒ ไมเขาขายที่จะตองขออนุญาตใหม (ซื้อที่ดินเพิ่ม) โครงการเดิมไดรับใบอนุญาต เลขที่ ๑๙๑/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๓๙ (๕๘) โครงการเพิ่มกําลังการผลิตโรงงานผลิตยางสังเคราะห ของบริษัท บี เอส ที อิลาสโตเมอรส จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒ (๕๙) โครงการโรงงานผลิตกาซไฮโดรเจน ของบริษัท เอ็มทีพี เอชพี เจวี (ประเทศไทย) จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๒ (๖๐) โครงการขยายกําลังการผลิตผงพลาสติกโพลีไวนิลคลอไรด สายการผลิตที่ ๕,๖ และ ๘ ของบริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จํากัด ยกเลิกโครงการ ขอถอนรายงานฯ คืน (๖๑) โครงการเขตอุตสาหกรรม ไอพีพี ของบริษัท ไอ.พี.พี. (ไทยแลนด) จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๒ (๖๒) โครงการโรงงานผลิตเหล็กแผนเคลือบสังกะสี ของบริษัท เจเอฟอี สตีล กัลปวาไนซิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๒ (๖๓) เปนโครงการเดียวกับโครงการลําดับที่ ๖๒ (๖๔) โครงการสวนอุตสาหกรรมปลวกแดง ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมปลวกแดง จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๒ (๖๕) โครงการศูนยบริการกําจัดของเสียอุตสาหกรรม ของบริษัท สยามเอ็นไวรอนเมนทอลเทคโนโลยี่ จํากัด คชก. ยังไมได ใหความเห็นชอบ (๖๖) โครงการขยายทาเทียบเรือขนถายสารปโตรเคมีและคลังเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ ของบริษัท มาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (๖๗) โครงการเปล่ียนแปลงตําแหนงและขนาดถังเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ ของบริษัท มาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๑ อยูระหวางตรวจสอบไมเขาขายที่ตองขอรับใบอนุญาตใหม (๖๘) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการทาเทียบเรือและคลังผลิตภัณฑ (การเพิ่มถังเก็บและอุปกรณขนถาย LPG/Butene-๑) ของบริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๑ อยูระหวางตรวจสอบ

Page 79: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๗๙

การไมเขาขายที่ตองขอรับใบอนุญาตใหม (๖๙) การเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการขยายทาเทียบเรือขนถายสารปโตรเคมีและคลังเก็บวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ (การกอสรางถังเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑเพิ่มเติม (ถัง โพรเพน/บิวเทน) ของบริษัท มาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ อยูระหวางตรวจสอบการไมเขาขายที่ตองขอรับใบอนุญาตใหม (๗๐) โครงการขยายทาเทียบเรือขนถายสาร ปโตรเคมี (ทาเทียบเรือหมายเลข ๔) และคลังเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ ของบริษัท มาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๑ (๗๑) โครงการติดตั้ง Loading Arm เพิ่มเติม ที่ทาเทียบเรือของโรงกล่ันน้ํามันสตาร ของบริษัท สตาร ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๒ และไดรับใบอนุญาตสวนขยาย ครั้งที่ ๒ เลขท่ี ๐๐๓/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๓ (๗๒) โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวม ของบริษัท โกลว เหมราช พลังงาน จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ยกเลิกโครงการ (๗๓) โครงการทอสงกาซธรรมชาติไปยังบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บริษัท อะโรเมติกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัท มาบตาพุด โอเลฟนส จํากัด ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ (๗๔) โครงการโรงไฟฟา เพื่ออุตสาหกรรมของบริษัท อมตะ สตรีม ซัพพลาย จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๑ (๗๕) โครงการทอสงสารปโตรเคมี ของบริษัท สไตรีนโมโนเมอร จํากัด บริษัท สยามโพลิ เอททิลีน จํากัด และบริษัท ระยองโอลิฟนส จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ (๗๖) โครงการศูนยสาธารณูปการกลาง แหงที่ ๒ ของบริษัท พีพีที ยูทิลิตี้ จํากัด คชก. มีมติเห็นชอบ ๖ มีนาคม ๒๕๕๑ วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๓ นายกรัฐมนตรีไดอาศัยอํานาจตามความในขอ ๑๔ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการประสานงานการใหความเห็นขององคการอิสระในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง พ.ศ.๒๕๕๓ ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศการจัดตั้งองคการอิสระ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยใหองคการอิสระทําหนาท่ีใหความเห็นชอบโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

Page 80: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๐

วันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติองคการอิสระดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ พ.ศ.... ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดตรวจพิจารณาแลว และใหสงคณะกรรมการประสานงาน ดานนิติบัญญัติพิจารณา แลวเสนอสภาผูแทนราษฎรพิจารณาตอไป วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ประธานคณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มีบันทึกท่ี นร ๐๑๐๕.๐๕/๔๖ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ เรื่อง ผลการดําเนินงานของคณะกรรมการแกไขปญหา การปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ในเรื่องประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานส่ิงแวดลอมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เสนอนายกรัฐมนตรีวา ไดจัดทํารางประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานส่ิงแวดลอมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพเสร็จเรียบรอยแลว มีจํานวน ๑๘ ประเภท รวมทั้งขอสังเกต ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะซึ่งสืบเนื่องมาจากการจัดทํารางประเภทโครงการหรือกิจกรรมดังกลาว เพื่อพิจารณาดําเนินการตอไป ซึ่งรางดังกลาวไดมาจากกระบวนการทํางาน ดังนี้ (๑) พิจารณาเกณฑในการกําหนดประเภทและขนาดโครงการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง (๒) อนุกรรมการฯ ศึกษารวบรวมขอมูลทางเทคนิคท่ีเกี่ยวของ (๓) คณะอนุกรรมการฯ กล่ันกรองขอมูลและสงใหนักวิชาการและผูทรงคุณวุฒิ (๔) จัดประชุมรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนและรับฟงความคิดเห็น ทางเทคนิครวม ๖ ครั้ง (๕) เชิญผูมีสวนเกี่ยวของใหความเห็นทางวิชาการเพิ่มเติม และ (๖) จัดทํารางรายการ “โครงการหรือกิจกรรมเก่ียวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ” โดยไดจัดประชุมคณะอนุกรรมการ จํานวน ๒๖ ครั้ง และจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นประชาชนและรับฟงความคิดเห็นทางเทคนิคท้ังในกรุงเทพมหานครและทุกภาค ของประเทศ จํานวน ๖ ครั้ง ตอมาคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมประกาศประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดาน

Page 81: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๑

คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อใหการเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ผูถูกฟองคดี ที่ ๓ จึงไดออกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน จะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๐๔ง ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ โดยประกาศดังกลาวใหมีผลใชบังคับนับแตวันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

คดีนี้มีประเด็นตองวินิจฉัยรวม ๓ ประเด็น คือ ประเด็นที่หนึ่ง ผูฟองคดี ทั้งส่ีสิบสามเปนผูที่มีสิทธิฟองคดีนี้ตอศาลปกครองหรือไม ประเด็นที่สอง การท่ีผูถูกฟองคดีทั้งแปดมิไดดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนการละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร หรือไม และประเด็นที่สาม ผูถูกฟองคดีทั้งแปดกระทําการรวมกันใหความเห็นชอบ อนุมัติ อนุญาต ใหโครงการหรือกิจกรรมทั้ง ๗๖ โครงการ ตามเอกสารทายคําฟองหมายเลข ๗ โดยมิไดดําเนินการ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนการกระทําโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม ประเด็นที่หนึ่ง ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามเปนผูที่มีสิทธิฟองคดีนี้ตอศาลปกครอง หรือไม พิเคราะหแลวเห็นวา คดีนี้เปนคดีพิพาทเก่ียวกับการปฏิบัติหนาที่ของ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดที่มีอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ํ าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ นับตั้งแตวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ ซึ่งเปนวันที่รัฐธรรมนูญ

Page 82: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๒

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช ในสวนที่เกี่ยวกับการพิจารณา ใหความเห็นชอบ อนุมัติหรืออนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพในพื้นที่จังหวัดระยอง เนื่องจากผูถูกฟองคดีทั้งแปดมิไดจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายใหเปนไปตามที่มาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กําหนด และในการพิจารณาใหความเห็นชอบ อนุมัติหรืออนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมดังกลาว ก็มิไดดําเนินการใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จึงขอใหผูถูกฟองคดีทั้งแปดปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายและขอใหเพิกถอนโครงการหรือกิจกรรมดังกลาว กรณีจึงเปนคดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งศาลปกครองมีอํานาจกําหนดคําบังคับไดตามมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน และโดยที่ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเปนสมบัติของประชาชนทุกคนที่มอบใหรัฐเปนผูดูแล เมื่อปรากฏวาผูถูกฟองคดีทั้งแปดละเลยตอหนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนดในสวนที่เกี่ยวกับการคุมครองทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่อยูในขอบเขตความรับผิดชอบของตน จนทําใหผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ ไมสามารถดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่ดีปราศจากอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตได เพราะในพื้นที่จังหวัดระยองมีปญหามลพิษตาง ๆ จากการประกอบกิจการโรงงานจํานวนมากเกินศักยภาพของพื้นที่ที่จะรองรับไดแลว อีกทั้งปญหามลพิษดานตาง ๆ และการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่จะเกิดข้ึนในอนาคต มิไดสงผลกระทบแตเฉพาะประชาชนในบริเวณพื้นที่ใกลเคียงเทานั้น แตปญหาดังกลาวเปนการทําลายคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเปนประโยชนตอสวนรวมของประชาชนทั่วไปอยางกวางขวาง ตลอดจนอาจมีผลตอเนื่องไปจนถึงประชาชนคนรุนหลังตอไปดวย แตผูถูกฟองคดีทั้งแปดกลับอาศัยอํานาจหนาที่ตามกฎหมายพิจารณาใหความเห็นชอบ อนุมัติหรืออนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โดยมิไดดําเนินการใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อันเปนการกระทําที่ขัดตอบทบัญญัติของกฎหมายรัฐธรรมนูญซึ่งเปน

Page 83: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๓

กฎหมายสูงสุดของประเทศโดยไมชอบดวยกฎหมาย ผูฟองคดีที่ ๑ เปนนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงคเพื่อติดตาม ตรวจสอบ แหลงกําเนิดมลพิษที่เปนตนเหตุของปญหาโลกรอน และเหตุภาวะมลพิษตาง ๆ ที่กอความเสียหายตอบุคคล สัตว พืช ทรัพยสิน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และไดจดทะเบียนเปนองคกรเอกชนดานการคุมครองสิ่งแวดลอมและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติตามมาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ สวนผูฟองคดีที่ ๒ เปนนิติบุคคล ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการคุมครองสิ่งแวดลอมและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูและใชประโยชน ไดอยางสมดุลและย่ังยืน จึงเห็นวา เปนการฟองคดีเกี่ยวของกับการคุมครองประโยชนสาธารณะและเปนการดําเนินการภายในขอบเขตแหงวัตถุประสงคของผูฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ ที่จัดตั้งข้ึนตามกฎหมายดังกลาวขางตน อันถือไดวา ผูฟองคดีที่ ๑ และที่ ๒ เปนผูไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงไดจากการกระทําของผูถูกฟองคดีทั้งแปดซึ่งเปนมูลเหตุแหงการฟองคดีนี้ จึงเปนผูมีสิทธิฟองคดีนี้ตอศาลปกครองตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สวนผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ เปนประชาชนที่ตั้งบานเรือนอยูในพื้นที่ตําบลมาบตาพุด ตําบลหวยโปง และตําบลเนินพระ อําเภอเมืองระยอง ตําบลมาบขา อําเภอ นิคมพัฒนา และตําบลบานฉาง อําเภอบานฉาง ตําบลแมน้ําคู อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ซึ่งอยูในรัศมี ๓๐ กิโลเมตร จากเขตอุตสาหกรรมหลักประกอบดวย โรงงานแยกกาซธรรมชาติ โรงงานปโตรเคมี โรงงานไฟฟา และอื่น ๆ จึงถือวา ผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ เปนผูไดรับผลกระทบจากการประกอบกิจการโรงงานของโครงการหรือกิจกรรมตามคําฟอง และเปนบุคคลซึ่งมีสิทธิและหนาที่ในการมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในส่ิงแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตนตามมาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประกอบกับมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ จึงเปนผูไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจ

Page 84: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๔

หลีกเล่ียงไดจากการกระทําของผูถูกฟองคดีทั้งแปดซึ่งเปนมูลเหตุแหงการฟองคดีนี้ จึงเปนผูมีสิทธิฟองคดีนี้ ตอศาลปกครองตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ เชนกัน

สําหรับขอที่ผูถูกฟองคดีทั้งแปดอางวา ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไมมีสิทธิ ฟองคดีนี้โดยการอางสิทธิของชุมชนตามมาตรา ๖๗ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เพราะมิใชผูนําชุมชนและมิใชผูไดรับมอบอํานาจจากชุมชน นั้น เห็นวา ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง มีเจตนารมณบัญญัติรับรองสิทธิและหนาที่ของปวงชนชาวไทยไว กลาวคือ บุคคลมีสิทธิที่จะไดรับการคุมครองจากรัฐตามกฎหมายเพื่อใหตนสามารถดํารงชีพ อยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่ดี ซึ่งไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน รวมทั้งบุคคลยังมีสิทธิและหนาที่ในการมีสวนรวมกับรัฐในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อปรากฏวา การกระทําของผูถูกฟองคดีทั้งแปดซึ่งเปนมูลเหตุ แหงการฟองคดีนี้ มีผลทําใหผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายตอสิทธิในการดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่ดี ตลอดจนทําใหเกิด ความเสียหายตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยูในพื้นที่ซึ่งเปนประโยชน ตอสวนรวม จึงเห็นวา การท่ีผูฟองคดีที่ ๑ และที่ ๒ ในฐานะนิติบุคคลที่จัดตั้งข้ึน ตามกฎหมายที่มีวัตถุประสงคเพื่อการคุมครองและรักษาไวซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และผูฟองคดีที่ ๓ ถึงที่ ๔๓ ในฐานะบุคคลที่ตั้งบานเรือนอยูในพื้นที่ใชสิทธิฟองคดีนี้ตอศาลปกครอง จึงเปนการใชสิทธิฟองคดีในฐานะปจเจกชนและบุคคลในชุมชนซึ่งเปนผูไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงไดจากการประกอบกิจการโรงงานของโครงการหรือกิจกรรมตามคําฟอง เพื่อปกปองและคุมครองประโยชนสวนรวมไดโดยมิจําตองมีฐานะเปนผูนําชุมชน หรือเปนผูไดรับมอบอํานาจจากบุคคลในชุมชนแตอยางใด

นอกจากนี้ ผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามยังมีหนาที่ในการรักษาประโยชนสาธารณะตามบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่กําหนดไวในหมวด ๔ หนาที่ของชนชาวไทย มาตรา ๗๓ วา บุคคลมีหนาที่พิทักษ ปกปองและสืบสาน

Page 85: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๕

ศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญาทองถิ่น และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกลาวมีเจตนารมณในการสรางจิตสํานึก ความรับผิดชอบตอสังคมและการรักษาประโยชนสาธารณะใหเกิดข้ึนกับชนชาวไทย เพื่อใหมีความรับผิดชอบตอสาธารณะเพื่อพิทักษ ปกปองและอนุรักษเรื่องตาง ๆ ตามที่กลาวมา เพื่อไมใหสังคมไทยเปนสังคมท่ีเพิกเฉยตอปญหาที่เกิดข้ึนกับสาธารณะ ซึ่งบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่กําหนดหนาที่ของชนชาวไทยดังกลาว หมายรวมถึง การใหผูที่มีประโยชนเกี่ยวของในเรื่องดังกลาวมีหนาที่ตองรักษาประโยชนสาธารณะดวยการนําคดีฟองตอศาลปกครองในฐานะเปนผูเสียหายแทนชุมชนเพื่อรักษาประโยชนสาธารณะดวย ในคดีนี้ถือวาผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามเปนผูเสียหายแทนชุมชนซึ่งอาจจะไดรับความเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงไดเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หนาที่ดังกลาวเปนหนาที่โดยผลของบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญจึงไมตองมีการมอบอํานาจหรือมอบหมายจากชุมชนแตอยางใด ขออางของผูถูกฟองคดีทั้งแปดในกรณีนี้จึงฟงไมข้ึน

ประเด็นที่สอง การที่ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดมิไดดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนการละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร หรือไม

พิเคราะหแลวเห็นวา ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย สวนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน มาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย ทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพ อยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครองตามความเหมาะสม วรรคสอง บัญญัติวา การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชน อยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทํามิได เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน

Page 86: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๖

รวมทั้งไดใหองคการอิสระ ซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ และผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพ ใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว และวรรคสาม บัญญัติวา สิทธิของชุมชนที่จะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐที่เปนนิติบุคคล เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามบทบัญญัตินี้ ยอมไดรับความ คุมครอง ประกอบกับมาตรา ๓๐๓ วรรคหนึ่ง (๑) บัญญัติวา ในวาระเริ่มแรกใหคณะรัฐมนตรีที่เขาบริหารราชการแผนดินภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเปนครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายในเรื่องดังตอไปนี้ ใหแลวเสร็จภายในเวลา ที่กําหนด (๑) กฎหมายที่เกี่ยวกับ... สวนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน... ภายในหนึ่งปนับแตวันที่แถลงนโยบายตอรัฐสภาตามมาตรา ๑๗๖ และมาตรา ๑๔๒ บัญญัติวา ภายใตบังคับมาตรา ๑๓๙ รางพระราชบัญญัติจะเสนอไดก็แตโดย (๑) คณะรัฐมนตรี (๒) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาย่ีสิบคน (๓) ศาลหรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เฉพาะกฎหมาย ที่เกี่ยวกับการจัดองคกรและกฎหมายท่ีประธานศาลและประธานองคกรนั้นเปนผูรักษาการ หรือ (๔) ผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวาหนึ่งหมื่นคนเขาชื่อเสนอกฎหมายตามมาตรา ๑๖๓ ... จากบทบัญญัติดังกลาวจะเห็นวา การจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายเพื่อปฏิบัติใหเปนไปตามมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สามารถจําแนกไดเปน ๒ ลักษณะ คือ การจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายซึ่งมีลําดับชั้นเปนพระราชบัญญัติ และการออกกฎโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติที่มีผลใชบังคับอยูในปจจุบัน จึงเห็นวา ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดกําหนดไวอยางชัดเจนวา ในกรณีการจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายซึ่งมีลําดับชั้นเปนพระราชบัญญัติออกใชบังคับ ใหคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ศาลหรือ องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญและผูมีสิทธิเลือกตั้ง เปนผูมีอํานาจหนาที่ในการเสนอรางพระราชบัญญัติเพื่อพิจารณาเทานั้น ซึ่งในสวนของการเสนอรางพระราชบัญญัติเพื่อปฏิบัติใหเปนไปตามบทบัญญัติในมาตรา ๖๗ สวนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน ไดกําหนดไวเปนการเฉพาะ ในมาตรา ๓๐๓ (๑) ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของคณะรัฐมนตรีที่ เข าบริหารราชการแผนดิน ภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเปนครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ เปนผูดําเนินการจัดทําหรือ

Page 87: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๗

ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับเรื่องดังกลาว ซึ่งในทางพิจารณาคดีไดความวา คณะรัฐมนตรี ชุดแรกที่เขาบริหารราชการแผนดินภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปตามรัฐธรรมนูญนี้ ไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาเมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ แตปรากฏขอเท็จจริงวา นายกรัฐมนตรีไดมีคําส่ังสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๕๐/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติราชการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ใหมีหนาที่... (๒) ศึกษาการจัดตั้งองคกรอิสระ ทั้งในสวนของรูปแบบการดําเนินงาน โครงสรางองคกร บทบาท และอํานาจหนาที่ในการ ใหความเห็นประกอบการดําเนินการ ซึ่งคณะกรรมการดังกลาวไดเสนอรางพระราชบัญญัติองคกรอิสระดานสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ พ.ศ. .... ใหนายกรัฐมนตรีพิจารณา และคณะรัฐมนตรีไดประชุมปรึกษาเมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ ลงมติเห็นชอบ รางพระราชบัญญัติองคกรอิสระดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ พ.ศ. .... โดยสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดตรวจพิจารณาและสงใหคณะกรรมการประสานงานดานนิติบัญญัติพิจารณาเสนอสภาผูแทนราษฎรพิจารณาตอไป ดังนี้ นับตั้งแตไดมีการประกาศ ใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรียังดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายลําดับชั้นเปนพระราชบัญญัติที่ เกี่ยวกับองคการอิสระ ดานส่ิงแวดลอมตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ไมแลวเสร็จตามกําหนดเวลา และอยูในระหวางกระบวนการทางนิติบัญญัติเพื่อตราพระราชบัญญัติออกมาใชบังคับ ซึ่งตอมานายกรัฐมนตรีไดอาศัยอํานาจตามความในขอ ๑๔ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการประสานงานการใหความเห็นขององคการอิสระในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง พ.ศ.๒๕๕๓ ออกประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศการจัดตั้งองคการอิสระ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๓ เพื่อใหองคการอิสระดังกลาวทําหนาที่ใหความเห็นชอบโครงการหรือกิจกรรม ที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในระหวางที่กฎหมายวาดวยองคกรอิสระ ดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ยังไมมีการประกาศใชบังคับเทานั้น

สวนการกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ นั้น

Page 88: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๘

ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดมีคําส่ังกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ที่ ๙๔/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๑ และคําส่ังที่ ๑๔๔/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑ แตงตั้งคณะกรรมการกําหนดประเภทโครงการหรือหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อทําหนาที่ในการศึกษาและกําหนดประเภทโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งจาก ผลการศึกษาไดจัดทํารางรายชื่อประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จํานวน ๑๙ ประเภท ตอมาคณะอนุกรรมการฯ ไดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเพื่อการปรับปรุงรายการโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพดังกลาว โดยมีการประชุมคณะอนุกรรมการฯ จํานวน ๒๖ ครั้ง และจัดประชุมเพื่อรับฟง ความคิดเห็นของประชาชนและรับฟงความคิดเห็นทางเทคนิค จํานวน ๖ ครั้ง จึงเสนอโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จํานวน ๑๘ รายการ เพื่อใหหนวยงานของรัฐ ที่เกี่ยวของดําเนินการตอไป ซึ่งประธานคณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติตาม มาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ไดมีบันทึกท่ี นร ๐๑๐๕.๐๕/๔๖ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ เรื่อง ผลการดําเนินงานของคณะกรรมการแกไขปญหา การปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ในเรื่องประเภทโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เสนอตอนายกรัฐมนตรีวา ไดจัดทําขอเสนอในเรื่องประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จํานวน ๑๘ รายการ เทานั้น จึงเห็นวา คณะรัฐมนตรีเปนผูมีอํานาจหนาที่ดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ

Page 89: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๘๙

ผูถูกฟองคดีทั้งแปดมิใชผูมีอํานาจหนาที่ดังกลาวแตประการใด กรณีจึงยังถือไมไดวา ผูถูกฟองคดีทั้งแปดละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร

อยางไรก็ดี เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญไดเคยมีคําวินิจฉัยที่ ๓/๒๕๕๒ วาโครงการหรือกิจกรรมที่อาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตองดําเนินการตามที่มาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติไวทันทีตั้ งแตวันที่ รัฐธรรมนูญนี้มีผลใชบังคับในวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐เปนตนไป ซึ่งคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญดังกลาวมีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื่นของรัฐตามมาตรา ๒๑๖ วรรคหา ฉะนั้น ในกรณีการออกกฎเพื่อดําเนินการ ใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติที่มีผลใชบังคับอยูในปจจุบัน นั้น เห็นวา การประกาศกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชน อยางรุนแรง ทั้งทางดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ มิใชเปนเรื่องที่เพิ่งถูกกําหนดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แตเรื่องดังกลาวไดกําหนดไวตามมาตรา ๕๖ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เชนกัน โดยไดมีการกําหนดรายละเอียดเปนไปตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจกรรมของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ตองจัดทํารายงาน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ฉบับลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๕ และที่แกไขเพิ่มเติม จํานวน ๒๒ โครงการหรือกิจการ ซึ่งตอมาไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนตนไป ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชน อยางรุนแรง ฉบับลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เพื่ออนุวัติใหการขออนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยกําหนดใหโรงงาน ตามบัญชีทายประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนด

Page 90: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๐

ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจกรรมของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ออกตามความในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนโรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง แตตอมา เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ฉบับลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๒ โดยไมมีการออกกฎหรือระเบียบเพื่อรองรับการปฏิบัติราชการใหเปนไปตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง อีกเลย จนกระทั่ง ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และ มาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ออกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจกรรมซึ่งตองจดัทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทํารายงาน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ฉบับลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒ จํานวน ๓๔ โครงการหรือกิจการ โดยใหยกเลิกประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจกรรมของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ฉบับลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพิ่มเติมทั้งหมด หลังจากนั้น ผูฟองคดี ทั้งส่ีสิบสามไดย่ืนฟองเปนคดีนี้ตอศาลปกครองเมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๒ และตอมา ศาลปกครองไดมีคําส่ังกําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเปนการชั่วคราว กอนการพิพากษาในคดีนี้ ตามคําส่ังศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ และคําส่ังศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๙๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ฉบับลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ จํานวน ๘ โครงการหรือกิจการ สวนผูถูกฟองคดีที่ ๓ ก็ไดอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ

Page 91: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๑

พ.ศ. ๒๕๓๕ ออกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ฉบับลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ จึงเห็นวา โครงการหรือกิจการใดเปนโครงการหรือกิจการท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ผูถูกฟองคดีทั้งแปดจะตองถือปฏิบัติตามประกาศกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่มีผล ใชบังคับอยูในขณะที่พิจารณาใหความเห็นชอบ อนุมัติ หรืออนุญาตใหดําเนินโครงการหรือกิจกรรมตามฟองเปนรายกรณีไป เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินมีประสิทธิภาพจนกวาจะไดมีการประกาศกําหนดใหม

ประเด็นที่สาม การท่ีผูถูกฟองคดีทั้งแปดกระทําการรวมกันใหความเห็นชอบ อนุมัติ หรืออนุญาต ใหโครงการหรือกิจกรรมทั้ง ๗๖ โครงการ ตามเอกสารทายคําฟองหมายเลข ๗ โดยมิไดดําเนินการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนการกระทําโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม พิเคราะหเห็นวา มาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีเจตนารมณบัญญัติเพื่อรับรองสิทธิข้ันพื้นฐานทางดานสิ่งแวดลอม ที่สําคัญของปวงชนชาวไทย คือ สิทธิในสิ่งแวดลอมที่ดี ไดแก สิทธิในการดํารงชีพ อยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน และสิทธิในธรรมชาติ ไดแก สิทธิในการมีสวนรวมในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ สวนมาตรา ๖๗ วรรคสอง มีเจตนารมณบัญญัติกระบวนการขึ้นมาเพื่อคุมครองสิทธิในสิ่งแวดลอมที่ดีและสิทธิในธรรมชาติตามที่บัญญัติไวในวรรคหนึ่ง จึงหามดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ แตบัญญัติยกเวน ใหดําเนินโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงได ภายใต

Page 92: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๒

กระบวนการตอไปนี้ คือ การศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน จัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย และการใหองคการอิสระซึ่งประกอบดวยผู แทนองคการเอกชน ดานส่ิงแวดล อมและสุขภาพ และผู แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพใหความเห็นประกอบ กอนมีการดําเนินการดังกลาว และมาตรา ๖๗ วรรคสาม มีเจตนารมณเพื่อใหมีการปฏิบัติใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ จึงบัญญัติมาตรการซึ่งเปนสภาพบังคับดวยการรับรองสิทธิของชุมชนที่จะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐที่เปนนิติบุคคลเพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามบทบัญญัติดังกลาว

จะเห็นไดวา สิทธิในสิ่งแวดลอมที่ดีและสิทธิในธรรมชาติตามที่กลาวมาขางตนเปนสิทธิข้ันพื้นฐานดานส่ิงแวดลอมที่ไดมีการบัญญัติรับรองและใหความคุมครองปรากฏเปนลายลักษณอักษรอยางชัดแจงเปนที่รับรูของสังคมไทยตอเนื่องกันมา เปนเวลานานตั้งแตการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ การบัญญัติคุมครองสิทธิในเรื่องดังกลาวเนื่องมาจากในชวงกอนการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ปรากฏผลกระทบหลาย ๆ ดาน จากการพัฒนาประเทศ ดังคําปรารภเมื่อประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๓๙) ในป ๒๕๓๕ วา การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยที่ผานมา ดานเศรษฐกิจมีการขยายตัวในระดับสูงและเปดกวางเขาสูระบบเศรษฐกิจนานาชาติมากข้ึน ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๔) เศรษฐกิจของประเทศไทยไดฟนตัวและขยายตัวอยางตอเนื่องในอัตราเฉลี่ยรอยละ ๑๐.๕ ตอป ซึ่งสูงกวาเปาหมายที่ตั้งไวในถึงหนึ่งเทาตัว และเปนอัตราการขยายตัวเฉล่ียสูงสุดของการพัฒนาเศรษฐกิจในชวง ๒๕ ปที่ผานมา แตพบวา การขยายตัวนั้นไดกอใหเกิดความไมสมดุลในการพัฒนาที่สําคัญ ๆ หลายดาน เกิดปญหามลพิษในดานตาง ๆ เชน น้ําเนา อากาศเสีย เสียงรบกวน กากของเสียและสารอันตรายซึ่งเพิ่มปริมาณมากขึ้น คุณภาพน้ําในแมน้ําสายหลักและคุณภาพน้ําทะเลชายฝงเสื่อมโทรมและมีคุณภาพต่ํากวามาตรฐานท่ีกําหนดไว ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และปญหาส่ิงแวดลอมเหลานี้สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชนและชุมชน ดังนั้น การพัฒนาประเทศไทย

Page 93: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๓

ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ จําเปนตองใหมีความสมดุลระหวางการพัฒนาในเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเปนธรรมในสังคมควบคูกันไป เพื่อนําไปสูการพัฒนาท่ีมีคุณภาพและย่ังยืน ขอเท็จจริงที่กลาวมาเปนเหตุผลประการหนึ่งที่นําไปสูการบัญญัติรับรองและใหความคุมครองสิทธิในสิ่งแวดลอมและสิทธิในธรรมชาติของปวงชนชาวไทย ไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และบัญญัติตอเนื่องมาในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อยางไรก็ตาม ในบทบัญญัติมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดบัญญัติคุมครอง สิทธิในสิ่งแวดลอมที่ดีและสิทธิในธรรมชาติของปวงชนชาวไทยกวางขวางขึ้นจากบทบัญญัติเดิม โดยสิทธิในธรรมชาติตามมาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง ไดขยายขอบเขตไปถึงการมีสวนรวมในการอนุรักษ สวนมาตรา ๖๗ วรรคสอง ซึ่งเดิมหามดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงเฉพาะตอส่ิงแวดลอมเทานั้นไดขยายไปถึงอาจเกิดผลกระทบรุนแรงตอชุมชน คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ รวมทั้งเพิ่มการประเมินผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนในชุมชนและกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย ในสวนของสภาพบังคับตามมาตรา ๖๗ วรรคสาม ไดขยายสิทธิความเปนผูเสียหายที่จะฟองรองคดีเกี่ยวกับสิทธิในสิ่งแวดลอม ที่ดีและสิทธิในธรรมชาติใหกวางข้ึนจากที่ไดเคยบัญญัติรับรองเพียงสิทธิของบุคคล เปนผูเสียหาย ไดขยายเปนการรับรองสิทธิของชุมชนท่ีจะฟองหนวยราชการหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐที่เปนนิติบุคคล เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามบทบัญญัติมาตรานี้ เนื่องจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗ บัญญัติวา สิทธิและเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญนี้รับรองไวโดยชัดแจง โดยปริยายหรือโดยคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ยอมไดรับความคุ มครองและผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐโดยตรงในการ ตรากฎหมาย การใชบังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง โดยที่ศาลรัฐธรรมนูญ ไดมีคําวินิจฉัยที่ ๓/๒๕๕๒ ซึ่งเกี่ยวกับพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ วา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีเจตนารมณที่ใหสิทธิเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญฉบับที่รับรองไวมีสภาพบังคับไดทันทีตั้งแตวันที่

Page 94: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๔

รัฐธรรมนูญมีผลใชบังคับ คือ วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ ซึ่งมาตรา ๒๑๖ วรรคหา ของรัฐธรรมนูญดังกลาวไดบัญญัติใหคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื่นของรัฐ ดังนั้น หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐจึงตองผูกพันโดยตรงในการตรากฎหมาย การใชบังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมาย เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณและบทบัญญัติของมาตรา ๖๗ ที่กลาวมาขางตน โดยหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะจะออกใบอนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ไมได เวนแตจะไดปฏิบัติตามหลักเกณฑของบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ครบถวนแลว คือ ศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน จัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนไดเสีย และการใหองค การอิสระ ซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชน ดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ และผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพใหความเห็นประกอบ ประเด็นนี้ผูถูกฟองคดีทั้งแปดกลาวอางวา ในขณะที่ผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะออกใบอนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมบางสวนตามเอกสาร ทายคําฟองนั้น ยังไมมีการกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิด ผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ การจัดทํากฎหมายกําหนดรายละเอียดในการศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน กระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียสําหรับโครงการหรือกิจกรรมดังกลาว และการใหความเห็นชอบขององคการอิสระสําหรับโครงการหรือกิจกรรมตามประกาศของผูถูกฟองคดีที่ ๓ คือ ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม หรือประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการ ซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทาง

Page 95: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๕

การจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม เปนเพียงโครงการหรือกิจการ ที่อาจสงผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมทั่ว ๆ ไป ไมใชโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เพราะโครงการหรือกิจกรรมใดที่สงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เปนเรื่องขอเท็จจริงที่จะตองพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป ไมใชจะพิจารณาวาโครงการหรือกิจกรรมท้ังหมดตามประกาศของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ดังกลาว จะตองเปนโครงการหรือกิจกรรมที่สงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง เพราะการเกิดผลกระทบอยางรุนแรงอาจเกิดจากการท่ีฝายปกครองไมไดควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามคําส่ังทางปกครองในการอนุมัติ หรืออนุญาต หรืออาจ เกิดจากการออกกฎของฝายปกครอง จึงเปนอํานาจของศาลปกครองในการแกไขเยียวยาผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงดังกลาว และการออกใบอนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมสวนหนึ่งตามเอกสารทายคําฟองนั้น เปนการปฏิบัติราชการตามหลักท่ัวไปซึ่งมีวัตถุประสงคไมใหการบริหารราชการแผนดินหรือการประกอบอาชีพของประชาชนตองสะดุดหยุดลง ในระหวางที่ยังไมมีกฎหมายกําหนดรายละเอียดในเรื่องดังกลาว และในกรณีนี้ไดพิจารณาออกใบอนุญาตโดยปฏิบัติตามแนวความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาท่ีวา ในระหวางที่คณะรัฐมนตรียังไมปรับปรุงหรือจัดทํากฎหมายกําหนดรายละเอียดในเรื่องดังกลาว หนวยงานของรัฐอาจพิจารณาออกใบอนุญาตใหแกโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพได โดยปฏิบัติตามแนวทางที่กฎหมายซึ่งบังคับใชอยูในขณะนั้นกําหนด

พิเคราะหเห็นวา บทบัญญัติของมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีเจตนารมณเพื่อใหมีการกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจกรรมที่อาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงไดเพิ่มมาตรการตรวจและศึกษาพิจารณาอยางรอบคอบท้ังดานส่ิงแวดลอม สุขภาพและการมีสวนรวมของภาคประชาชนตลอดจนผูที่เกี่ยวของในกรณีดังกลาว ถือเปนมาตรการปองกันเพื่อมิใหเกิดปญหาส่ิงแวดลอมข้ึนในอนาคต เพื่อแตละโครงการหรือกิจกรรม

Page 96: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๖

ดังกลาวจะไดดําเนินการตามหลักเกณฑที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว ไมมีเจตนารมณใหออกใบอนุญาตแกโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจสงผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงกอนเปนรายโครงการแลวใชหลักการควบคุมหรือหลักการเยียวยาหากเกิดความเสียหายขึ้นในภายหลัง เนื่องจากหลักการควบคุมหรือหลักการเยียวยาไมใชเจตนารมณของบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง และไมใชหลักประกันที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการคุมครองสิทธิการดํารงชีพ อยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพหรือคุณภาพชีวิตของประชาชน เพราะตองข้ึนอยูกับปจจัยที่เปนเงื่อนไขภายหลังหลายประการ และบทบัญญัติมาตรา ๖๗ ไดรับการกําหนดไวในหมวด ๓ วาดวยสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จึงเปนสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยที่สําคัญประการหนึ่ง ซึ่งตามหลักสภาพบังคับของรัฐธรรมนูญทําใหบทบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับทันทีตามท่ีไดวินิจฉัยแลวขางตน และขอเท็จจริงรับฟงไดวา หนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของ ไดจัดทํารางกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง มาตั้งแตเมื่อมีการประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แตไมได ขอยุติรวมกัน คณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติราชการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ตามคําส่ังสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๕๐/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ จึงไดนําเรื่องดังกลาวมาดําเนินการตอและนําเสนอนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ตามท่ีไดกลาวมาแลว ซึ่งแสดงใหเห็นวาเมื่อมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีผลใชบังคับแลว ทุกฝายมีความเห็นตรงกันวาจะตองดําเนินการกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพขึ้นมากอน และในทางวิชาการสามารถกระทําได พิเคราะหเห็นวา ตามหลักการปฏิบัติราชการเพื่อรักษาประโยชนสวนรวม หมายความวา หนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐซึ่งทําการแทนรัฐตองปฏิบัติราชการเพื่อรักษาประโยชนสวนรวมซึ่งหลักการนี้เปนหลักการพื้นฐานที่สําคัญของกฎหมายมหาชนในการใชกฎหมายและการตีความกฎหมายเพื่อปฏิบัติราชการ

Page 97: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๗

ทางปกครอง ซึ่งในกรณีไมมีกฎหมายกําหนดรายละเอียดเรื่องใดไวในขณะปฏิบัติราชการ จะตองใชดุลพินิจนํากฎหมายที่ใกลเคียงมาใชในการปฏิบัติราชการ เพื่อไมใหเกิดชองวางในการใชบังคับกฎหมายเพื่อรักษาประโยชนสวนรวม ขอเท็จจริงรับฟงไดวา ภายหลัง การประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อยูระหวางที่ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๓๕ และลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๓๙ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๖ ของพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งประกาศใชบังคับโดยผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีผลใชบังคับอยู ตอมาไดมีการประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒ ออกมาใชบังคับแทน ตามเนื้อหาของประกาศที่กลาวมาถือไดวา ในขณะนั้นเปนกฎหมายที่มีเนื้อหาใกลเคียงที่จะนํามาใชในการปฏิบัติราชการใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในขณะที่ยังไมมีรายละเอียดกําหนดในเรื่องดังกลาวได ซึ่งในกรณีนี้ผูถูกฟองคดีที่ ๔ เคยออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําหนดโรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยใชประกาศของ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ที่กลาวมาเปนแนวทางในการปฏิบัติราชการเพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จะเห็นไดวา การปฏิบัติราชการตามที่กลาวมาเปนการปฏิบัติราชการเพื่อใหบรรลุตามเจตนารมณของบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเปนการใชดุลพินิจปฏิบัติราชการในขณะที่ยังไมมีการกําหนดประเภท โครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติราชการใหเปนไปตามเจตนารมณมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

Page 98: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๘

พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเปนการปฏิบัติราชการเพื่อรักษาประโยชนสวนรวม ในกรณีนี้ หากไมนําประกาศตามที่กลาวมาไปใชในการปฏิบัติราชการเพื่อบังคับใชกฎหมาย ใหเกิดผลตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญโดยอางวาไมมีกฎหมายที่จะนํามาใชบังคับ ยอมทําใหเกิดชองวางของการบังคับใชกฎหมายเพื่อคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และยอมเล็งเห็นไดวาจะทําใหเกิดความเสียหายตอประชาชนและประโยชนสวนรวมอยางกวางขวาง เนื่องจากโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ มีส่ิงที่จะตองพิจารณาถึงผลกระทบในหลาย ๆ ดาน ไมใชพิจารณาเฉพาะจากองคประกอบของโครงการหรือกิจกรรมน้ัน ๆ แตเพียงอยางเดียว โดยจะเห็นไดจากกรณีการกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของ สวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม มีหลักเกณฑเกี่ยวกับที่ตั้งของโครงการหรือกิจกรรมประกอบดวย เชน โรงพยาบาลที่มีขนาด ๑๐๐ เตียง ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม อยางไรก็ตาม โรงพยาบาลขนาด ๓๐ เตียง หากตั้ งอยู ใกลกับแหลงน้ํ าสาธารณะ ก็ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมดวยเชนกัน ซึ่งในแนวทางเดียวกันโครงการหรือกิจกรรมท่ีตั้งในบางพื้นที่อาจไมถือวาเปนโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ แตหากโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวตั้งอยูในบางพื้นที่ เชน พื้นที่รับน้ําของ อางเก็บน้ําซึ่งเปนแหลงทรัพยากรนํ้าที่มีความสําคัญตอชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เชน ในภาคตะวันออกซึ่งอางเก็บน้ําเปนแหลงน้ําสําคัญที่อาศัยน้ําตนทุนจากน้ําฝนท่ีไหล มาจากพื้นที่รับน้ําตามธรรมชาติ ดังนั้น โครงการหรือกิจกรรมดังกลาวที่ตั้งอยูในพื้นที่รับน้ําของอางเก็บน้ําอาจจะถูกกําหนดใหเปนโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพก็ได เห็นวา การกลาวอางไมมีกฎหมายท่ีจะนํามาใชในการปฏิบัติราชการนั้นเปนขอกลาวอาง ที่ยกข้ึนมาเพื่อตอสูคดีในภายหลัง เพราะกอนหนานี้ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดนําประกาศของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ที่กลาวมาเปนแนวทางการปฏิบัติราชการตามกฎหมายวาดวยโรงงาน มากอน กรณีที่กลาวมาผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะจึงสามารถใชเปน

Page 99: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๙๙

แนวทางกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อปฏิบัติราชการตามอํานาจหนาที่ของตนเองได ดังนั้น เมื่อบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีผลใชบังคับ การออกใบอนุญาตใหกับโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ถูกกําหนดใหเปนโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตองอยูภายใตบังคับของบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง เมื่อผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะจะออกใบอนุญาตใหแกโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะตองมีการดําเนินการใหครบถวนตามหลักเกณฑที่บัญญัติไว คือ ศึกษาและประเมินผลกระทบตอ คุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน จัดใหมีกระบวนการรับฟง ความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย และการใหองคการอิสระซึ่งประกอบดวย ผูแทนองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ และผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาดานส่ิงแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติ หรือดานสุขภาพใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการโครงการหรือกิจกรรมดังกลาว จึงจะเปนการออกใบอนุญาต ที่ชอบดวยกฎหมาย เมื่อผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะไดออกใบอนุญาตใหแกโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพ ส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โดยยังดําเนินการไมครบถวนตามหลักเกณฑของบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง เปนการปฏิบัติราชการท่ีขัดตอกฎหมายและ ไมเปนไปเพื่อรักษาประโยชนสวนรวม จึงเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย

สําหรับขอที่ผูถูกฟองคดีทั้งแปดอางวา ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ ซึ่งตามบัญชีทายประกาศ เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพดังกลาวไดกําหนดกิจกรรม

Page 100: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๐

หรือโครงการ ไวเพียง ๘ ประเภท เทานั้น โครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองจึงไมใชโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ตามที่ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ ไดกําหนดไว พิเคราะหเห็นวา ภายหลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๓ ออกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม อาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดใชประกาศของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ดังกลาวออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําหนดโรงงานท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เปนแนวทางในการปฏิบัติราชการใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งถือเปนการปฏิบัติราชการเพื่อรักษาประโยชนสวนรวมตามที่ไดวินิจฉัยแลว อยางไรก็ตาม ในวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โรงงานที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยไมมีการออกกฎหรือระเบียบเพื่อรองรับการปฏิบัติราชการใหเปนไปตามเจตนารมณของมาตรา ๖๗ วรรคสอง ทั้งที่ในขณะนั้นประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม อาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ยังมีผลใชบังคับอยู จึงทําใหเกิดชองวางของกฎหมายสําหรับ การปฏิบัติราชการใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง เพราะหลังจากนั้นเปนเวลาถึง ๒ เดือน ผูถูกฟองคดีที่ ๔ จึงไดออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือ

Page 101: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๑

กิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ โดยดําเนินการออกประกาศภายหลังที่มีการฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๒ ซึ่งมีคําขอทายคําฟองขอใหศาลมีคําส่ังระงับโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสาร ทายคําฟองไวกอนการพิพากษา และออกประกาศดังกลาวในระยะเวลาไมนานกอนที่ ศาลปกครองกลางจะมีคําส่ังกําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเปนการชั่วคราวกอนการพิพากษาเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ ใหระงับโครงการหรือกิจกรรมทายคําฟองไวกอนการพิพากษาคดี รวมทั้งปรากฏขอเท็จจริงตามหนังสือของผูถูกฟองคดี ทั้งแปด ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ ชี้แจงศาลปกครองกลางวา ผูถูกฟองคดีที่ ๔ มอบหมายใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมและผูถูกฟองคดีที่ ๘ ตรวจสอบโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟอง จํานวน ๗๖ โครงการ วา โครงการใดบางเปนโครงการรุนแรงตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ จากการตรวจสอบไมมีโครงการหรือกิจกรรมใดตามเอกสารทายคําฟองจัดเปนโครงการหรือกิจกรรมรุนแรงตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเก่ียวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ ดังนั้น เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับรางการกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งจัดทําโดยคณะกรรมการแกไขปญหาการปฏิบัติราชการตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือคณะกรรมการ ๔ ฝาย ที่ประกอบดวย ผูแทนของภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคเอกชน และผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งนําเสนอนายกรัฐมนตรีพิจารณาเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยรางดังกลาวไดมาจากกระบวนการทํางาน ดังนี้ (๑) พิจารณาเกณฑในการกําหนดประเภทและขนาดโครงการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง (๒) อนุกรรมการฯศึกษารวบรวมขอมูลทางเทคนิค ที่ เกี่ยวของ (๓) คณะอนุกรรมการฯ กล่ันกรองขอมูลและสงใหนักวิชาการและผูทรงคุณวุฒิ (๔) จัดประชุมรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนและรับฟงความคิดเห็น ทางเทคนิครวม ๖ ครั้ง (๕) เชิญผูมีสวนเกี่ยวของใหความเห็นทางวิชาการเพิ่มเติม และ

Page 102: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๒

(๖) จัดทํารางรายการโครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ มีการประชุมคณะอนุกรรมการ จํานวน ๒๖ ครั้ง และจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นประชาชนและรับฟงความคิดเห็นทางเทคนิคท้ังในกรุงเทพมหานครและทุกภาคของประเทศ จํานวน ๖ ครั้ง ในรางดังกลาวไดเสนอแนะไวขอหนึ่งวา โครงการหรือกิจกรรม ที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ลําดับที่ ๑ คือ โครงการหรือกิจการที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมตามประกาศกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒ และอยูในพื้นที่หรืออาจสงผลกระทบตอพื้นที่ตอไปนี้ แหลงมรดกโลกที่ข้ึนบัญชีตามอนุสัญญาระหวางประเทศ อุทยานประวัติศาสตร แหลงโบราณสถาน โบราณคดี แหลงประวัติศาสตร ตามกฎหมาย พื้นที่ปาอนุรักษ (อุทยานแหงชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธสัตวปา เขตหามลาพันธุสัตวปา สวนพฤกษศาสตร สวนรุกขชาติ) พื้นที่ปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี พื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ และพื้นที่ลุมน้ําชั้นหนึ่ง ขอเท็จจริงที่กลาวมาจะเห็นไดวา ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับ การอุตสาหกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ เปนกรณีที่ไมมีความสมเหตุสมผลที่จะนํามาใชเปนแนวทางกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพราะไมอาจทําใหเกิดการปฏิบัติราชการเพื่อรักษาประโยชนสวนรวมใหลุลวงตามเจตนารมณของมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตอไปวา การออกใบอนุญาตใหแกโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ โดยไมชอบดวยกฎหมายเพราะดําเนินการไมครบถวน

Page 103: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๓

ตามหลักเกณฑในบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในคดีนี้ มีผลอยางไรหรือไม เพียงใด

พิเคราะหเห็นวา แมวาการออกใบอนุญาตของผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจ ตามกฎหมายเฉพาะจะเปนคําส่ังทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายเนื่องมาจากดําเนินการไมครบถวนตามหลักเกณฑของบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ก็ตาม แตขอเท็จจริงรับฟงไดวา การออกคําส่ังทางปกครองโดยฝาฝนกฎหมายดังกลาวเกิดจากการใชดุลพินิจปฏิบัติราชการ บนพื้นฐานของขอเท็จจริง ดังนี้ ประการที่หนึ่ง ในขณะที่ ผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจ ตามกฎหมายเฉพาะออกใบอนุญาตใหโครงการหรือกิจกรรมบางสวนตามเอกสารทายคําฟองภายหลังมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีผลใชบังคับนั้น ยังไมมีการกําหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิด ผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ การจัดทํากฎหมายกําหนดรายละเอียดในการศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน กระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียสําหรับโครงการหรือกิจกรรมดังกลาว และการใหความเห็นชอบขององคการอิสระ ประการที่สอง เมื่อผูถูกฟองคดีทั้งแปดซึ่งเปนหนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐจะตองใชดุลพินิจในการปฏิบัติราชการอยางหนึ่งอยางใดในเรื่องดังกลาว ไดเลือกใชดุลพินิจปฏิบัติราชการตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งมีมติของคณะรัฐมนตรีกําหนดใหหนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐถือปฏิบัติ และประการที่สาม ในขณะที่ออกใบอนุญาตไมปรากฏขอเท็จจริงวา รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ไดรับความเห็นชอบจาก ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมชอบดวยกฎหมายแตอยางใด ดังนั้น แมวาผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะจะไดออกใบอนุญาตโดยไมชอบดวยกฎหมายตามที่ไดวินิจฉัยมาแลวก็ตาม แตการใชดุลพินิจที่กลาวมายังถือไมไดวาเปนการใชดุลพินิจโดยบิดเบือนหรือฝาฝนกฎหมายอยางรุนแรง เนื่องจากเปนการปฏิบัติราชการตามแนวทางขอหารือไปยังคณะกรรมการกฤษฎีกาซึ่งมีมติของคณะรัฐมนตรีกําหนดใหปฏิบัติตาม จึงทําใหใชดุลพินิจออกใบอนุญาตใหแกโครงการหรือกิจกรรมที่ยังปฏิบัติไมครบถวนตามหลักเกณฑที่

Page 104: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๔

กฎหมายกําหนดไว ซึ่งถือเปนคําส่ังทางปกครองที่มีขอบกพรองกรณีสามารถแกไข ใหถูกตองได โดยการปฏิบัติใหครบถวนตามหลักเกณฑที่บัญญัติไวในมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

อยางไรก็ตาม เมื่อพิเคราะหหลักคุมครองความเชื่อถือไววางใจของประชาชนตอรัฐภายใตระบบนิติรัฐแลว เห็นวา ภายใตหลักดังกลาวผูอยูภายใตอํานาจรัฐจะตองเกิดความเชื่อมั่นในความมั่นคงของคําส่ังทางปกครองที่ออกโดยหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐซึ่งทําการแทนรัฐ และรัฐจะตองคุมครองความเชื่อมั่นดังกลาวเพื่อเปนหลักประกันใหประชาชนมีความเชื่อมั่นในความมั่นคงของคําส่ังทางปกครอง เพื่อให การดําเนินภารกิจพื้นฐานของรัฐเปนไปดวยความเรียบรอย ในคดีนี้เห็นวา การท่ีเจาของโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองซึ่งเปนผูไดรับใบอนุญาตจากผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะไดใชประโยชนจากใบอนุญาตดังกลาวดําเนินการที่เกี่ยวของกับกิจการของตนเองในหลายกรณี เชน การขอกูเงินลงทุน การทําสัญญากอสราง การวาจางแรงงาน การกอสรางโครงการ และการรวมลงทุนกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปนตน ซึ่งการดําเนินการในกรณีที่กลาวมาเกี่ยวของกับประโยชนที่ไดรับจากใบอนุญาตดังกลาวทั้งส้ิน ทั้งนี้ เนื่องจากมีความเชื่อโดยสุจริตในความถูกตองของใบอนุญาตดังกลาว ในกรณีนี้แมวาคําส่ังทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายอาจจะถูกเพิกถอน ตามหลักกฎหมายปกครอง และตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติวา ในการพิพากษาคดีศาลปกครองมีอํานาจกําหนดคําบังคับอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้ (๑) ส่ังใหเพิกถอนกฎหรือคําส่ังหรือส่ังหามการกระทําทั้งหมดหรือบางสวน ในกรณีที่มีการฟองวาหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมาย ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) พิเคราะหเห็นวา ในกรณีนี้เจาของโครงการหรือกิจกรรมและบุคคลภายนอกที่กระทําการโดยสุจริต สมควรตองไดรับการคุมครองตามหลักคุมครองความเชื่อถือไววางใจของประชาชนตอรัฐตามที่กลาวมาขางตน และในกรณีนี้เห็นวา หากศาลมีคําส่ังเพิกถอนใบอนุญาตดังกลาวยอนหลังไปนับตั้งแตวันที่ผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะออกใบอนุญาตยอมไมสมเหตุสมผล เนื่องจากจะเกิดความเสียหายและสงผลกระทบตอประโยชนของเจาของโครงการหรือกิจกรรมและบุคคลภายนอกที่มีความเกี่ยวของ

Page 105: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๕

สัมพันธกันในดานการเงิน การพาณิชยกรรม การอุตสาหกรรม และการลงทุนของ ประเทศอยางกวางขวาง ดังนั้น สมควรมีคําส่ังเพิกถอนใบอนุญาตท่ีผูถูกฟองคดีทั้งแปด ที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะซึ่งไดออกภายหลังการใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ใหแกโครงการหรือกจิกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ถูกกําหนดใหเปนโครงการหรือกิจกรรม ที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากร ธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งไมไดดําเนินการตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เมื่อแตละโครงการหรือกิจกรรมไดดําเนินการตามหลักเกณฑที่มาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กําหนดไวครบถวน และไดรับใบอนุญาตหรือ ไมไดรับใบอนุญาตฉบับใหมจากผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจตามกฎหมายเฉพาะ ทั้งนี้ ตามบทบัญญัติมาตรา ๗๒ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่บัญญัติวา ในการมีคําบังคับตามวรรคหนึ่ง (๑) ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดวาจะใหมีผลยอนหลังหรือไมยอนหลัง หรือมีผลไป ในอนาคตถึงขณะใดขณะหนึ่งได หรือจะกําหนดใหมีเงื่อนไขอยางใดก็ได ทั้งนี้ ตามความเปนธรรมแหงกรณี ดังนี้ ในระหวางที่โครงการหรือกิจกรรมซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาต ยังดําเนินการไมครบถวนตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ใหระงับโครงการหรือกิจกรรมไวเปนการชั่วคราว

สําหรับรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ไดรับความเห็นชอบจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลวนั้น จัดทําข้ึนตามสาระสําคัญที่กําหนดไวในประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๓๙ และลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๔๓ ซึ่งไมปรากฏขอเท็จจริงในสํานวนคดีวา รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ไดรับความเห็นชอบจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลวนั้น ไมชอบดวยกฎหมาย และในระหวางการพิจารณาคดีผูฟองคดีทั้งส่ีสิบสามไมไดแสดง

Page 106: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๖

พยานเอกสารหรือหลักฐานเพื่อแสดงวารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ไดรับความเห็นชอบจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลวนั้น ฉบับใดไมชอบดวยกฎหมายเพราะเหตุใด แตกลาวอางมาโดยรวมในคําฟองเทานั้น อยางไรก็ตาม รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมที่กลาวมาขางตน แมจะมีสาระสําคัญแตกตางจากประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ บางประการ แตก็อยูใน วิสัยที่จะจัดทําเพิ่มเติมในสาระสําคัญที่แตกตางกันได ดังนั้น เมื่อมีการกําหนดประเภทโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แลว หากโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ไดรับใบอนุญาตจากผูถูกฟองคดีที่มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายเฉพาะ ถูกกําหนดเปนโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ใหดําเนินการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมเพิ่มเติมเฉพาะสาระสําคัญที่แตกตางกัน โดยไมตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมข้ึนใหมทั้งฉบับ มีประเด็นที่จะตองวินิจฉัยตอไปวา สมควรระงับโครงการหรือกิจกรรม ตามเอกสารทายคําฟองที่ถูกกําหนดใหเปนประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งไดรับใบอนุญาตโดยยังดําเนินการไมครบถวนตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หรือไม เพียงใด พิเคราะหเห็นวา ปญหาความเสียหายตอชุมชน คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องยังคงมีอยูและ ยังไมไดรับการแกไขใหดีข้ึนซึ่งขอเท็จจริงในเรื่องดังกลาวเปนที่ประจักษและยอมรับกัน

Page 107: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๗

ในสังคมไทย หากใหโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่ถูกกําหนดใหเปนประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งไดรับใบอนุญาตโดยยังดําเนินการไมครบถวนตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ดําเนินการตอไปยอมจะทําใหเกิดความเสียหายตอชุมชน คุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่อง ประกอบกับในเวลาที่ผานมามีปญหาหนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐซึ่งดําเนินโครงการหรือกิจกรรมในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องไมปฏิบัติใหเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย ซึ่งนายกรัฐมนตรีตองส่ังการใหหยุดดําเนินโครงการถมทะเลตามโครงการกอสรางทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ และระยะท่ี ๓ จนกวาจะไดมีการอนุญาตใหทําส่ิงลวงลํ้าลําน้ําถูกตองตามกฎหมายวาดวยการเดินเรือในนานน้ําไทย กฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และใหกรมเจาทากับผูถูกฟองคดีที่ ๘ รวมกันรับผิดชอบเยียวยาความเสียหายที่เกิดข้ึนตอประชาชน และแกไขปญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งในขณะนั้นและในอนาคตอันเกิดจากการถมทะเลที่กระทําไปกอนไดรับอนุญาตดวย ดังนั้น สาเหตุสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดความเสียหายอยางรุนแรงตอชุมชน สภาพแวดลอมและทรัพยากรชายฝงบริเวณพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องติดตอกันมาเปนเวลานานกวา ๑๐ ป จึงมาจากการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมโดยไมปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวของ เปนการดําเนินโครงการเพื่อขยายการเติบโตทางดานเศรษฐกิจโดยไมไดคํานึงถึงตนทุนและการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม นอกจากนี้ ในการวางผังเมืองรวมบริเวณพื้นที่ มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องมีการขยายพื้นที่อุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้นมาตามลําดับ และการกําหนดพื้นที่อุตสาหกรรมขึ้นใหมมีลักษณะเปนการกําหนดเขตอุตสาหกรรมเขาไปใกลชุมชนหรือครอบลงบนพื้นที่ชุมชนซึ่งเปนที่อยูอาศัยของประชาชนที่มีการตั้งถิ่นฐานอยูแตเดิม ทําใหบานเรือนของประชาชนตกอยูในวงลอมของพื้นที่อุตสาหกรรม เชน กําหนดพื้นที่อุตสาหกรรมครอบลงบนพื้นที่ชุมชนเมืองใหมมาบตาพุดซึ่งเปนพื้นที่ เพื่อการอยูอาศัยอยูกอนทําใหประชาชนไดรับความเดือดรอนและมีการรองเรียนตลอดมา รวมทั้งกรณีการแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินในบริเวณหมายเลข ๔.๕ ซึ่งเปน

Page 108: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๘

พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่ผูถูกฟองคดีที่ ๘ ดําเนินการรวมกับนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย โดยมีการยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินของผังเมืองรวม ขอ (๘.๒) ของขอ ๑๐ (๘) ของกฎกระทรวง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งหามประกอบกิจการอุตสาหกรรม ปโตรเคมีเพื่อใหสามารถประกอบกิจการอุตสาหกรรมปโตรเคมีไดในพื้นที่ดังกลาว การยกเลิกขอกําหนดดังกลาวไมเปนไปตามขอตกลงที่หนวยงานของรัฐ เจาหนาที่ของรัฐและผูประกอบการไดตกลงไวกับประชาชนบานฉาง ซึ่งถือเปนสัญญาประชาคมที่ได ทําข้ึนรวมกันตอหนาสาธารณะตามกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนระหวางข้ันตอนการวางและจัดทําผังเมืองรวมตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และการแกไขขอกําหนดดังกลาวดําเนินการภายหลังประกาศใชบังคับกฎกระทรวงผังเมืองรวมดังกลาวไดเพียงหนึ่งปเทานั้น และกรณีคณะกรรมการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกและคณะรัฐมนตรีมีมติใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินบริเวณชุมชนเมืองใหมมาบตาพุด จากประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ซึ่งบริเวณชุมชนเมืองใหมมาบตาพุดไดดําเนินการวางผังเมืองเฉพาะเพื่อเปนที่อยูอาศัยตามขั้นตอนกฎหมายและผานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ตลอดจนดําเนินการเวนคืนอสังหาริมทรัพยตามพระราชบัญญัติวาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐ เรียบรอยแลว แสดงใหเห็นวาโครงการในพื้นที่มาบตาพุดแมจะเปนโครงการ ในระดับชาติ ซึ่งดําเนินตามกระบวนการของกฎหมายเรียบรอยแลว สามารถเปล่ียนแปลงเพื่อประโยชนของภาคอุตสาหกรรมตามนโยบายของรัฐบาลที่เปล่ียนกันเขามาบริหารประเทศโดยไมใหความสําคัญกับสัญญาประชาคมที่ไดทําไวกับประชาชนในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่อง ในเวลาที่ผานมาหนวยงานของรัฐ เจาหนาที่ของรัฐและผูประกอบการไดรวมกันกําหนดการใชประโยชนที่ ดินในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องผานกระบวนการวางผังเมืองรวมเพื่อขยายพื้นที่อุตสาหกรรมหรือโครงการหรือกิจกรรมดานอุตสาหกรรมโดยขาดธรรมาภิบาล และดําเนินโครงการตาง ๆ โดยไมตระหนักถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษยของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งรองขอใหภาครัฐและเอกชนดําเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยใหความเคารพตอสิทธิในชีวิตและสิทธิในธรรมชาติเพื่อการดํารงชีวิตอยูอยางปกติสุขของประชาชนที่มีการตั้งถิ่นฐานมาแตด้ังเดิม

Page 109: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๐๙

สําหรับขอกลาวอางของผูถูกฟองคดีทั้งแปดและเจาของโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองกลาวอางมาโดยตลอดวา การหยุดโครงการหรือการชะลอโครงการจะกอใหเกิดความเสียหายอยางรุนแรงและมีผลกระทบเปนวงกวาง และสงผลกระทบรุนแรงตอผูประกอบการอุตสาหกรรม รวมท้ังสงผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ระบบสถาบันการเงิน และความเชื่อมั่นของนักลงทุนตางประเทศ และอางวาการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุดโครงการหรือกิจการ ตั้งใหมหรือขยายกําลังการผลิตจะปลอยมลพิษออกสูบรรยากาศไดไมเกินรอยละ ๘๐ นําไปใชประโยชนรอยละ ๒๐ ซึ่งผลก็คือโรงงานย่ิงมากข้ึนมลพิษในพื้นที่ย่ิงลดลง เรียกวา หลักการ ๘๐ : ๒๐ ซึ่งเปนหลักการที่มีความเขมงวดกวาหลักการ Emission Trading ที่ใชในตางประเทศ พิเคราะหเห็นวา เนื่องจากผูถูกฟองคดีทั้งแปดไดชี้แจงวาโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองคดีนี้เปนโครงการหรือกิจกรรมที่ไมอยูภายใตคําส่ังกําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเปนการชั่วคราวกอนการพิพากษาของ ศาลปกครองท้ังหมด โดยเปนโครงการหรือกิจกรรมที่ไดรับใบอนุญาตกอนวันประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โครงการหรือกิจกรรมที่ไมไดกําหนดใหเปนประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และโครงการหรือกิจกรรมที่ไดรับยกเวนตามคําส่ังศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๙๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๒ ดังนั้น จึงมีโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารทายคําฟองที่อยูภายใตคําส่ังกําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเปนการชั่วคราวกอนการพิพากษาคดีของศาลปกครองจํานวนหนึ่งเทานั้น ไมใชทั้ง ๗๖ โครงการ และศาลปกครอง มีคําส่ังใหผูถูกฟองคดีทั้งแปดอนุญาตใหผูรองซึ่งเปนเจาของโครงการหรือกิจกรรมดําเนินการกอสรางโครงการสวนที่คางอยูตอไปจนแลวเสร็จ ติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ ทดลองระบบที่เกี่ยวของและทดลองการเดินเครื่องจักรและอุปกรณ ภายใตการตรวจสอบของผูถูกฟองคดีทั้งแปดที่มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายเฉพาะ ตามขอเท็จจริงที่กลาวมา ความเสียหายจึงไมไดเกิดข้ึนหรือเปนไปตามที่ไดมีการกลาวอาง ความเสียหายตามท่ีกลาวอางมาเปนความเสียหายที่กลาวอางเกินความเปนจริง สําหรับหลักการ ๘๐ : ๒๐ เปนเรื่องที่คิด

Page 110: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑๐

รวมกันระหวางหนวยงานของรัฐ เจาหนาที่ของรัฐและผูประกอบการที่ เกี่ยวของ โดยประชาชนในพื้นที่ซึ่งไดรับผลกระทบจากโครงการหรือกิจกรรมตาง ๆ ไมไดมีสวนรวมในการพิจารณาเรื่องดังกลาว ในปจจุบันยังไมมีขอสรุปวาพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องมีขีดความสามารถของพื้นที่ในการรองรับการตั้งถิ่นฐานมนุษยและกิจกรรมตอเนื่องอื่น ๆ ที่จะเขามาในพื้นที่ไดอีกมากนอยเพียงใด ซึ่งไมใชขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่สําหรับโครงการหรือกิจกรรมดานอุตสาหกรรมหรือเรื่องของอากาศเทานั้น เมื่อยังไมมีขอสรุปเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว หลักการ ๘๐ : ๒๐ จึงเปนวิธีการ ที่เหมาะสมสําหรับนํามาใชเพื่อลดมลพิษทางอากาศที่เปนอยูใหนอยลง ไมใชกรณีที่เหมาะสมสําหรับการนํามาลดมลพิษทางอากาศเพื่อจะเพิ่มโครงการหรือกิจกรรม ดานอุตสาหกรรมเขาไปในพื้นที่ใหมากข้ึน เนื่องจากปญหาดานสิ่งแวดลอมในพื้นที่ มาบตาพุดมีมาอยางตอเนื่องและมีความหลากหลาย เปนความเสียหายตอทรัพยากรชายฝงทะเล คุณภาพของน้ําผิวดินและใตดิน การสูญเสียฐานทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญหลายแหลงที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชน การสูญเสียภูมิประเทศที่งดงามและ มีคุณคาในทางธรรมชาติ ความเสียหายที่ไมอาจประเมินไดจากการปรับสภาพพื้นที่และเพิกถอนลํารางสาธารณะประโยชนจํานวนมากเพื่อสนับสนุนกิจการดานอุตสาหกรรมขนาดใหญ รวมทั้งปญหาเก่ียวกับสุขภาพของประชาชน ซึ่งเกิดจากการพัฒนาโครงการหรือกิจกรรมดานอุตสาหกรรมและกิจกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกันโดยไมไดคํานึงถึงตนทุนและ การจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และไมใหความสําคัญหรือตระหนักถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษยของประชาชนในพื้นที่ซึ่งไดรองขอตลอดมาตอผูที่เกี่ยวของกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องใหเคารพตอสิทธิในชีวิตและสิทธิในธรรมชาติของประชาชน การท่ีองคกรภาคเอกชนที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุดไมเคยกลาวถึงความเสียหายและผลกระทบตอเนื่องอยางรายแรงดานอื่น ๆ ที่เกิดข้ึนจากการประกอบกิจการอุตสาหกรรมในพื้นที่ มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่อง แสดงถึงการขาดความรับผิดชอบตอผลของการประกอบกิจการของภาคอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดความเสียหายตอชุมชน คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพของประชาชนในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่อง ในเวลาที่ผานมา พฤติการณดังกลาวไมสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานของรัฐวาดวย

Page 111: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑๑

แนวนโยบายดานเศรษฐกิจ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๘๔ (๒) ที่บัญญัติใหมีการใชหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล ควบคูกับการประกอบกิจการ ทั้งนี้ เพื่อใหผูประกอบการมีความรับผิดชอบตอสังคม โดยยอมรับทั้งผลดีและไมดีในกิจการที่ไดกระทําลงไปหรือที่อยูในความดูแล เพื่อรับภาระหรือเปนธุระดําเนินการปองกันและปรับปรุงแกไขผลที่ไมดีดวย ไมใชสรางสรรคและบํารุงรักษาผลที่ดีแตเพียงดานเดียวและผลักภาระใหสังคมเปนผูแกไขผลที่ไมดีนั้น

พิเคราะหแลวเห็นวา ในขณะท่ีฝายรัฐสภาและฝายบริหารยังไมดําเนินการตราพระราชบัญญัติหรือกฎระเบียบเพื่อการปฏิบัติใหเปนไปตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ใหครบถวน และยังปรากฏ ความเสียหายตอชุมชน คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพของประชาชนในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องยังคงมีอยูและไมไดรับการแกไขใหดีข้ึน และในเวลาที่ผานมาหนวยงานของรัฐ เจาหนาที่ของรัฐและผูประกอบการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องโดยไมปฏิบัติใหเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมายและขาดธรรมาภิบาล จึงไมมีหลักประกันที่จะทําใหเชื่อมั่นไดวาการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุดท่ีจะดําเนินการตอไปจะไมสงผลกระทบตอชีวิต ความเปนอยูของประชาชนเหมือนเชนที่ผานมา และทุกฝายที่เกี่ยวของจะเคารพตอสัญญาประชาคมที่ไดทําไวกับประชาชน จึงจําเปนตองใหโครงการหรือกิจกรรม ตามเอกสารทายคําฟองซึ่งถูกกําหนดเปนประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ซึ่งไดรับใบอนุญาตโดยยังดําเนินการไมครบถวนตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ระงับโครงการหรือกิจกรรมไว ระหวางดําเนินการตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกลาว แมวาการระงับโครงการหรือกิจกรรมจะสงผลกระทบและเกิดความเสียหายขึ้น แตตนเหตุแทจริงที่ทําใหเกิดผลกระทบและความเสียหายไมไดมาจากการท่ีศาลมีคําส่ังระงับโครงการหรือกิจกรรม แตมีตนเหตุ มาจากผูที่เกี่ยวของไมดําเนินการใหเปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายเพื่อประโยชนสุขของประชาชน และจากขอเท็จจริงเปนเรื่องการขาดการติดตามตรวจสอบควบคุม และการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจังของผูถูกฟองคดีที่เกี่ยวของ อีกท้ัง

Page 112: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑๒

หนวยงานของรัฐมิไดดําเนินการใหเปนไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ กรณีจึงเปนความรับผิดชอบโดยตรงของผูถูกฟองคดีที่มิไดดําเนินการตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ภายใตบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ที่บัญญัติวา การปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐ ตองเปนไปตามหลักนิติธรรม ประกอบบทบัญญัติมาตรา ๒๗ ของรัฐธรรมนูญที่ไดกลาวมาขางตน ศาลปกครองจึงตองผูกพันการทําหนาที่เพื่อคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนและรักษาประโยชนสวนรวม โดยหยุดย้ังความเสียหาย ที่เกิดข้ึนตอชุมชน คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพของประชาชน ในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องไมใหความเสียหายเพิ่มมากข้ึนและขยายตัวออกไป เพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมสําหรับคนรุนตอไปในอนาคต ตามหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน เพื่อทําใหเกิดความสมดุลของการพัฒนาในพื้นที่ระหวาง การตั้งถิ่นฐานของมนุษยและการประกอบกิจกรรมท่ีหลากหลายใหสามารถอยูรวมกัน ไดอยางปกติสุข และเพื่อใหการปฏิบัติราชการมีความสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐดานการบริหารราชการแผนดิน การพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศ การดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคํานึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติในภาพรวมเปนสําคัญ โดยใหผูที่เกี่ยวของดําเนินการใหครบถวนตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งจะทําใหการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ตอเนื่องซึ่งเปนแหลงประกอบกิจการอุตสาหกรรมหนักที่ใหญที่สุดของประเทศสามารถเจริญเติบโตตอไปอยางมีเสถียรภาพภายใตบทบัญญัติของกฎหมายตามหลักนิติธรรมและตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจนเปนหลักประกันใหสังคมไทยเกิดความเชื่อมั่นตอการบังคับใชกฎหมายเพื่อดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืนและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และเพื่อใหนักลงทุนในประเทศและตางประเทศที่ประสงค จะประกอบกิจการในประเทศไทยดวยความรับผิดชอบภายใตหลักคุณธรรม หลักจริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล เกิดความเชื่อมั่นตอแนวนโยบายพื้นฐานของรัฐตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

Valued Acer Customer
admincourt
Page 113: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑๓

อยางไรก็ดี เมื่อปรากฏวา คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมประกาศประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อใหการเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ จึงไดออกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ที่สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน จะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๐๔ง ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ โดยประกาศดังกลาวใหมีผลใชบังคับ นับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไปแลว ในสวนของโครงการหรือกิจการตามเอกสารทายคําฟองที่มิไดเปนโครงการหรือกิจกรรมที่ถูกกําหนดใหเปนประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภท ขนาดและวิธีปฏิบัติสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน จะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ แมวาการออกใบอนุญาตในโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวจะไมชอบดวยกฎหมายดังที่กลาวมาขางตน แตการท่ีศาลจะมี คําพิพากษาเพิกถอนใบอนุญาตของโครงการหรือกิจกรรมเหลานั้นยอมไมเปนประโยชนใด ๆ เพราะโครงการหรือกิจกรรมนั้นสามารถดําเนินการตอไปไดโดยไมตองปฏิบัติ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อีกในปจจุบันนี้ ศาลจึงไมตองออกคําบังคับในกรณีนี้

Valued Acer Customer
admincourt
Page 114: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑๔

พิพากษา (๑) เพิกถอนใบอนุญาตท่ีออกใหแกโครงการหรือกิจกรรมตามเอกสาร ทายคําฟองที่ถูกกําหนดใหเปนประเภทโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภท ขนาดและวิธีปฏิบัติสําหรับโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน จะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ ซึ่งดําเนินการไมครบถวนตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยใหมีผลตั้งแตวันที่มีคําพิพากษานี้

(๒) ใหคําส่ังกําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษาของศาลปกครองกลาง ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ ซึ่งแกไขโดยคําส่ังศาลปกครองสูงสุด ที่ ๕๙๒/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๒ เปนอันส้ินสุดลงนับแตวันที่มีคําพิพากษานี้ เวนแตโครงการหรือกิจกรรมตาม (๑) ที่ยังคงใหคําส่ังกําหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษาดังกลาวมีผลบังคับตอไป จนกวาคดีจะถึงที่สุดหรือจนกวาศาลปกครองสูงสุดจะมีคําส่ังเปล่ียนแปลงเปนอยางอื่น

(๓) คําขออื่นใหยก

นายภานุพันธ ชัยรัต ตุลาการเจาของสํานวน ตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองกลาง นายประพจน คลายสุบรรณ ตุลาการศาลปกครองกลาง นางสาวสุมณี ชัยยะศิริสุวรรณ ตุลาการศาลปกครองกลาง

ตุลาการผูแถลงคดี : นายวิจิตต รักถิ่น

มีความเห็นแยง

Valued Acer Customer
admincourt
Page 115: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑๕

ความเห็นแยง คดีหมายเลขดําที่ ๙๐๘/๒๕๕๒

ขาพเจา นายภานุพันธ ชัยรัต ตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองกลาง ตุลาการเสียงขางนอย ไมเห็นพองดวยกับตุลาการเสียงขางมาก จึงทําความเห็นแยงไวดังนี้ ในคดีนี้ตุลาการเสียงขางมากไดกําหนดคําบังคับตามคําพิพากษาโดยใหการเพิกถอนใบอนุญาตท่ีไมชอบดวยกฎหมายมีผลนับตั้งแตศาลมีคําพิพากษาคดีนี้นั้น ตุลาการเสียงขางนอยเห็นวา การกําหนดคําบังคับตามคําพิพากษาใหการเพิกถอนใบอนุญาตที่ไมชอบดวยกฎหมายในคดีนี้มีผลนับตั้งแตศาลมีคําพิพากษาในทันที จะทําใหเกิดผลกระทบอยางกวางขวางตอสถานภาพและการดําเนินการที่เกี่ยวของกับธุรกิจของเจาของโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวรวมทั้งบุคคลภายนอกจํานวนมากที่เกี่ยวของ ทั้งในปจจุบันและในระหวางที่โครงการหรือกิจกรรมนั้นอยูระหวางการดําเนินการ ใหเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประกอบกับคดีนี้การกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมายที่ไมดําเนินการ ใหเปนไปตามขั้นตอนตาง ๆ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เกี่ยวของกับการดําเนินงานของหนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐจํานวนมาก และไดเกิดสภาพความไมแนนอนของการปฏิบัติราชการเพื่อดําเนินการ ตามมาตรการท่ีกําหนดไวตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่เพิ่งประกาศใชบังคับ โดยเจาของโครงการและกิจกรรมตองไดรับผลกระทบจากการกระทําดังกลาว นอกจากนี้ โดยที่เนื้อหาของคดีนี้ไมใชเปนเพียงคดีปกครองดานส่ิงแวดลอมธรรมดาที่มีการฟองคดีจํานวนมากในศาลปกครองเชนลักษณะคดีปกครองโดยท่ัวไป แตเปนคดีที่เกี่ยวของการบริหารราชการแผนดิน การพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ การจะกําหนดคําบังคับในลักษณะใหมีผลนับตั้งแตศาล มีคําพิพากษาในทันทีเหมือนที่ไดกระทํากันมาในคดีปกครองธรรมดา โดยไมพิจารณา ถึงผลกระทบอยางรอบดานจะทําใหไมเกิดความเปนธรรมกับผูที่ไมไดเขามาในคดีนี้ การใชกฎหมายของศาลโดยการนําหลักคุมครองความเชื่อถือไววางใจของประชาชน

Page 116: ต ๑๘ - EnLAW · ๕ ส งเสร ิมและร ักษาค ุณภาพส ิ่งแวดล อมแห งชาต ิพ.ศ. ๒๕๓๕ และ

๑๑๖

ตอรัฐภายใตระบบนิติรัฐ ตองใชประกอบกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ที่บัญญัติวา การปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐ ตองเปนไปตามหลักนิติธรรม ประกอบกับความไมชอบดวยกฎหมายตามท่ีไดวินิจฉัยมาในคดีนี้เปนเพียงการไมไดดําเนินการตามกระบวนการข้ันตอนตามที่รัฐธรรมนูญกําหนดไวซึ่งสามารถแกไขไดโดยดําเนินการใหครบถวน ดังนั้น จึงควรกําหนดคําบังคับใหการเพิกถอนใบอนุญาตมีผลเมื่อไดออกใบอนุญาตหรือไมออกใบอนุญาตฉบับใหมเมื่อโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวไดปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แลว ซึ่งเปนการกําหนด คําบังคับที่ใหมีผลไปในอนาคต ซึ่งศาลสามารถกระทําไดตามมาตรา ๗๒ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่บัญญัติวา ในการมีคําบังคับตามวรรคหนึ่ง (๑) ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดวาจะใหมีผลยอนหลังหรือไมยอนหลังหรือมีผลไปในอนาคตถึงขณะใดขณะหนึ่งได หรือจะกําหนดใหมีเงื่อนไขอยางใดก็ได ทั้งนี้ ตามความเปนธรรมแหงกรณี

ดวยเหตุผลดังที่กลาวมา ขาพเจาจึงไมเห็นพองดวยกับตุลาการเสียงขางมาก และเห็นวา ศาลปกครองกลางควรกําหนดคําบังคับโดยใหการเพิกถอนใบอนุญาตมีผลเมื่อไดออกใบอนุญาตหรือไมออกใบอนุญาตฉบับใหมเมื่อโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวไดปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แลว

นายภานุพันธ ชัยรัต

ตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองกลาง

Valued Acer Customer
admincourt